Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โลกของแมลง

โลกของแมลง

Published by kazebow, 2021-02-16 03:44:13

Description: โลกของแมลง

Search

Read the Text Version

โลกของแมลง ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาพิษณโุ ลก

กาเนิดแมลง • แมลง ถือกาเนิดบนโลกในยุคเดโวเนียน หรือประมาณ 400 ล้านปีก่อน จากหลกั ฐานทางซากดกึ ดาบรรพ์ ฟอสซสิ (Fossil) ของแมลงท่ีมีอายุเก่าแก่ที่สุด คือ แมลงหางดดี Rhyniella praecursor Hrst & Maulik • แมลงจึงครองอาณาจักรของสัตว์บินได้มานานกว่า 150 ล้านปี ก่อนที่สัตว์ปีก สตั ว์เล้อื ยคลาน และสตั ว์เลย้ี งลูกดว้ ยนา้ นมบางชนดิ ท่ีบนิ ไดจ้ ะกาเนิดข้นึ • แมลงชนิดแรกท่ีพบในยุคคาร์บอนิเฟอรัส คือ “แมลงปอยักษ์” ปีกท้ังสองข้าง รวมกนั ยาวมากกวา่ 2 ฟตุ หรือเกือบ 10 เทา่ ของแมลงปอท่ีพบในปัจจุบัน แมลง จงึ เปน็ สง่ิ มชี วี ิตแรกท่สี ามารถบินในอากาศได้ https://www.facebook.com/421456874731797/posts/447843222093162/

ความสาเรจ็ ในการดารงชีวิตของแมลง แมลงมคี วามสามารถในการดารงชีวิตอย่ไู ดใ้ นทุกระบบนิเวศ เนือ่ งจากมโี ครงสรา้ ง ของร่างกายทม่ี ีความเหมาะสม ปจั จัยสาคัญท่ีทาให้แมลงประสบความสาเร็จอยา่ ง มากในการดารงชวี ติ เนอ่ื งจากแมลงมกี ารปรบั โครงสรา้ งของรา่ งกายและรปู แบบ ของการดารงชีวติ ใหเ้ หมาะสม คือ 1. แมลงมีรา่ งกายขนาดเล็ก สามารถดารงชีวิตอยู่ไดใ้ นสภาพแวดล้อมท่ี หลากหลายและใชท้ รัพยากรท่มี ีอยอู่ ย่างจากดั ได้ 2. แมลงมีโครงร่างแขง็ ภายนอกร่างกาย มีคิวติเคิลเป็นผนังด้านนอกของ ลาตวั สามารถปอ้ งกันการสูญเสยี นา้ จากรา่ งกายได้ 3. ระบบทอ่ อากาศ มีชอ่ งหายใจ (Spiracle) ท่ีอยูข่ า้ งลาตวั รับแกส็ ออกซเิ จน ส่งไปทั่วรา่ งกาย 4. แมลงมรี ปู แบบของพฤตกิ รรมทีซ่ ับซ้อน ปรบั ตวั ให้รอดชวี ติ จากการ เปลยี่ นแปลงของสภาพแวดล้อมได้ 5. แมลงมีการเจรญิ เตบิ โตแบบเปล่ียนแปลงรปู ร่าง แต่ระยะของการ เจรญิ เติบโตจะมีความแตกตา่ งในดา้ นรปู ร่างและพฤติกรรม เป็นปัจจัยในการ ลดการแขง่ ขนั ภายในชนิดระหวา่ งตัวออ่ นและตัวเต็มวัย

ลกั ษณะทว่ั ไปของแมลง “แมลง” เป็นสัตว์ไมม่ กี ระดกู สนั หลัง ท่ีมีลาตัวและขาเป็นปล้องๆ เรียงติดต่อกัน ลาตัวท้ังซีกซ้ายและซีกขวาจะมลี ักษณะสมมาตร (Bilateral symmetry) แบง่ เป็น 3 ส่วน คือ หวั (Head) อก (Thorax) และทอ้ ง (Abdomen) หวั อก ท้อง https://www.flickr.com/photos/alfonso015/454502741/

