Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิตยาสารยุทธโกษ ปีที่127ฉบับที่3

นิตยาสารยุทธโกษ ปีที่127ฉบับที่3

Description: นิตยาสารยุทธโกษ ปีที่127ฉบับที่3

Search

Read the Text Version

u 0 ย cf า ร ย ฺ ท ธ ! ก ษ แลว้ ดูสิ ความบากบนพากเพยี รโปเยีย่ มราษฎร vooในหลวง รชั กาลท่ี (X เมื่อวันวาน ยงั กลับบาชุบชวี ิตซาวเล กลับมาฟาดV?นความออ□ ลVOงกลม่ ทุน ทมืฑราชการ?ฉอ้ บางคนให้ความรวมมือ ผดโฉนดพิสดารvuilIuหลกั ฐานVบไลซ่ าวเล และเกอื บ9ะ:ชุบทีด่ นิ ชายหาดราโวย[ปดอ ๆใบวบั น ๙ เออในหละพ รัชกาลกี่ เสด็จ แร■เษฎรช!อเสหาสรา1วย่ เนอ ๐๐ ม.ค. 10๕๐๒ เยนศร ะ เพ ร า ะ พ ร ะ บรบาล คดี “ คราบา่ ” ซาวเล ณ ราโวย' * เธองแล:กาพ...ธรี ภาพ โลหิตฤล กลางเดอื นมีนาคม ซ£จ0 [ชมเดินทางไกลไปภเู กต็ หลังการอ่านคำพิพากษาเสรจ็ ส้นิ ลง นายนิรันดร เปนิ ครง้ั แรกในรอบ!1ลายปี เพือ่ ใปก่ายทอดชระสบการณ์ หยงั ปาน แกนนำชาวเลราไวย์ และเป็นหนึ่งในผู้ทีถ่ กู ฟอ้ ง ท/ยน!เละก่ายภาพสารคดี ใหน้ ้อง ๆนกั ศึกษาบหาวิทยาลยั ขับไล่ กล่าววา่ การวินจิ ฉัยนนั้ ศาลไดพ้ จิ ารณาในหลาย ราซภัฏภเู ก็ต ในหัวVอ ‘ซละกาฬ กับ ธรี กาพ” โดย ประเดน็ โดยเฉพาะภาพการเสดจ็ ประพาสหมู่บ้านชาวเล ประเด็นแรกที่ผบตง้ั ใจนำเสนอในวนั น้นั เธนเรองใกสัตวั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช นักศกึ ษาทสี่ ดุ คอื คดดี ังทีส่ ื่อมวลซนหลายเท/นงพรอั ช'ใจกัน เม่ือปี ๒๕๐๒ ซึ่งมภี าพด้นมะพรา้ วปรากฏอยู่ด้วย โดย นำเสบอ!มอ,วันทอ่ี กุบกาพนั ร'ซ£จ0 ว่า... โจทก์อ้างว่าดน้ มะพร้าวมีอายุ ๑๐ ปี แต่จากการตรวจสอบ ของผู้เช่ยี วชาญพบวา่ ด้นมะพรา้ วดังกล่าวมีอายุกวา่ ๓๐ ปี *ศาลจงั หวดั ภเู กต็ พิพากษายกพิองคดพี พิ าทที่ดนิ ประกอบกบั การพิจารณาของศาลพบวา่ หลกั ฐานของโจทก์ ซาวเลราไวย' ในจังหวดภูเก็ต เนื่องจากหลักฐานซนสำคญั มขี ้อพิรธุ หลายอยา่ ง จงึ พิจารณายกฟ้อง เพราะชาวเล เป็นผถู้ ือผู้ใช้ประโยชน์ท่ดี ินมานาน ขณ ะท่ีทางโจทก์ (TIMM24) ถือหลักฐานโฉนด * พ ร ะบารมีในหลวง S.CC ชกแผ่ “ซาวเลราโวย'” “รู้สกึ ดใี จท่ีศาลมองเหน็ วา่ วถิ ชี วี ติ และชาติพันธุของ ซนะคดีบุกรุก (www.thaiquote.org) ฯลฯ ชาวเล ปปี ระวต้ คาสตรแ์ ละวฒั นธรรม รวมทั้งยังปหี ลักฐาน ที่เชื่อถอื ได้” สาระสำคัญคือ ผูพ้ ิพากษาศาลคังหคดั ภเู กต็ ออก บัลลงั กอ์ ่านคำพพิ ากษาศาลชน้ั ตน้ กรณโี จทกน์ างบุญศรี นายนริ นั ดรกลา่ วด้วยนํ้าตานองหน้าอีกว่า การตอ่ สู้ ตน้ ติวัฒนวัลลภ กบั พวก ยืน่ ฟ้องขบั ไลจ่ ำเลยซง่ึ ประกอบดว้ ย ครั้งนตี้ อ้ งขอบคณุ ทางกรมสอบสวนคดพี เิ ศษหรือดเี อสไอ นายแอ่ว หาดทรายทอง นายวรณันหาดทรายทอง นายบัญชา กระทรวงยตุ ิธรรม หนว่ ยนติ วิ ิทยาศาสตร์และหน่วยเกีย่ วข้อง หาดทรายทอง และนายนริ นั ดร หยังปาน ชาวเลราไวย์ ทรี่ วบรวมพยานหลกั ฐานจนทำให้ศาลมองเหน็ ว่าทางชาวเล หมท่ ี่ ๒ ต.ราไวย์ จ.ภเกต็ รวม ๔ คดี เป็นผ้ใู ชป้ ระโยชนใ์ นท่ดี นิ รวมทง้ั ไมม่ ีการคดิ คำใชจ้ ่ายใด ๆ เมษายน - มิถุนายน ไรอ๕๖๒)

ยุ n รโก ษ ♦ พนู้ าบาวเลคบั ตน้ มะพรา้ วกี่เชนหลกั 3านสำคญั ♦ กาลบรรพนรุ นุ นาวเล (น รา!ปยี ่ กับชาวเล แต่อยา่ งไรกต็ าม ยงั มอี ีกหลายคดีทร่ี อการพิจารณา ในอนาคต’’ วรรคทองของอาจารยส์ งคราม โพธีว้ ิไล ซ่ึงไม่ทราบวา่ ศาลจะยกประเด็นเหลา่ นีม้ าพจิ ารณาหรือไม่ ผู้เชีย่ วชาญการถา่ ยภาพ และศิลปนิ นักถา่ ยภาพของไทย ซึง่ แตใ่ นส่วนของตนเบาใจไประดับหน่งึ เพราะพระมหากรณุ า ตรงใจผมทมี่ องวา่ การถ่ายภาพ แท้ที่จรงิ คอื รูปแบบหน่ึงของ และพระบารมีของในหลวง รัชกาลที่ ๙ ท่พี ระองค์เสด็จเยือน การบนั ทกึ ประวัตศิ าสตร์สงั คมและชุมชน ภาคประชาชน ชาวเล เม่อื ปี ๒๕๐๒ ซงึ่ ถอื เปน็ หลกั ฐานสำคญั ยิ่ง (ทม่ี า : กล่าวคอื ประชาชนหรือ ชาวบ้านราษฎรตาดำ ๆ เปน็ ผู้บันทึกเอง Thaiquote) ยิง่ ทุกวนั น้ี สมารท์ โฟนทอี่ ยู่ติดมอื คนทกุ คนแทบท้ังวัน คอื เครอ่ื งมือในการบนั ทกึ ลนั ทรงอานุภาพอย่างทท่ี ราบกนั ดีอยู่ ข่าวน้ีทำให้ผมอ้งึ และน้าํ ตาซึม นข่ี นาดเสดจ็ สวรรคต ดงั น้ัน อยา่ มวั แต่ “ เซลห่ีเ” กันยนั เต เงยหน้ามองรอบ ๆ แลว้ บญุ ญาบารมขี องทา่ นยังปกแผค่ นกลุม่ เล็ก ๆในลงั คม ตัวเราบา้ ง ภาพอะไรกต็ ามที่ถา่ ยวนั นี้ พรุ่งนกี้ ถ็ ือเป็นภาพ อยา่ งชาวเลหาดราไวย็ให้รม่ เยน็ ผมบอกน้กศกึ ษาว่า คอื ประวตั ิศาสตรแ์ ล้ว เปน็ บทพสิ จู น์คร้งั แลว้ ครั้งเล่า ของประโยคทวี่ า่ “ กลอ้ ง คอื เครืองมอื หยดุ กาลเวลา ภาพถา่ ยคืออญ้ มณที รงคณุ ค่า ♦ ก้อนหนิ ทกี่ ลมุ่ ทนุ เคย?ชัฃดท■พ!บ?หช้ าวเลเข้า!ปลกั การะก■เลนรรพชน ซก ๑121๓1 ฉบบท ๓