ลกั ษณะทวั่ ไปของแมลง ตา - ตารวม หรอื ตาประกอบ (Compound eyes) จานวน 1คู่ ซ่งึ เป็นเลนส์เลก็ ๆตอ่ กัน ทาหนา้ ทีใ่ นการมองภาพ ซงึ่ ส่วนใหญ่จะพบในตัวเต็มวัย เชน่ ผึ้ง มด ผเี ส้ือ แมลงปอ แมลงสาบ เป็นต้น - ตาเดีย่ ว (Simple eye หรือ Ocelli) ซึง่ มีจานวนแตกต่างกนั ไป โดยทวั่ ไปตาเดีย่ วของ ตวั เต็มวัย จะอยูร่ ะหว่างตารวม ส่วนตาเด่ียวของหนอนผีเสอ้ื จะอยู่ท่ีบรเิ วณดา้ นข้างของ สว่ นหัว เช่น แมงป่อง แมงมมุ เห็บ ไร เป็นต้น หนวด แมลงมหี นวด (Antennae) 1 คู่ อยู่ระหวา่ งตารวม หนวดแมลงประกอบด้วย 3 ส่วน เรยี งต่อกันคอื ฐานหนวด (Scape) ขอ้ ต่อหนวด (Pedicel) และเสน้ หนวด (Flagellum) ปาก แมลงจะดัดแปลงสว่ นปาก(Mouths) ใหม้ รี ูปรา่ งแตกต่างกันออกไป เพอ่ื ให้ เหมาะสมกบั พฤติกรรม และลกั ษณะของอาหารทก่ี นิ

ลกั ษณะท่ัวไปของแมลง ติดอยู่กับส่วนหวั โดยอาศัยเยือ่ บางๆ ที่เรียกว่า Cervix หรือ คอ (Neck) เป็นตัวเช่ือมต่อ อกของแมลงประกอบด้วยปล้อง 3 ปล้อง คือ อกปล้องแรก (Prothorax) อกปล้องกลาง (Mesothorax) และอกปล้องสุดท้าย (Metathorax) และเป็นท่ีต้ังของอวัยวะซ่ึงทาหน้าท่ี ในการเคลอื่ นไหว ได้แก่ ขา ปีก ขา แมลงบางชนิดอาจจะมีขาที่มีรูปร่างไม่เหมือนกัน และมีรูปร่างลักษณะที่เหมาะสมกับ การใช้งาน จึงเรียกขาแบบต่างๆ ตามลักษณะการใช้งาน ได้แก่ ขาเดิน (Walkinglegs) ขากระโดด (Jumping legs) ขาขุด (Digging legs) ขาหนีบ (Grasping legs) ขาจับ (Clasping legs) ขาเกยี่ ว (Clinging legs) ปกี โดยทว่ั ไปแมลงมีปกี 2 คู่ อยู่บนอกปล้องกลางและปล้องสดุ ทา้ ย ปล้องละ 1 คู่ แมลงหลายชนิดมีอวัยวะพิเศษช่วยเก่ียวปีกทั้ง 2 คู่ ให้ยึดติดกันในขณะท่ีทาการบิน เช่น ผีเส้ือ ผ้ึง ต่อ แตน เนื้อปีกของแมลงมี 4 แบบ ได้แก่ ปีกแบบเย่ือบาง (Membrane) ปีกแบบเท็กมินา (Tegmina) ปีกแบบอิไลทรา (Elytra) ปีกแบบเฮมีไลทรา (Hemelytra)

ลกั ษณะทั่วไปของแมลง เป็นส่วนสุดท้ายของลาตวั แมลง อวัยวะท่พี บบนส่วนท้อง แบง่ ได้ 2 ประเภท - อวัยวะท่ีเก่ียวข้องกับการผสมพันธ์ุ พบในแมลงท่ีเป็นตัวเต็มวัย อวัยวะ สืบพันธุ์ของเพศเมีย คือ อวัยวะวางไข่ (Ovipositor) แมลงบาง ชนิดมีอวัยวะ วางไขส่ ั้น เช่น ต๊ักแตนหนวดสัน้ - อวัยวะที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผสมพันธ์ุ พบบนส่วนท้องของแมลงท้ังระยะ ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย มีหน้าที่แตกต่างกันไป เช่น รูหายใจ ทาหน้าท่ีรับก๊าซ ออกซิเจนเขา้ สลู่ าตวั https://www.pinterest.com/pin/500392208591727849/

การเจริญเติบโตของแมลง แมลงทุกชนดิ จะอาศยั การลอกคราบเพ่ือให้รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตขนึ้ การเปลีย่ นแปลงรูปรา่ งจากไข่กลายเป็นตวั เตม็ แตกตา่ งกนั ตามชนิดแมลงแบง่ ได้ 2 แบบใหญๆ่ 1. การเปลีย่ นแปลงรูปรา่ งแบบสมบูรณ์ 2. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบไม่สมบูรณ์ มีการเปลี่ยนแปลง 4 แบบ คือ ไข่ ตัวอ่อน เม่ือไข่ฟักออกมาแล้วจะกลายเป็นตัวอ่อนที่มี ดักแด้ และตัวเต็มวัย จะมีรูปร่างไม่เหมือนกัน รูปร่างใกล้เคียงพ่อแม่ ได้แก่ แมลงปอ แตกต่างจากพ่อ แม่ ได้แก่ ผีเส้ือ ผึ้ง มด ตั๊กแตน มวน แมลงสาบ จิง้ หรีด จกั จั่น ฯลฯ หิ่งหอ้ ย แมลงเตา่ ทอง ยงุ แมลงวัน ฯลฯ https://sites.google.com/site/animaltec/p11-1

ญาติของแมลง “แมลง” กับ “แมง” แตกต่างกันอย่างไร ? อวัยวะ แมลง (Insects) แมง (Arachnids) ลาตวั แบ่งเปน็ 3 สว่ น คือ แบง่ เปน็ 2 สว่ น คือ ส่วนหวั ส่วนอก และส่วน ส่วนหวั และสว่ นท้อง ขา ทอ้ ง มี 6 ขา มี 8 ขา ปีก (บางชนดิ มมี ากกวา่ 8 ซึง่ ใช้จบั มี1-2 คู่บางชนดิ ไมม่ ปี กี อาหารเข้าปาก) ไม่มีปีก หนวด มี 1 คู่บางชนดิ ไม่มหี นวด ไมม่ ีหนวด ตา มตี ารวม ขนาดใหญ่ 1 คู่ มีตาเด่ยี ว 2-3 ตา เชน่ ผงึ้ มด ผเี สื้อ แมลงปอ เช่น แมงป่อง แมงมมุ เหบ็ ไร แมลงสาบ

การแบ่งประเภทของแมลง สามารถจาแนกแมลงได้เปน็ 2 ประเภท ดังน้ี แมลงบก (Terrestrial nsect) คือ แมลงน้า (Aquatic Insect) คือ แมลงทีด่ ารงชวี ิตบนบก หายใจด้วย แมลงท่ีมีส่วนหนึ่งของวงจรชีวิตอยู่ ทอ่ ลมดา้ นข้างลาตวั เชน่ ผเี ส้อื จักจน่ั ในน้า เช่น แมลงปอ แมลงดานา มวนกรรเชียง