นิ ตยสั ไรยุ ทรใกษ I I ♦ เดก ๆ บาอเลเกือบ!รแพน่ ดนิ อาค้ย เพราะคอามอ้ออลขอVทา้ หน้าท่นี พคน บ่ายวันน้ัน หลังการบรรยายจบลง ผมไมร่ ีรอทจ่ี ะเรียน อาจารยป์ อ้ มวา่ ผมอยากไปหมู่บ้านซาวเลเผา่ อลู กั ราโว้ย ที่สำคญั คอื นกั ศกึ ษาและประชาชนไทยต้องตระหนักว่า ทหี่ าดราไวย์ ถงึ แดดจะรอ้ นแรงปานใด ขอให้ผมไดไปเหน็ โครงการพระราชดำรกิ วา่ ๔,๐๐๐ โครงการ มไิ ด้ลอยลงมา ต้นมะพร้าวในขา่ วพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี ๙ จากสรวงสวรรค์หรือจากการทใ่ี นหลวงรชั กาลท่ี ๙ทรงคดิ ฝนั เสด็จหาดราไวยแ์ ละทรงเยีย่ มราษฎรซาวเล เม่อื ปี ๒๕๐๒ ขึ้นมาเอง หากเกดิ จากการทพี่ ระองคเ์ สดจ็ ไปดูงาน ไปทรง เปน็ บุญตาสกั ครั้งหนึง่ ในชวี ิต ซึ่งท่าใหผ้ มไดพ้ บ ลงุ หงีด เย่ียมราษฎรของพระองค์ พรอ้ ม ๆ กับไปศึกษาเรียน ดำรงเกษตร ผูน้ ำซาวเลอีกท่านหนงึ่ ช้ีให้ผมดหู นิ ก้อนใหญ่ รู้ภูมศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ ศิลปวฒั นธรรมของราษฎร จำนวนมาก กับแท่นปนู ทีใ่ นระหวา่ งการสูค้ ดี กลมุ่ ทุน กลมุ่ ชาตพิ นั ธตุ า่ ง ๆ ไม่เวน้ แม้แตช่ าวเขาบนดอยสูง ชาวเล ธนาคารดง้ นำมาต้ังปดิ ทางไม่ให้ชาวเลเขา้ ไปสักการบูชา กล่มุ เล็ก ๆ บนเกาะตา่ ง ๆ อยา่ งชาวเลทห่ี าดราไวย์ ฯลฯ ศาลบรรพซนอนั เปน็ ท่พี ึง่ จากจติ ใจของพวกเขา นับเปน็ พระองคท์ ่านทรงมานะบากบนั่ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปทรง การเหยียบยา่ํ จิตใจกนั อย่างเลวร้ายทสี่ ดุ ศกึ ษา ไปทอดพระเนตร ก่อนโครงการพัฒนาชวี ติ ความเป็นอยู่ ของพสกนิกรของพระองค์ จะปรากฏในนาม โครงการหลวง ย่งิ ไปกวา่ นน้ั ลุงหงดี ยังเลา่ ใหพ้ ังวา่ ในระหวา่ ง โครงการพระดำริ โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ ฯลฯ สองปีกว่าท่ีสู้'คดกี นั มชื าวเลสูงวัยหลายท่านเกดิ ความเครียด วิตกกงั วลว่าถ้าแพค้ ดีแล้วจะไม่มีแผ่นตินอาคยั จนเป็น แลว้ ดสู ิ ความบากบน่ั พากเพยี รดั่ง “ นักเรยี นนอ้ ย” โรคความดันโลหิต และสารพดั โรคถงึ ขั้นเสยี ชีวติ ไปหลายคน ของในหลวง รัชกาลท่ี ๙ เมื่อวันวาน ยังกล้บมาชบุ ชีวิตชาวเล ตวั ลงุ หงีดเองก็เป็นความคนั ตอ้ งกินยามาดราบจนวนั นี้ กลบั มาฟาดพนั ความฉ้อฉลของกลมุ่ ทนุ (ธนาคารด้ง) แม้ว่าจะชนะคดแี ล้ว แต่กย็ งั ไมแ่ นใ่ จ ว่ากลมุ่ ทุนจะงดั แผนข้ัว ที่มขี ้าราชการขึฉ้ อ้ บางคนใหค้ วามรว่ มมอื จนเกิดโฉนด มาเล่นงานซาวเลอีกหรอื ไม?่ พสิ ดารผดุ ข้ึนเปน็ หลักฐานขับไล่ชาวเล และเกอื บจะฮุบท่ดี ิน ชายหาดราไวยัใปด้ือ ๆ ในวันนี้ เบษายน - บิฤนายน ๒๕ ๖๒

U Q U i i s ยุ ทรโกษ น(โNปaเpลปoยีเีlตeนoอnแรลพaะnากd!ราทthรe(ปPREฏeTวิ vEตัoRlกิuPtาiAoรnRสEเงทTค)Wรaาrน) * แปลแล:เรียบเรียงโดย พ ล . ท . นิวัติ พงศ์สิทธิคักด พู้อำนวยการส่านิกบรทไรงานบุคคล กอ.รมน. บทความนี้แปลจากหนงั สือ ผกู้ ำหนดยุทธศาสตร์ ๕ บท ได้แก่ บทที่ ๑ กำเนดิ สงครามสมัยใหม่ บทท่ี ๒ สมัยใหม่ (Makers of Modern Strategy) หนงั สอื นีจำกด การขยายของสงคราม บทที่ ๓ จากการปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม ความและอธบิ ายกรณีที่สำคญั ย่งิ ในชว่ งตน้ ๆ ของความคดิ สู่สงครามโลกคร้งั ที่ ๑ บทที่ ๔ จากสงครามโลกคร้ังที่ ๑ ทางยทุ ธศาสตร์ แสดงการเชอื่ มโยงกับ ประวต้ ศิ าสตร์ทว่ั ไป ถึงสงครามโลกครัง้ ท่ี ๒ และบทท่ี ๕ ต้ังแต่ ค.ศ. ๑๙๔๕ สามารถเข้าใจขอ้ เท็จจริงของสงครามไตด้ ีขึ้นด้วยการศึกษา อดีตของมัน นั่นคอื สาระหน่ึงของหนังสอื นช้ี ่งึ ประกอบดว้ ย จะเหน็ ได ว้ า่ สงค รามเป็น ภ ยั พ บิ ตั อิ ย่างย่ิงและต อ้ งใช ้ M a k e r s o f M o d e m S tra te g y สตปิ ัญญาและความรู้สกึ ในการศกึ ษาคน้ คว้า ผ้แู ปลสนใจ ข อนำเสนอเร่อื งนโปเลียนและการปฏิวัติการสงคราม from AW a c h i a v d l i t o t h e N u c l e a rU s .- ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งทีอ่ ย่ใู นบทที่ ๒ เพ่ือใหผ้ ู้อ่านเกดิ แนวความคดิ และเข้าใจประวัติศาสตรใ์ นการปฏิวต่ การสงคราม ดง้ น้ี i Ik เ 1 I f t a \\ p I r I ft p A H i 1 นโปเลีบนและการบฎิวคั กิ ารสงคราม ในปลายฤดูรอ้ นของปี พ.ศ. ๒๓๔๘ (ค.ศ. ๑๘๐๕) การขยายตวั ของฝร่ังเศสไดถ้ กู ต้านทาน ความล้มเหลว ของกองทัพเรอื ฝรงั่ เศสทีจ่ ะควบคมุ ช่องแคบ (Channel) แม้แต่เพียงไม,ก่ีวน้ ทำใหอ้ ังกฤษปลอดภยั จากการบุก ออสเตรยี กำลงั รวมกำลงั จำนวนมากทางเหนอื ของเวนสิ , ในทโี รล (Tyrol), และในตอนใต้ของเยอรมนีเพือ่ สกัดกนั้ การคกุ คามใด ๆ ของฝร่งั เศสตอ่ ตอนกลางของยโุ รป และ แม้แต่อาจทำการรกุ เองเพ่ือยึดตอนเหนือของอติ าลี จาก โปแลนด์ กองพลแรก ๆ ของรสั เชยี กำลังเคล่อื นเขา้ สกู่ าร ต้านทานของออสเตรยี และทางเหนอื ปรัสเชีย ซึ่งผูกพันโดย พระเจา้ ซารท์ ี่แม้จะยงั เป็นกลางท่ีกำลังระดมกำลังอยู่ กำลงั ผสมของพันธมิตรกลุ่มทส่ี าม (Third Coalition) แม้จะยัง ไม่เข้าปฏบิ ํตกิ ารทั่งหมด ก็มพี ันธะทจ่ี ะสร้างพน้ื ฐานสำหรับ ดุลอำนาจใหม่ของยโุ รป วนั ท่ี ๒๓ สิงหาคม (August 23) นโปเลียนได้ เปล่ยี นเปา้ หมายทางทหารของตน ทหาร ๑๗๖,๐๐๐ นาย ขอ■รกองทัพใหญ่ (Grande Arme) ไดอ้ อกจากชายฝงั ของ

Del ยะโารยุ ทรโกษ ชอ่ งแคบ ข้ามแม่น้าํ ไรนIนสัปดาห์สุดท้ายของเดือนกนั ยายน เป็น “ จกั รพรรดขิ องการปฏิวัติ” ทีเ่ ปน็ แบบอย่าง และได้ รกุ ไปตามแม่น้ําดานบู เสน้ ทางของกองทัพผา่ นตอนใต้ของ ประโยชนจ์ ากการหลอมรวมทเี่ ปน็ หนงึ่ เดียวกันขององค์ เยอรมนรี าบร่ืนดว้ ยการเจรจาอยา่ งเรง่ ดว่ นของพันธมิตร ประกอบดา้ นสังคม การเมอื ง และการทหาร ที่นำมาซึ่ง และคกุ คามเส้นการติดต่อสอ่ื สารของออสเตรียไปยังเวยี นนา การลม้ ล้างระบอบเก่า (Old regime) ในฝรัง่ เศส และไปยงั กองทพั รัสเชียในโมราเวยี (Moravia) ท่ีม่นั สว่ นหน้า ของออสเตรยี ทอี่ ูล์ม (บเทา) ถกู โอบ ๑๙ ตุลาคม ทหาร การปฏวิ ัตฝิ รง่ั เศสรว่ มด้วยการปฏวิ ัตกิ ารสงคราม ๓๓,๐๐๐ นาย ยอมแพโ้ ดยไมม่ กี ารรบใหญ่ ๆ กองทพั ใหญ่ (Revolution in war) ท่ีกำลังดำเนนิ ไปในชว่ งทศวรรษ ไต้เขา้ ส่เู วยี นนาในวันที่ ๑๓ พฤศจกิ ายน และยงั คงเคล่ือน สดุ ท้ายของระบบราชวงศ์ ต่อมาทงั้ สองประการนีก้ ็ขบั เคลือ่ น เลยเมืองนไี้ ปเพือ่ ให้ถึงกองทัพผสมออสเตรียและวัสเชยี ซ่ึงกนั และกัน ความลึกซึ้ง, การเปลย่ี นแปลงซงึ่ สถานการณ์ ในขณะนัน้ ก่อนทก่ี ำลังเสรมิ จะทำให้กำลังดง้ กล่าวเข้มแขง็ ทางทหารและการปฏบิ ตั ,ิ ซ่ึงบางอย่างไดร้ บั การจัดใหม้ ี เกนิ ท่ีจะโจมตี วันท่ี ๒ ธันวาคม นโปเลยี นไต้ทำลายกองทัพ ขนึ้ แลว้ ในระบอบเก่า ส่วนเร่อื งอน่ื ๆ ยังคงเป็นการดำเนินการ พนั ธมิตรทีเ่ อาส์เตอร์ลิทซ์ (Austerlitz) สามสปั ดาห์ต่อมา เบ้ืองต้นและการทดลอง ไตถ้ กู นำมาใชโดยการปฏวิ ัติ และ สัญญาสนั ติภาพเมอื งเพรสบวร์ก (Peace of Pressburg) ทำการพัฒนาต่อไป โดยการผสมผสานสง่ิ เหลา่ นี้ดว้ ยพลวตั ไดแ้ ยกออสเตรยี ออกจากพนั ธมิตรกลุ่มทส่ี าม (Third ของมัน และเชอ่ื มโยงบรรดาสง่ิ ด้งกลา่ วกบั นโยบายต่าง Coalition), ยกเวเนเฑยี (Venetia) ใหฝ้ ร่งั เศส, และทำให้ ประเทศและในประเทศทรี่ นุ แรงอย่เู สมอของมัน การปฏวิ ัติ ฝร่ังเศสมอี ำนาจเหนอื ในยโุ รปกลาง ไดข้ ยายขอบเขตของนวัตกรรมเหลา่ นก้ี องทพั ดว้ ยคุณค่า และความต้องการของมัน ไต้รบั ความสำคญั ใหม่ในชีวิตของ ไม,เคยมีเหตกุ ารณ ์เหล่านี้ในสงครามก่อนหนา้ น้ี ชาวฝรั่งเศส ซึ่งในที่สดุ ก็สะท้อนถึงการผงาดขึ้นสู่อำนาจทาง ขนาดของกองทพั ฝ่ายตรงขา้ มเป็นเพยี งความผิดปกติ การเมอื งสูงสุดของทหารผหู้ นึง่ แต่ไดด้ ำเนินการอย่แู ลว้ เท่าน้นั แต่การปฏบิ ตั กิ ารรบทร่ี วดเร็วและตีกวาดของ ภายใตน้ โยบายหลกั และรองในประเทศ และการขยายดว้ ฝรั่งเศสมีความเปน็ เอกลกั ษณห์ าท่ีเปรียบไม่ไต้ เช่นเดียวกับ การจัดการด้านการทูตและกองทัพของจกั รพรรติเพื่อ ทำลายการตรวจสอบและถ่วงดลุ ที่เคยมีมาของทวปี ในเวลา ไม่กีเ่ ดือน การสร้างความตกตะลึงต่อบรรดารัฐบาลและทหาร เปน็ สงิ่ ทีน่ า้ สนใจ ผลของมันยังมีผลตอ่ ความทอ้ ถอยและ ความสบั สนในปตี ่อมา ซึ่งมผี ลต่อความพินาศของกองทัพ วัสเชยี ท่ีเยนา (Jena) และเออร์สเตดท์ (Auerstedt) และ ชว่ ยนำพลงั อำนาจของฝร่ังเศสไปยงั ชายแดนรัสเชีย ตอ่ มาบรรดาผ้สู ังเกตการณ์ก็ไดเ้ หน็ ผลการรบของ ปี พ.ศ. ๒๓๔๘ (ค.ศ. ๑๘๐๕) ที่สร้างความจูโ่ จมน้อยลง ในหนังสือหลกั การสงคราม (On War) เค ลาส์วิท ช ์ ไดเ้ ขียนถงึ “ เครอื ขา่ ยต้านศาสตรท์ ไี่ ม่ม่นั คง แตเ่ ปน็ แผน ยุทธศาสตรท์ ่ีอ่อนแออยา่ งยิง่ ” ซึ่งแพรม่ าจากสถานการณ์ ออสเตรยี ทอ่ี ลู ์ม (บเทา) และเสนอวา่ เครือขา่ ยด้งกลา่ ว อาจทำใหบ้ รรดานายพลต้องรบั การศึกษาในการดำเนิน กลยทุ ธท์ รี่ อบคอบของศตวรรษที่ ๑๘ “ แต่มันกไ็ มเ่ ข้มข้น เพยี งพอสำหรับโบนาปารต์ จกั รพรรดขิ องการปฏวิ ตั ิ” 8 คำพดู เหลา่ น้เี ผยถงึ ตน้ กำเนดิ แห่งการจู่โจมทไี่ ดส้ รา้ งความ ตกตะลงึ ต่อยโุ รป โดย อจั ฉรยิ ะของบุคคลคนหนง่ึ ผู้ที่ยงั 81 Carl von Clausewitz, On War, trans, and ed. Michael Howard and Peter Paret, rev. ed. (Princeton, 1984), bk. 6, ch. 30, p.518. เบษายน - มถิ ุนายน ๒๕๖!รอ

0O8 i f i s อุ ทรโทษ กบั ตา่ งประเทศกด็ ำเนินการควบคกู่ ันไป ขณะเดยี วกัน การ คือ ระบบการระวงั ป้องกนั แบบ “ ผสม” (“ Mixed” system of ปฏิวต้ ิการทหาร (Military revolution) ไมไ่ ดเ้ ปนี ปรากฏการณ์ skirmishers), รูปขบวนเดนิ และรูปขบวนเข้าดี, รูปขบวนหน้า ของฝรงั่ เศสเทา่ นัน้ สงครามทเี่ กิดจากการสบื ทอดของรฐั บาล กระดานไต้ปรากฏมือยู่ในการลองผดิ ลองถกู (Trial and error) ฝรัง่ เศสตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๓๓๕ (ค.ศ. ๑๗๙๒) เปน็ ต้นไป ไม่ เพื่อใหเ้ หมาะสมกบั กองทัพปฏิวตั ิท่ีดที ่ีสดุ การปฏิรูป ไต้เปลีย่ นแปลงเพยี งแคท่ างการเมอื งและสังคม แตร่ วมถงึ ปนี ใหญข่ องกองทัพแห่งราชอาณาจักร (Royal artillery) การเปลยี่ นแปลงทางทหารด้วย ซง่ึ ไต้แพรข่ ้ามไปยโุ รป โดยกรโี บวลั (Gribeauval), ดู แทอลิ (Du Teil), และ คนอ่ืน ๆ จากปี พ.ศ. ๒๓๐๓ (ค.ศ. ๑๗๖๐) เปน็ ต้นไป สงิ่ สำคัญ ทส่ี ุดของนวตั กรรมเหลา่ นี้ ทบี่ รรพซน ทำให้ปีนใหญข่ องฝรงั่ เศสยคุ การปฏวิ ตั มิ ปี ระสิทธิภาพ ของชาวฝรง่ั เศสปูพึ้นการปฏิบัติของระบอบราชาธปิ ไตย และมีความสามารถในการเคล่ือนทมี่ ากทส่ี ุด เป็นคร้ังแรก น้อยกว่าในวรรณกรรมทางการทหารและการเมอื งของ ท่ที หารราบสามารถไดร้ บั การสนับสนนุ อย่างใกลช้ ดิ จาก ช่วงปลายยคุ การสรา้ งความรู้ (Enlightenment) คือการที่ ปีนใหญส่ นามในทกุ ขั้นของการรบ ซึ่งได้เพิม่ อำนาจการ นโยบายหลักไดค้ อ่ ย ๆ ยอมรับ ซ่ึงอย่างน้อยทสี่ ดุ ก็ใน โจมดขี องกองทัพฝรง่ั เศสอย่างมาก การสง่ กำลังเสบียง แนวทฤษฎีการเกณฑท์ หารสากล (Universal conscription) ซงึ่ ขณะน้ันมทื หารจำนวนมากอย่างย่ิงในสนามสามารถ ซึง่ เร่อื งดงั กล่าวเป็นการเพิม่ จำนวนทหารขึ้นอย่างมาก ดำเนนิ การไตใ้ นบางส่วนเฉพาะชว่ งการปฏิบตั ขิ องศตวรรษ ทำใหเ้ พ่มิ น้ัาหนกั ใหม่ต่อนโยบายต่างประเทศของฝรั่งเศส ที่ ๑๘ ท่ีการปฏวิ ัตริ บั ผดิ ชอบ โดยการกำหนดให้ทหาร และช่วยให้ผู้บญั ชาการทหารของฝรงั่ เศสทำการรบทีร่ กุ รบ เสนอความต้องการ ตามหลักการท่วี า่ สงครามหลอ่ เลี้ยง และเสียค่าใชจ้ ่ายมากข้นึ ได้ และทำการรบไดม้ ากขึ้น สงคราม (La guerre nourrit la guerre) “ การร้ถู ึง .... การขยายด้วและการบรหิ ารจัดการทางทหารท่ซี ับชอ้ น วิธีท่จี ะหาเสบยี งตา่ ง ๆ ทกุ ชนิดจากประเทศทที่ ่านยดึ ครอง” มากขึ้นของทศวรรษสุดทา้ ยของระบบราชวงศ์ไดม้ ขื ึน้ ที่นโปเลยี นได้เขยี นที่จดุ สูงสดุ ของความสำเร็จของเขา เพือ่ ประกอบอาวุธยทุ โธปกรณป์ กี และดำรงรกั ษากองทัพ “ เปน็ การเติมเตม็ ส่วนใหญข่ องศลิ ปะการสงคราม” ๒ ใหม่ ๆน้ผี ลลัพธจ์ ากการถกเถียงอย่างเข้มข้นเกีย่ วกับยทุ ธวธิ ี ของทหารราบตั้งแต่สงครามเจ็ดปี (Seven Years’ War) b Correspondance de Napoleon บ' (Paris, 1857-70), v o l 12, no. 9944, to Joseph Bonaparte, March 8, 1806. The formulation “ war feeds (or ‘must feed’) war,” used frequently during the Revolution, can also be found in Napoleon’s writings; for instance, “ Memoire sur I’armee d'ltalie’ (July 1795), Correspondance, v o l I, no. 49. ๕๔ ปิกี่ ๑ โร ท๓ ) a u u n ๓

u ต ย cfารยฺ ท ธ โ ก ษ ระบบการดำรงชพี นอกประเทศไดถ้ กู ทำใหง้ ่าย กองทพั ของราชอาณาจักรอยา่ งรวดเรว็ และเปลย่ี นมนั ไปเปน็ ดว้ ยการพฒั นาทย่ี ้อนกลับไปถึงสงครามเจ็ดปี (Seven กองทัพท่ีทัง้ มีประสิทธภิ าพและภกั ดตี ่อรัฐบาลใหม่ ตอ้ งมี Years’ War) และเป็นพนื้ ฐานต่อยุทธศาสตร์ของนโปเลียน การลองผิดลองถูกอยา่ งมากเพอื่ ควบคมุ องค์ประกอบต่าง ๆ และการดำเนินสงครามของเขา โดยการแบ่งกองทัพทร่ี วมกนั ของการปฏวิ ตั ิการทหารและเพื่อเรยี นรถู้ งึ วธิ ที ีจ่ ะบรู ณาการ กองทพั เดยี วเป็นกองพลและกองทัพน้อยท่ีถาวร ท่ปี ระกอบด้วย สงิ่ เหลา่ น้ีในสนามรบ ขณะเดยี วกนั ประสทิ ธภิ าพของ เหล่าทหารราบ, ทหารม้า, ทหารปนี ใหญ่, และเหลา่ สนบั สนุน กองทพั ฝรงั่ เศสก็ไม่สม่าํ เสมอ เปน็ อติ าลีที่ในปี พ.ศ. ๒๓๓๙ ต่าง ๆ ในการรบ หนว่ ยรองขนาดใหญ่เหล่าน้ีมกั จะเคลอ่ื นท่ี (ค.ศ. ๑๗๙๖) ซึ่งระบบใหม่สำหรับคร้งั แรกได้ประสบ บนเส้นทางท่แี ยกตา่ งหาก แต่ละหน่วยรบั ผิดชอบพ้ืนที่ ความสำเร็จอยา่ งเด็ดขาดและดเู หมือนจะไม่สามารถยอ้ น ของตน แตก่ ็สามารถที่จะสนบั สนนุ ซงึ่ กนั และกันได้ กองทัพ กลับได้ นบั ตัง้ แตน่ ้นั การเกณฑ์ทหารสากล (Universal ที่ขยายออกน้ีจะครอบคลมุ พ้ืนทไ่ี ดม้ าก ทำใหง้ า่ ยขน้ึ ท่ีจะ conscription) ไดท้ ำให้กองทพั ฝรง่ั เศสเป็นกองทพั ทีใ่ หญ่ท่ีสุด ควบคุม แตก่ เ็ ซน่ กนั สว่ นใหญ่จะทำให้หน่วยยอ่ ยตา่ ง ๆ ในยโุ รปและบังง่ายตอ่ การรักษาจำนวนกำลังได้ง่ายทีส่ ดุ สามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้เรว็ ข้นึ ทำให้มีความคลอ่ งตวั ข้ึน และนายทหารและพลทหารทงั้ หลายไดเ้ ริ่มคนุ้ เคยกบั และทวที างเลือกในการปฏิบตั ิการรบของผบู้ ญั ชาการทัพ การจดั หน่วย การบรหิ ารจดั การ และยทุ ธวิธแี บบใหม่ การเพมิ่ ฝา่ ยเสนาธกิ ารของเขา และการเพม่ิ ฝา่ ยเสนาธกิ าร แต่ ณ เวลานั้น การปฏิวัติการสงครามกไ็ มไ่ ดเ้ ปลีย่ นทกุ สิง่ ระตบั รอง ๆ ลงมา ซึ่งได้มกี ารดำเนนิ การไปแลว้ ในการรบ ทั้งหมดกอ่ นหน้านี้ สงครามของพันธมิตรกลุ่มท่สี อง (War of คร้งั สดุ ทา้ ยของระบอบเกา่ ทำให้สามารถควบคมุ กำลัง the Second Coalition) ซง่ึ ในเมดิเตอรเ์ รเนียนได้เร่ิมดว้ ย ทมี่ ีขนาดใหญ ่กวา่ และกระจายความกวา้ งไดม้ ากกวา่ การหลบเลย่ี งกองเรอื อังกฤษของนโปเลียนและขึน้ บก อยา่ งตอ่ เน่อื ง ซง่ึ วิธีการใหม่ ๆ เหล่านแ้ี ละอนื่ ๆ ตา่ งจาก ในอียิปต์ การเรม่ิ ท่ภี าคพืน้ ทวปี ยุโรปดว้ ยการพา่ ยแพ้ สมมตฐิ าน, เทคนคิ , และการปฏิบัติทไ่ี ด้ปฏบิ ติมา1ของกองทพั ของฝรั่งเศสอย่างต่อเนื่อง ฤดูรอ้ นของปี พ.ศ. ๒๓๔๒ ในยุโรป โดยเปลย่ี นแปลงการปฏิบติสงครามระหวา่ งปี พ.ศ. (ค.ศ. ๑๗๙๙) การไดช้ ัยชนะของนโปเลยี นในปี พ.ศ. ๒๓๓๙ ๒๓๓๔ - ๒๓๕๘ (ค.ศ. ๑๗๙๑ - ๑๘๑๕) อย่างรุนแรง (ค.ศ. ๑๗๙๖) ได้หมดสน้ิ ไป อิตาลที ั้งหมดยกเว้นรเิ วยิ รา่ และสรา้ งรูปแบบท่ียงั คงอิทธพิ ลมาตลอดศตวรรษท่ี ๑๙ ได้ตกอยู่ในมือของพันธมิตรอกี ครั้ง และออสเตรยี ก็ได้ และตอ่ มา ควบคมุ เยอรมนตี อนใตอ้ ีกคร้ัง ถ้าฝรงั่ เศสจะชนะในตอนท้าย กเ็ ฉพาะหลงั จากการส้รู บอยา่ งหนกั มากเท่านน้ั การปฏบิ ัติ แต่ถงึ แม้วา่ ผลของการปฏิรัติการสงคราม (Revolution สงครามของพวกเขาเหนอื กว่าระบบเกา่ อย่างไม่ตอ้ งสงสยั in war) ตอ่ สงครามของการปฏวิ ่ติ (Wars of the Revolution) แต่แม้ด้วยประสบการณ์การรบจำนวนมากท่ีไตัพิสูจน์แลว้ จะน่าทง่ึ แต่มนั ไมอ่ าจทีจ่ ะถือวา่ เปน็ ข้อสรุปได้โดยทันที กไ็ ม่ได้เหนอื กว่าอยา่ งเต็มท่ี ตอ่ ข้าศึกท่รี ะดมกำลงั เฉพาะเพียงส่วนของกองทัพของตน และผู้ท่ีสู้รบเพียงเพ่อื วัตถปุ ระสงค์จำกดั หลังจากความ ความคลมุ เครือของการปฏวิ ัตกิ ารสงครามอธิบาย สม้ เหลวของการสง่ กำลงั ออกปฏบิ ตั ิการทางการเมอื ง- เหตผุ ลต่อคำถามของเราวา่ เหตกุ ารณจ์ ะเปน็ อย่างไรตอ่ การทหารนอกประเทศของดยคุ แห่งบรนั สวิค (Duke of ไปถ้านโปเลียนไม่ไดอ้ ำนาจกลับคืน แนน่ อน การคาดเดา Brunswick) ทรี่ ัลมี (Valmy) ในปี พ.ศ. ๒๓๓๕ (ค.ศ. ๑๗๙๒) ตงั กล่าวมีความตมุ้ คา่ จำกัด แตก่ ารช่งั นั้าหนกั หนทางเลอื ก ฝรง่ั เศสใหม่ก็มอี ะไรทีม่ ากไปกวา่ การประสบชยั ชนะเท่า ๆ กบั ต่าง ๆ ท่ไี ม่ได้เกิดข้ึน บางคร้งั อาจชว่ ยให้เรามองเหน็ ความ คนอื่น ในไมช่ า้ กองทัพฝรง่ั เศสก็รกุ ออสเตรียนเนเธอรแ์ ลนด์ เป็นจรงิ ท่ีอิงประวตั ศิ าสตร์ไดช้ ดั เจนมากข้นึ ทั้งหมดที่เรารู้ (Austrian Netherlands - เนเธอร์แลนด1์ตอน'ใต)้ และรกุ ไปถงึ เก่ียวกับเพื่อนร่วมงานและค่ปู รับท่มี ีความสามารถมากที่สุด แม่นํา้ ไรน์ แต่เน่ืองจากพวกเขาเกือบจะไดร้ ับความพ่ายแพ้ ของนโปเลียน เชน่ การ์โนต์ (Carnot), โยดงั (Jourdan), เท่า ๆ กบั ทีเ่ กือบจะไดร้ ับชยั ชนะ จึงไม่สามารถกล่าวได้วา่ อุ๊ช (Hoche), มัซเซนา (Massna), และโมวู (Moreau) วิธีการใหม่ ๆ ส่งผลต่อการปฏิบัตทิ างทหารอย่างชดั เจน ทำให้รู้ว่าถา้ นโปเลยี นเสยี ชวี ิตกอ่ นทต่ี ลู ง (Toulon) หรอื ในบางส่วน สิ่งน้เี นื่องจากเหตุการณ์ทางการเมืองตั้งแตป่ ี ถูกจับทช่ี ายฝงั ของกรกี ขณะเดนิ ทางไปอียิปต์ ฝร่ังเศส พ.ศ. ๒๓๓๒ (ค.ศ. ๑๗๘๙) ไดท้ ำให้การจัดหนว่ ยทหารของ ก็อาจจะยตุ หิ รืออย่างน้อยก็ชะลอการดำเนนิ การทจี่ ะทำลาย ประเทศเกดิ ความลบั สนอยา่ งรนุ แรง มนั ยากทีจ่ ะขยาย ความสมดลุ ของอำนาจของยุโรป หากปราศจากการยืนกราน

u 0 ย cfา รยฺ ทธใกษ ของเขาต่อความพยายามทยี่ อดเยย่ี มทสี่ งครามทั่วยุโรป พวกเขาซมึ ซับความเชอ่ื ของเขาในการเคลอ่ื นทท่ี ่รี วดเร็ว เรยี กรอ้ ง รัฐบาลก็อาจจะพอใจกบั การป้องกันพรมแดน และการรกุ ผลก็คือ ความสามารถในการเคลอ่ื นทีใ่ หม่ ทีท่ ำให้ “ ธรรมชาติ” ของฝรัง่ เศส ซง่ึ ในตัวของมนั เองแลว้ ไดข้ ยาย สามารถรวมกำลังทเี่ หนอื กว่า ณ จดุ แตกหักได้๔ ดินแดนฝร่งั เศสไปค่อนข้างมาก หากสงครามได้ดำเนิน อกี ตอ่ ไป โดยเฉ พ าะอยา่ งย่ิงถา้ การต่อสู้เกดิ ข น้ึ ไกล ถ้านโปเลียนใชห้ น่วยและวธิ กี ารท่ีมือยู่ ในทางทฤษฎี จากฝรั่งเศส บ้นทกึ ของผู้บัญชาการทหารฝร่งั เศสระตบั สงู ยุทธศาสตร์ของเขาก็จะยงั ต้องขนึ้ อยกู่ ับส่งิ อ่นื ๆ อย่มู าก ระบุวา่ พ วกเข าอาจจะไม,แพ ้บอ่ ยน กั การปฏิวตั แิ ละ ในคำกลา่ วของ ชอ็ ง โกลัง (Jean Colin) ผู้ศึกษาสงคราม การปฏิรปู สงครามจะยังคงทำใหฝ้ รงั่ เศสเปน็ ประเทศทมี่ ี นโปเลยี นท่ีมืความรู้และลกึ ซ้งึ ทส่ี ุด ซึง่ การวิเคราะหข์ องเขา อำนาจมากท่สี ุดในยุโรป ซึ่งประเทศหนงึ่ ทร่ี วมอยใู่ นชมุ ชน ยังคงแจ้งโดยตรงหรือโดยออ้ มต่อการทำงานท่สี ำคัญ ทางการเมือง คอ่ นขา้ งจะครอบครองมากกวา่ และที่จริงแลว้ ทัง่ หมดในสนามรบ “ ถ้าเรานำแผนการท่ียอดเยยี่ มทสี่ ุด เกอื บจะล้มล้างมัน ของนโปเลยี นมา และเปรียบเทียบกับแผนโต้ตอบของข้าศึก ของเขา เราแทบจะไมร่ ู้ถงึ ความแตกตา่ ง” และอีกคร้งั ท่ี นโปเลยี นตระหนกั ถงึ ศักยภาพอยา่ งเตม็ ท่ีของการ “ คนรว่ มสมัยของนโปเลยี นเขา้ ใจ และเขาไดส้ ร้างความ ปฏวิ ัตกิ ารสงคราม (Revolution in war) โดยไดพ้ บวิธีท่ีจะ ไดเ้ ปรียบจากการตลบหลังหรือโอบปีกขา้ ศกึ ” ๕ ซ่งึ ในชว่ ง ทำให้องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของมันทำงานร่วมกนั ตามคำกลา่ ว เวลานั้นมนั ไม,ไดม้ ากนกั ท่นี โปเลยี นได้ทำหรอื พยายาม ของเคลาสว์ ทิ ซ์ เขาไดแ้ กไิ ขความไม่สมบรู ณ์ทางเทคนคิ ทำในการยทุ ธ์หรอื การรบทสี่ ร้างความแตกตา่ ง จากวิธีการ ของนวัตกรรมท่ีจนถงึ ขณ ะนน้ั ก็ยงั จำกัดประสิทธภิ าพ ท่ีเขาไดท้ ำ และวธิ กี ารทเ่ี ขาได้ใช้การรบเปน็ หัวใจสำคัญ ของพวกเขา และดว้ ยการวางทรพั ยากรต่าง ๆ ของฝรงั่ เศส และจุดสำคัญของแผนการทางยทุ ธศาสตรท์ ่ีเรยี บง่ายแตม่ ื ในการปฏยิ ตั ิของระบบใหมเ่ พียงช่ัวขณะหนง่ึ ก็ทำ'ใหม้ นั มี อทิ ธพิ ลอย่างมากท่กี ารปฏวิ ตั ิการสงครามไดช้ ว่ ยเขาในการ ความเหนือกว่าอย่างสมบรู ณ์๓ ดำเนนิ การ “ ศลิ ปะการสงครามก็เพยี งเท่าน้นั ” ซ่งึ เขายัง เชอ่ื มาจนถงึ บัน้ ปลายชวี ิตของเขา “ ทุก ๆ สิ่งเปน็ เรื่องของ นโปเลยี น ผสู้ ืบเชอ้ื สายจากครอบครัวชุนนางผู้น้อย การปฏิบต”ิ ๖ ท่ีเตบิ โตในกองทพั ของสาธารณรัฐ ผู้เป็นแบบอย่างในการ ปฏวิ ัติการทหารซึ่งมรื ากฐานในระบอบเกา่ และได้พฒั นา เพิ่มขึ้นด้วยเหตุการณห์ ลงั จากปี พ.ศ. ๒๓๓๒ (ค.ศ. ๑๗๘๙) ด้วยตัวของเขาเองแล้วไม่ใช่นกั ปฏิรปู เขาได!้ ,ข้ ผลงานของบรรดานักปฏิรูปท่เี หลา่ ผ้นู ำใหม่ ๆ ยงั ไมเ่ ขา้ ใจ อย่างสมบูรณ์หรอื ไมส่ ามารถทจ่ี ะนำมาใช้ประโยชน์ได้อยา่ ง เตม็ ท่ี ตงั ตัวอย่างสองตัวอยา่ งนี้ ต้ังแตส่ มัยการปกครอง แบบกงสุล การเกณฑ์ทหารได้ถูกใช้เป็นประจำข้ึนและ กว้างขวางข้นึ กวา่ ในยุคปี พ.ศ. ๒๓๓๓ (ค.ศ. ๑๗๙๐) ก่อนหนา้ น้ี การแยกกองทพั ออกเปน็ กองบัญชาการขนาด ใหญ่ท่เี ลี้ยงตัวเองได้ ท่ีสงครามปฏวิ ัตมิ ักจะหมายถงึ การ แยกการปฏิบตั ิ ซ่ึงนโปเลยี นได้นำมาดำเนินการตอ่ แต่เขา กำหนดให้มีการควบคมุ จากสว่ นกลางอยา่ งรดั กมุ มากข้ึน ต่อกองบญั ชาการต่าง ๆ ท่กี ระจายออกจากกัน และทำให้ ๓ Clausewitz, On War, bk. 8, ch. 3B, p. 592. 1 On St Helena, criticizing the actions of a French general during the 1799 campaign in Switzerland, Napoleon condemned the dispersal offerees as a vicious habit that made it impossible to achieve important results. He added. “ But that was the fashion in those days: always [fight] in little packets” (Charles Tristan de Montholon, Recits de la captivite de I’empereur Napoleon [Paris, 1847], 2:432-33). 1 Jean Colin, The Transformations of War, trans. L. H. R. Pope-Hennessy (London, 1912) 253, 290. I have retranslated the quoted passages, since the original English version is both stilted and inexact. ๖ Oeuvres de Sainte-Helene, “ Evenements des six premiers mois de 1799,” Correspondence, 30:263. See also ibid., 289. tin ๑๒]๓I ฉบบั ท ๓

สามเณร คอื ใคร ■ คำปืน อักษรวิลัย เรียบเรียง คำว่า สาบเณร หมายกึง บคุ คลผูเซนเหลๆ่ กอหรอ เชื้อสาสVองสมณะซง่ึ !'แชผู้สงบชีวเี คราะหศพั ท์วา่ เหล่ากอ ของสมณะซ่อื ว่า สามเณร ดงั นมจงึ เซนคำทปคิ วามหบาย ลกื ซง่ื อย่างยง แมว้ า่ จะยงั ไม้โตอ้ ยู่ในวัยที่กึงเวลาที่จ::บวซ เป็นพระภกิ ษุ แมเ้ ป็นสามเณร ดว้ ยความจรงิ ใจเห็นชรี ะโยซน ของการขัดเกลากเิ ลส ชกี ารฟ\"งบการศกึ ษาพระรรรม ก็ย่อมเป็นชีระโยซน โมโ่ ซ่บวซสามเณรตาม ๆ กินดวั ย ความโม้รู้ โม้ใซ่บวซเพ่ือความน่ารักในความเป็นเด็ก เป็นตน้ กาหากบวซเปน็ สามเณรแลว้ แต่โมป่ ระพฤตติ าม พระรรรมวินัย กเ็ ป็นโทษ เปน็ !หตใุ หัเกดิ ในอบายภูมไิ ด้ ตามขัอความในพระวินัยชีฎก มหาวกิ งค' ดงั น ศอึ “ ท่านพระมหาโมคคลั ลานะกลา่ ว (กับพระลักขณะ) ลองคิดดยู อ้ นกลบั ไปในสมยั ครัง้ พทุ ธกาล พระนคร ว ่า ด กู ร ท ่า น ผ มู้ อี า ย ^ ผ ม ล ง จ า ก ค ชิ ฌ ก ฏู บ ร ร พ ต สาวตั ถี ตอนเชา้ ตรพู่ ระสัมมาลมั พุทธเจ้าเสด็จออกบิณฑบาต เขตพระนครราชคฤหน ได้เห ็นสามเณ รเปรตลอยไป มพี ระภิกษทุ ง้ั หลายเดินตาม ลองคิดภาพลู อากปั กิริยาอาการ ในเวหาส์ (อากาศ) สงั ฆาฏบิ าตร ประคดเอว และร่างกาย ทง้ั หมดตามพระสมั มาลมั พุทธเจา้ และพระภกิ ษุทง้ั หลาย ข องมนั ถูกไฟตดิ ลกุ โซน เปรตนน้ั รอ้ งครวญ คราง เป็นศากยบุตร เป็นบุตรทเ่ี กิดจากพระปญั ญาของพระองค์ คร้ังนัน้ พระผู้มพี ระภาคเจ้า รับสงั่ กะภิกษุท้งั หลายวา่ เปน็ ผู้ขดั เกลากิเลส ด้วยการเหน็ คุณประโยช'น่ในการ ดกู ร ภกิ ษุทั้งหลาย สามเณ รเปรตนน้ั เคยเป็นสามเณ ร ประพฤตคิ ลอ้ ยตามพระสมั มาลัมพุทธเจ้า ไมม่ ีการคกึ คะนอง ผลู้ ามก (ชัว่ , เลวทราม) ในศาสนาของพระกัสสปสมั มา ห รอื ทำกิรยิ าอาการผิดพ ระวิน ัย แ ม ส้ า ม เณ ร ซ งึ่ ย ้ง สม้ พุทธเจ้า” ไมไ่ ดเ้ ป็นภิกษุ ก็ยงั ต้องมกี ริ ยิ าอาการคลอ้ ยตามภกิ ษุ เพ ร า ะ เป ็น เช ้ือ ส า ย ห ร ือ เห ล า่ ก อ ข อ ง พ ร ะ ภ ิก ษ ตุ า ม ส าม เณ ร เป็นเพศบรรพชติ เป็นเพ ศที่สูงกว่า พระวนิ ัยบญั ญัติ แม้จะขัดเกลากิเลสในเพศของสามเณร คฤหสั ถ์ เป็นเหล่ากอหรือเชือ้ สายของสมณ ะคอื ผ้สู งบ กแ็ สนยาก เพราะกาย วาจา ตอ้ งประพฤติตามพระภิกษุ ซงึ่ จะตอ้ งเป็นผูท้ ่เี ขา้ ใจพระธรรม มจี ิตใจหนักแนน่ ม่นั คง ทกุ อยา่ ง จ ะม าเป ็น ผ มู้ คี ว าม ป ระพ ฤ ต ิเป ็น ไป เห ม อื น ท จ่ี ะฟ งั พ ระธรรม ศ กึ ษ าพ ระธรรม อบ รม เจริญ ป ญั ญ า อยา่ งคฤหัสถไ์ ม้ใตโ้ ดยประการทง้ั ปวง แม้ชีวติ จะยังไม่ถงึ เวลาที่จะอปุ สมบท (บวช) เปน็ พระภกิ ษุ ก็ตาม ในสมยั ครง้ั พทุ ธกาล มสี ามเณรเป็นจำนวนมาก สามเณรกม็ สี กิ ขาบททจี่ ะตอ้ งประพฤตปิ ฏบิ ัตติ าม ที่ได้รบั ประโยชน์สงู สดุ จากการบวชเปน็ สามเณร คือ สามารถ เปน็ พระวินัยของสามเณ ร ยกตัวอย่างเซน่ สามเณร รูแ้ จง้ อรยิ สัจธรรม ถงึ ความเป็นพระอรยิ บคุ คลขั้นตา่ ง ๆ รบั เงนิ และทองไม่ได้ และต้องมเี สขยิ วตั ร คอื ความประพฤติ จนกระทัง้ เปน็ พ ระอรหนั ตห์ ่างไกลแสนไกลจากกเิ ลส ทางกาย ทางวาจาในชวี ิตประจำวัน เหมอื นภิกษุทกุ ประการ โดยประการทง้ั ปวง แสดงให้เหน็ ถึงประโยชนข์ องความ ไม่ประพฤตติ ามไมไ่ ตเ้ ลย เขา้ ใจพระธรรมจรงิ ๆ เมษายน - มิถนุ ายน ๒๕๖๒

นิตยสัารยุ ท ธ ใ ก ษ ไมใ่ ช่วา่ เมอื่ บวชเป็นสามเณรแล้ว จะทำอะไรกไ็ ด้ คฤหัสถ์เหน็ บรรพชิตแล้วกราบไหวด้ ้วยความเคารพ จะสนกุ สนานอยา่ งไรก็ได้ เพราะฉะน้นั ตอ้ งเป็นผทู้ ีต่ รง ในอ้ธยาคัยทสี่ ามารถซดั เกลากเิ ลสในเพศบรรพชติ ได้ และจรงิ ใจ สามเณรก็ไมม่ ีใครบังคับ ไมม่ ใี ครซกั ชวนหรอื ยง่ิ เขา้ ใจพระธรรมวนิ ัยมากเท่าไหร่ ความเคารพในเพศ เชอื้ เชิญให้บวช เพราะผูท้ รวู้ ่าพระพทุ ธศาสนานนั้ บริสุทธ้ี บรรพชิตก็ยิ่งมากเท่านน้ั แต่วา่ ถ้าไม่ใชภ่ กิ ษุสามเณรตาม สูงย่งิ ละเอียดยงิ่ ซดั เกลาอยา่ งยิง่ ตอ้ งรูประโยชนข์ อง ธรรมวินยั ไม\"ใชผ่ ูท้ ่ี'จะดำรงพระศาสนา แต่กลับทำลาย พระธรรมวินัยจริง ๆ จงึ สามารถท่จี ะประพฤตปิ ฏิป้ตตาม คำสอนของพระสัมมาล้มพุทธเจ้า ทงั้ ธรรมและวินัยดว้ ย พระธรรมวนิ ัยได้ เมอ่ื รู้อยา่ งนี้ คนยคุ นน้ั ไมก่ ลา้ ทจี่ ะซักซวน แ ล ้ว ค ฤ ห สั ถ '์ จ ะเค ารพ ใ น ภ กิ ษ ุส า ม เณ รผ ้'ู เป็ นอลชั ชี กันบวชอย่างคนยคุ น้ีทีซ่ ักชวนกันไปบวชเป็นรอ้ ย เปน็ พนั ผู้ไม่ละอาย อย่างน้ันหรือ? การบวชไมใ่ ช่ง่ายไมใชข่ องเล่น เปน็ หม่ืน เปน็ แสน ยคุ นีม้ ีการซักชวนกันไปบวชเปน็ รอ้ ย ไมใ่ ชใ่ ครกบ็ วชได้ เพราะการบวชเปน็ การสละ ละความ เปน็ พนั เปน็ หมน่ื เป็นแสนเพือ่ อะไร เหน็ ไหมวา่ ไม่มคี วาม ตดิ ข้อง ผบู้ วชเป็นผสู้ งบจากความติดขอ้ ง แมผ้ ้ทู ีบ่ วช เคารพในพระสัมมาล้มพทุ ธเจ้า ไม,ได้มคี วามเข้าใจใน เป น็ ส าม เณ ร ใน พ ระธ รรม ว ิน ัย น ้นั จ ะต อ้ งป ระพ ฤ ต ิ พระธรรมทีพ่ ระองค์ทรงแสดง ป ฏ บิ ตั ิต า ม พ ร ะ ธ ร ร ม ว ิน ยั ม ฉิ ะ น ัน้ แ ล ว้ ก ็ท ำ ล า ย พระศาสนา เพราะเหตวุ า่ ไม่เข้าใจธรรม แล้วจะบวชทำไม คฤหัสถ์มีความเคารพยง่ิ ในเพศบรรพชติ ซ่ึงต่างจาก เม ่ือ บ ว ช โด ย ไม , เช า้ ใ จ ธ ร ร ม จ ึง ท ำ ล า ย ค ำ ส อ น ข อ ง เพศคฤหสั ถ์ คฤหัสถไ์ มส่ ามารถทจี่ ะสละอาคารบ้านเรือน พระสมั มาสมั พุทธเจ้า อย่างบรรพชติ ได้ จึงมศี รทั ธาทจี่ ะอนุเคราะหบ์ ำรุงเพศ บรรพชิตที่เปน็ พระภิกษแุ ละสามเณร เพ่ือใหท้ า่ นได้ศกึ ษา ท้งั หมดเป็นสง่ิ ที่แสดงให้เหน็ ซัดเจนวา่ ถา้ ไม่มคี วามรู้ พระธรรมซดั เกลากเิ ลสดว้ ยความเบาสบาย ไมต่ อ้ งเดอื ดรอ้ น ความเขา้ ใจพระธรรมทถี่ กู ต้อง พระศาสนาก็อันตรธาน ในการดำรงชพี ด้วยประการใด ๆ ทัง้ ส้นิ คฤหสั ถอ์ นเุ คราะห์ ใครกต็ ามทไี่ ม่เข้าใจพระธรรม พระธรรมก็อันตรธาน คือ บรรพชิต'ใหม้ ีที่อยู่ มอี าหาร มยี ารกั ษาโรค มจี ีวรเครื่องนุง่ ห่ม สูญสน้ิ หายไปแล้วจากคนนัน้ อันตรธานแล้วเดีย๋ วนี้ที่ พอควร เพียงพอสำหรับบรรพชิต ไมเ่ ขา้ ใจ เพราะฉะน้นั พระศาสนาจะดำรงอย่ไู ดก้ ็ต่อเม่ือ 0ก่ี ๑๒๗ ฉบบก่ี ๓

มีความรคู้ วามเข้าใจในพระธรรมอย่างถูกตอ้ ง บวชแล้วไม่ เพราะฉะนนั้ แลว้ ควรท่ีจะไต้พิจารณาว่า ไม,วา่ ศกึ ษาพระธรรมใหเ้ ข้าใจ ไม่รักษาพระวินัยแล้วจะบวชทำไม จะอย่ใู นวยั ใด เพศใด คฤหสั ถ์หรอื บรรพชิต ถ้ามีความ เพราะฉะนัน้ คำตอบก็คอื ถ้าไมศ่ กึ ษาพระธรรมและไม่ ตั้งใจมีความจริงใจ มีความอดทน มีความเพียรในการฟัง ประพฤติปฏบิ ตตามพระธรรมวนิ ยั ก็บวชทำลายพระศาสนา พระธรรม ศกึ ษาพระธรรมแลว้ ยอ่ มไตร้ บั ประโยชนจ์ าก ผทู้ ่'ี ไมศ่ กึ ษาไมเ่ ขา้ 'ใจพระธรรมแล้วบวช ผนู้ น้ั ลกั ขโมยเพศ พระธรรมอย่างแทจ้ ริง ตามกำลังปัญญาของตนเอง ซ่งึ จะ บรรพชติ เปน็ การปลอมบวช ไมใ่ ช่เปน็ การบวชดว้ ยความ ขาดการฟงั พระธรรมเปน็ ปกตใิ นชีวิตประจำวันไม่ไตเ้ ลย เคารพในพระบรมศาสดา เป็นโทษสำหรบั ผู้นน้ั อยา่ งแทจ้ รงิ และปัญญา ความเข้าใจถกู เหน็ ถกู เป็นธรรมฝา่ ยดี ที่มี แม้ผูท้ ี่เป็นสามเณร ไม่ประพฤตติ นเปน็ สามเณรตามพระ ความสำคญั ยงิ่ ประเสริฐอยา่ งยง่ิ เพราะจะเป็นสภาพ ธรรมวนิ ัย เมอ่ื ละจากโลกไป ไปเกิดในอบายภูมิ กม็ เี ช่น ธรรมท่ปี รุงแต่งเก้ือกูลให้ชวี ิตเปน็ ไปในทางท่ถี กู ท่คี วร เดยี วกนั จะเหน็ วา่ เปน็ เร่อื งเล่น ๆ ไมไ่ ต้เลย ถอื เอาในสงิ ท่ีเป็นประโยชน์ ละท้ิงในสิงทผ่ี ดิ ทเี่ ปน็ โทษ โดยประการท้งิ ปวง รรรบเตอื นใจ “กงึ แมว้ า่ ภกิ ษเุ หลา่ นน บวซแลว้ ในศาสนาVองเราตถาคต แ ต ่เพราะไมป่ ฏบิ ตั ติ ามทเ่ี ราตถาคตสอน จงเทา่ กบั ไปแลว้ จากพระรรรมวนิ ยั นนนเอง คอื ภกิ ษเุ หลา่ นน ซอ่ื วา่ อยไู กลแสนไกลจากศาสนาน,, (ปรมัตถทีปนี อรรถกถาพระสตุ ตนั ตปีฎก ขทุ ทกนิกายอิตัวตุ ตกะ กุหนาสูตร) v o r a r y ศ กึ ษ า พ ร ะ ร ร ร ม เพ ม เต มิ !ต ัก ี่ มลู นิธิศืกษาและเนยแพร่พระพุทธศาสนา www.dhammahome.com YouTube: dhammahomelive Facebook:ชมรมบา้ นธัมมะมศพ.

xw เช ิญ ซ ม5ดิท ัศน์ช ุด G P F T a lk ก ี่แ น ะน ์า บ ร ก า ร แ ผ น ท า ง เล ือ ก ก า ร ล ง ท ุน ก ี่เห ม าะส ม ท ับ วัย ร ะท ับ ค ว า ม เส ี่ย ง แ ล ะเป ีาห ม าย ท างก ารเงิน ข อ งส ม าช ิก ทา่ นสามารถชมไดท้ าง Y ou tu b e พิมพค์ ำว่า G P F Talk หรอสแกน QR C o d e ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ดอนท่ี 3 ไกลิเกษยี ณ อายุน้อย ชอบเสีย่ ง วัยลรางกรอบทรวั ดลไดการเงนิ ผนั ผวน ทลาดการเงินผันผวน ดลาดการเงนิ ผันผวน อยากบงทง่ั ©ทไอย่ไจไรด? ทำอย่างไรส? แดกลวิ ไมม่ นั่ คง ทำอย่างไรส wvwv.gpf.or.th ๏ Q© GPF Mobile App กบข. www.facebook.com/gpfll79 1179

สทานuihขฮ่แเแนพัทฝ0แทอสทพนก สวนสนชระดิฬทร แท่งท I fta C n d ta tio n a n d (R e c r e a tio n c e n te r S u a n s o n p r a d ip a t (1 ) $r1-.,,ล & พ?6JV90 เ เพ(รรพานพๆnTทฝ®นรพพะ//จ ®<พ่พา่ 'ร'}}าก ©.ร (ว? ~ไ%/พๆd i& r9 nltO)พ%า5 ฝ ป ๆี ’พนๆ6)พ®6>พา® พราพ!ท® ท ะ / พ ๑ ๆแๆพะ/?0%J J1ร/ไร!พ?ร?7\\7763พ (gTsjejt&zjsรพาทๆพ หอ า้อกงลาักร เรลบี้ยรงอ ห้องง ทบ. สะชวมุนสล้มนมปนราะถริพาัทนรอา1หหารอ้ งแผลักะสวร่าะนวว่านยน1า06 ท ้อ ง &รรพปๆี ,ท / ''ทุ^'พนพภาพ®น' ร ร , ' ร ๆ พ โิ ท(ร($se> ปร พา่ น,พ ท®'ร■ประพร่ f์ โ'!}พร^'พ § / ) « § / ) <ร?7 พบแารอน้อรผ'มทักลีวปี้งีอรชาำุ้เงนยอํนวายกกาวกาม5ส2ะถหวลกัง ■ mmi t t ~~■~W W HพHIH^ni'ะm.*\"'mmam 1\", ร-***1' '\"'\"ป. Bft!, ~ 811Z | g | ^ ^ j g g g g g | i ^ g e e i i i | * e K w w a * w w i ^ hip* - J 1 1 Pน กา่ ยพักแรมๆ พนทก่ี างเตน็ ทพ์ ักนรนรมิ ทะเล ส้มนส้ บรรยากากรรรมซาติ M r ฒ&ร฿ร&พ’' พรอ้ มลนชานวยกวามละกวก หอนนา หอ้ นสขุ า อาการอ!นกนระลนค' รIPะโ- ร Ji . ลำหรบั ลัดกำกิากรรมเนเํ นหมกุ่ (โนะ “|t..:H!รI4พ-\"'ะ!:,ฐ”่gflgpt H r fHBHI BSB ไมสตทถ.ือหราถ.นนือ0อพงักน30ฟก28ึน6น15อล9.หะ58พัว69ักห86บิน59่อ8-นา4ก.7ป.อร0งะไก8าทพว1รบบ0สก1คา0ีรสรีฃ2ว้น10น9รส33์ น27ป67ร15ะ1ก05ิผ9า8าร4แห้งกี่ 1

ชาวไทยย่อม! * * ,0ท ่ฬ ่' W E L C O M E T O L U M E IN E E B O X IN G 3 T A L H U M T U E SD A Y 0 6 :3 0 - 1 1 :0 0 pm pm F R ID A Y 0 7 :0 0 - 1 1 :3 0 pm SA T U R D A Y 0 4 :0 0 - 1 1 :0 0 pm ถ่ายทอดสดในวันคุกร์ pm pm - ชอ่ ง Bright TV20ใ เวลา 08:45 - 10:45 - ชอ่ ง 9 MCOT HD เวลา 04:00 - 06:00 - ชอ่ ง NATION 22 เวลา 06:25 - 08:45 LUMPINEEE BOXING STADIUM RAM INTHRA ROAD, BANGKOK, THAILAND w w w .m u a y t h a ilu m p in e e .c o m / T E L . 0 - 2 5 2 2 - 6 8 4 5 ,0 - 2 5 2 2 - 6 8 4 6 ,0 - 2 5 2 2 - 6 8 4 7 ท ปิ ็ y jM P lN E S B O X t N ^ T A p lU M . I V m uทนแ-i m น

T129 ATAK HELICOPTER TTซ11น22า99ดAA2TT0AAมKKมเม,ปจใิ ็นรร้ปเวฮรดละติค4อุ่อาสรปัร1เทพรใกอนงรกัโนอจลงมะวตจรแิรัทรวตะดุรภนกาาปีรวกริกะจิ รเลุน่ทาใศคหผตมู้ผร่ ลยะงัเิตวสแนาลทมะาท๋ัไรดันทร้ สดับมิดกยัตาทร้งย๋สัองัฺาดi่วfเรอทนแคลบโวันบจโเดลากียยมวสี ทติงู บรตปทิดร๋กึฺตะอง้ เงทปฑศนี '้กใทนวบ่าฌก3อ่มั 0า็ใกเธดาอ1ศยอู่ ง. vvww.tai.com.tr mm3 M‘3 M O NIMDA รนV.-113A4อาท”ิ เค1องยนด้,ระบ่บฃับIคส์อห, เท\\าะทนกระสนฺ ^ะบ็บรากคานรวมรงระบบอาวธปอ๋ มปนี เปน็ ต้น ผู้ประสานงานในประเทศไทย: บริษ้ฑ นอสตร้า นาดโนโสยี จำกด้ w w w .astxatech.co.th A$6Yชsอฺotoยryaอeยnู่แT-1]นeSco1ih,ทYnุนoooนylอeoยngูเ่ อRyนdเC.ชLฺตaodล.p,าrดLaทotรdB้าุ .aวnกgทkoมk. 1100223300 Tel. (66) 2519-1001 Fax. (66) 2944-4977 E -m a il: a s t r a g a s t r a t e c h C O น่ใ

พพคติ แคะๆดๆไหUki ไมัปไรเก-ั โมเคค V ไม้พื้น'โคS1Vคิ้นไมบ้ นไดคูกกรVไม้บัว ovnบ-บานประตู ไม้คอนวูด เฌอร่ไไม้อัด ฯคฯ บริการ ขายนทีก-ขายrfv ในราคาขายriv แทะมีช่พไอ้บริการ 2 1 0 /7 -9 (หัวมุมสามแยกพิชัย) ถนนอำนวยสงคราม (บางกระบือ) 1188 แชวงถนนนครไชยอํรี เฃตดุสิต กรุงเทพฯ 1 0 3 0 0 50192 โทร. 0-2241-2622, 0-2669-1116, 0-2241-5876-8 Mobile ะ09-19919899 Fax: 0-2669-1129

งมนั สรา่ งสรรคิ ทีวบี รกิ ารสาธารณ เพัอความมันคง สถานวี ิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ROYAL THAI ARM Y RADIO A N D TELEVISIO N STATION (CH A N N EL 5) 2iC ทนนพหลโยรน แขวงสามเสนไน เขตพญาไท ก?งเทพฯ 10400 โทร: 0 2271 0060-9, 0 2270 0200-4 โทรสาร: 0 2270 1510 พพพ.tv5.co.th