การกนิ อาหารของแมลง แมลงทีล่ า่ เหยอื่ เป็นอาหารจะมีฟันกรามทแี่ หลมคม ใช้สาหรบั แทง จับ ยึด และเคย้ี วเหย่ือ ทีจ่ ับได้ แมลงที่กดั กินพืชจะมีกรามทท่ี กู่ ว่าใช้ในการบดอาหาร สามารถจัดรูปแบบปากของ แมลงตามลักษณะที่กนิ อาหาร ได้ 7 รปู แบบ ดงั น้ี 1. ปากกดั เคี้ยว (Chewing Type) ของด้วงต่าง ๆ 2. ปากแทงดดู (Piercing-sucking Type) ของยุง จกั จ่นั หมัด แมลงวนั ปากดา 3. ปากเขี่ยดูด (Rasping-sucking Type) ของเพล้ยี ไฟ 4. ปากกัดซับดดู (Cutting sponging Type) ของเหลือบ 5. ปากซบั ดดู (Sponging Type) ของแมลงวนั 6. ปากกดั เลยี (Chewing Lapping Type) ของผง้ึ 7. ปากดูดกิน (Siphoning Type) ของผเี สื้อ https://bugjijijiji.wordpress.com

การพรางตวั เป็นการพรางตัวใหก้ ลมกลืนกบั สภาพแวดล้อมโดยรอบเพื่อหลบซอ่ น จากสัตว์ผู้ล่า หรือให้เหยื่อตายใจเพื่อหลีกเลี่ยงการโจมตี หรือบางคร้ังก็ อาจเป็นการหลอกล่อให้เหยื่อตายใจ เช่นตามบ้านของเรา จิ้งจก สามารถ เปล่ียนสสี นั ใหก้ ลมกลืนกับฝาผนงั หรือ พืน้ ผวิ ทม่ี ันเกาะอยู่ http://www.qsbg.org/Database/Article/Image/MiracleofInsects.pdf

แมลงกบั ชีวิตประจาวนั ด้านการเกษตร การนาแมลงพวกที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหาร คือพวกตัวห้า ตัวเบียนของแมลงด้วยกันเอง มาใช้ในการควบคุมศัตรูพืชและศัตรูสัตว์ ทาให้ลดการใช้สารเคมีที่เป็นพิษต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม เช่น การเพาะเลี้ยงแตนเบียน เพ่ือช่วยทาลายไข่ของหนอนเจาะลาต้นข้าว ไขข่ องมวนลาไย และนาแมลงชา้ งปีกใส ควบคุมเพลย้ี และหนอนศตั รพู ืช https://www.svgroup.co.th https://farmerspace.com/

แมลงกับชวี ิตประจาวนั ด้านเศรษฐกิจ การเลี้ยงแมลงเพื่อจาหนา่ ย หรือนามาแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ เช่น น้าผ้ึง ผา้ ไหม ตัก๊ แตนทอด แมลงอบกรอบ น้าหอม นา้ พรกิ เป็นต้น

แมลงกบั ชวี ิตประจาวัน ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ แมลงเป็นสตั วท์ มี่ วี งจรชวี ติ สนั้ หาง่าย และมีราคาถูก นามาเพาะเล้ยี งเพิ่มปริมาณได้อยา่ งรวดเรว็ ในหอ้ งปฏบิ ัติการ เชน่ การ ใชแ้ มลงหว่ีในการศกึ ษาทางพันธกุ รรม http://www.sc.su.ac.th/knowledge/drosophila.pdf

แมลงกบั ชวี ิตประจาวนั ด้านนิติวิทยาศาสตร์ ความสมั พันธ์ระหว่างแมลงและซากศพโดย ชนิดของแมลงที่พบในซากศพจะบอกระยะเวลาการตายของศพ ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานคลีค่ ลายคดฆี าตกรรม https://www.nupress.grad.nu.ac.th/shop/wp-content/uploads/2019/04/demo-9786164261365.pdf

ท่มี า: http://www.qsbg.org/Database/Article/Image/MiracleofInsects.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook