รายงานการฝึ กโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ ชุมชนหมู่ที่ 5 ตาบลยางค้อม อาเภอพปิ ูน จังหวดั นครสรีธรรมราช นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ รหัสประจาตัวนักศึกษา 611250001 รายงานฉบบั นีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวชิ าโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสูงปฏบิ ัติการฉุกเฉินการแพทย์ ช้ันปี ท่ี2 รุ่นที 15 วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จังหวดั ยะลา
คานา รายงานฉบบั น้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชาโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ ของนกั ศึกษาหลกั สูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง สาขาปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ยะลา โดยการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพคร้ังน้ี นกั ศึกษาไดฝ้ ึกประสบการณ์ในพ้ืนท่ีชุมชนหมู่ท่ี 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปนู จงั หวดั นครศรีธรรมราช เป็นการศึกษาชุมชนในดา้ นตา่ งๆ มีการเกบ็ รวบรวม ขอ้ มลู จากชุมชน โดยการสัมภาษณ์ สังเกต และจากขอ้ มลู ทตุ ิยภมู ิเพอื่ ใหท้ ราบ และเขา้ ใจถึงวิถีของคนใน ชุมชน และมองเห็นสภาพปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้นึ ภายในชุมชน โดยเฉพาะปัญหาดา้ นการแพทยแ์ ละนาไปสู่ การวางแผนในชุมชน อนั นาไปสู่การมีสุขภาพ และคณุ ภาพชีวติ ที่ดีภาพในชุมชน ซ่ึงทาใหเ้ กิดการพฒั นา อยา่ งยง่ั ยนื เพอื่ เตรียมความพร้อมสู่การฝึกประสบการณ์จริง และเป็นบุคลากรทางดา้ นสาธารณสุขต่อไป ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ในเลม่ รายงานฉบบั น้ีจะสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิด ประโยชน์ และเป็นแนวทางในการพฒั นาแกป้ ัญหาในดา้ นตา่ งๆ ของชุมชน และเพื่อเป็นแนวทางใน การศึกษาต่อไป ผจู้ ดั ทา นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์
กติ ตกิ รรมประกาศ การฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพในคร้ังน้ี นักศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง ปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นที่ 15 ช้นั ปี ที่ 2 วิทยาลยั การสาธารณสุขสิริธร จงั หวดั ยะลา ไดท้ าการศึกษา ในพ้ืนที่ของตนเอง โดยการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพคร้ังน้ีนักศึกษาได้ฝึ กประสบการณ์ในพ้ืนท่ี ชุมชนหมู่ที่5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช ไดส้ าเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี โดยไดร้ ับความ กรุณาจากบุคคลหลายท่าน ทางกลุ่มนกั ศึกษารู้สึกซาบซ้ึงในความกรุณาที่มีให้ จึงใคร่ขอขอบพระคุณเป็น อยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.ภคั ณัฐ วีรขจร ที่ไดใ้ หค้ าแนะนา ท่ีไดป้ ระสิทธ์ิประสาทวิชา ก่อให้เกิด ความรู้ในการฝึกปฏิบตั ิงาน จนสามารถปฏิบตั ิงานไดเ้ ป็นอยา่ งดี ขอขอบพระคุณเจา้ หนา้ ท่ีอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ นในชุมชนหมู่ที่ 5 ที่คอยให้ความ ช่วยเหลือ แนะนา ใหค้ าปรึกษา ตลอดการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพและให้ความช่วยเหลือ แนะนา ใหค้ าปรึกษา ตลอดการฝึกปฏิบตั ิงานในคร้ังน้ี ขอขอบพระคุณชาวบา้ นชุมชน หมู่ท่ี 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช ที่ให้ ขอ้ มูลในการศึกษาคร้ังน้ี และเขา้ มามีส่วนร่วมในการดาเนินโครงการ ในทุกกิจกรรมท่ีนกั ศึกษาจดั ข้ึนและ สาเร็จลุลว่ งไปไดด้ ว้ ยดี สุดทา้ ยน้ี นักศึกษาขอขอบพระคุณทุกท่านที่มีส่วนเก่ียวขอ้ ง ทาให้การฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะ วชิ าชีพในคร้ังน้ี ประสบความสาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี
สารบญั หน้า เร่ือง ก ข คานา ค กิตติกรรมประกาศ 1 สารบญั 1 บทที่ 1 บทนา 2 2 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 3 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 3 1.3 กระบวนการเตรียมฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 4 บทท่ี 2 บริบทชุมชน 6 2.1 เเผนท่ีเดินดิน 11 2.2 ฝังเครือญาติ 12 2.3 โครงสร้างองคก์ รชุมชน 13 2.4 ระบบสุขภาพชุมชน 14 2.5 ปฏิทินชุมชน 17 2.6 ประวตั ิศาสตร์ชุมชน 17 2.7 ประวตั ิบุคคลสาคญั 18 บทท่ี 3 การวินิจฉยั ชุมชน 18 3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 28 3.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 29 3.3 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 3.4 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 30 3.5 ปัญหาและการจดั ลาดบั ของปัญหา 30 39 บทท่ี 4 แผนงาน/โครงการ 44 4.1 แผนงาน/โครงการ 4.2 ระดบั ความพงึ พอใจต่อโครงการ 4.3 สรุปผลการดาเนินโครงการ
สารบญั ( ตอ่ ) หนา้ 47 เรื่อง 47 บทท่ี 5 สรุปผลการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ 48 5.1 สรุปผลการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 48 5.2 อภิปรายผล 49 5.3 ขอ้ เสนอแนะการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 50 ภาคผนวก 52 ภาคผนวก ก ภาพทากิจกรรมโครงการ ห่างไกลไขเ้ ลือดออก 54 ภาคผนวก ข แบบสอบถามขอ้ มลู สภาพปัญหาของประชาชนในชุมชน 56 ภาคผนวก ค แบบทดสอบความรู้เรื่องไขเ้ ลือดออก 57 ภาคผนวก ง แบบประเมินความพึงพอใจการเขา้ ร่วมโครงการห่างไกล ไขเ้ ลือดออก 59 ภาคผนวก จ แบบลงทะเบียนเขา้ ร่วมโครงการห่างไกล ไขเ้ ลือดออก บรรณานุกรม
บทที่ 1 ส่วนนาโครงการ 1.1ความเป็ นมาและความสาคญั ของการฝึ กโครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพ โรคไขเ้ ลือดออกเป็ นปัญหาสาคญั ทางการแพทย์ และการสาธารณสุขในระดบั ประเทศไทยมายาวนาน เน่ืองจากความรุนแรงของโรคแปรผนั ตรงต่ออตั ราตาย อตั ราป่ วยเป็นโรคไขเ้ ลือดออก จึงส่งผลต่อสุขภาพ ของผปู้ ่ วย ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ ตามลาดบั เดิมการระบาดของโรคไขเ้ ลือดออกจะพบบ่อย ในกลมุ่ อายุระหว่าง 10-14 ปี แต่ปัจจุบนั มกั พบผูป้ ่ วยไดใ้ นทุกกลุ่มอายุและพบไดท้ ุกฤดูกาล โดยสถานการณ์โรค ไข้เลือดออกภาคใต้ พบว่าภาคใต้ เขต 11 มีอัตราป่ วยประมาณ7,753 ราย จานวนผูป้ ่ วยของจังหวัด นครศรีธรรมราช 3,805 ราย (กรมควบคุมโรค, 2562 ) จากการสารวจขอ้ มลู ครัวเรือน หมู่ท่ี 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพปิ ูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช เดือน มีนาคม 2563 มีจานวนครัวเรือนท้งั สิ้น 363 ครัวเรือน ซ่ึงจากการสารวจครัวเรือน พบว่า มีลูกน้ายุงลาย จานวน 10 ครัวเรือน มีภาชนะ 999 ใบ ซ่ึงจากการสารวจภาชนะ พบลูกน้ายงุ ลายในภาชนะ 22 ใบ โดยมีค่า ร้อยละของบา้ นสารวจท่ีพบลูกน้ายุงลาย(House Index) คิดเป็ นร้อยละ 5.40 และมีค่าร้อยละของภาชนะ สารวจที่พบลูกน้ายุงลาย (Container Index) คิดเป็ นร้อยละ 2.2 ซ่ึงเกินจากเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุข กาหนดไว้ (HI<10 %, CI = 0 %) จากสถานการณ์และความสาคญั ดงั กล่าวนางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ นักศึกษาช้นั ปี ที่ 2 หลกั สูตร ฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นท่ี 15 เลง็ เห็นว่าประชาชนหมู่5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช มี ความเสี่ยงท่ีจะเป็นโรคไขเ้ ลือดออก เพราะมีค่าร้อยละของบา้ นสารวจท่ีพบลูกน้ายงุ ลาย(House Index) และมี ค่าร้อยละของภาชนะสารวจที่พบลูกน้ายุงลาย (Container Index) เกินจากเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุข กาหนดไว้ จึงไดจ้ ดั โครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก หมู่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช ข้ึนเพ่ือให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เรื่องการป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกเพื่อลด อตั ราการป่ วยดว้ ยโรคไขเ้ ลือดออกและควบคุมค่า CI และ HI ในหมู่บา้ น และเพ่ือใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วม ในการป้องกันและทาลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลายในหมู่ 5 ตาบลยางค้อม อาเภอพิปูน จังหวัด นครศรีธรรมราช
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั การทาอาชีพเสริมภายในชุมชน 1.2.2 เพอื่ ใหศ้ ึกษเกี่ยวกบั การหา 1.2.3 เพ่ือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและทาลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลายใน ครัวเรือน 1.3 กระบวนการเตรียมฝึ กโครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพ 1.3.1 กรอบแนวคิดการฝึ กโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ การฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ ปัญหาดา้ นสุขภาพดา้ นในชุมชนหมทู่ ี่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคิดการเตรียมฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ
บทที่ 2 บริบทชุมชน เครื่องมือ 7 ชิน้ เครื่องมือ 7 ชิ้น เป็นเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเขา้ ถึงพ้ืนท่ีของชุมชน และบง่ บอกถึงความสาคญั ของกลุ่ม ผูค้ นว่ามีความผูกพนั ธุ์ในวงศ์สกุลเดียวกนั สามารถช่วยแนะนาปัญหาบางอย่างของครอบครัวท่ีสามารถ เกิดข้นึ ไดแ้ ละยงั ทาใหร้ ู้จกั กลุ่มงานตา่ งๆ ในชุมชน เขา้ หาชุมชนไดง้ ่ายข้นึ ไดเ้ รียนรู้การรักษาตนเองของคน ในชุมชน เขา้ ใจวิถีชีวิตของคนในชุมชนและท่ีสาคญั เป็นเครื่องมือที่ใชเ้ ป็ นใบเบิกทางเพ่ือการกลมกลืนเขา้ กบั ชุมชนน้นั 1.แผนทเ่ี ดินดิน
2.ผังเครือญาติ ผงั เครือญาติคือ การถอดความสัมพนั ธใ์ นเชิงเครือญาติ หรือเชิงสายเลือดในชุมชน มีความสาคญั ตอ่ การทาความเขา้ ใจชุมชนและสงั คม ไมว่ า่ จะเป็นสังคมเมืองหรือสังคมชนบท เพราะเครือญาติเป็น ความสมั พนั ธท์ ่ีเป็นรากฐานที่สุดของชีวติ ครอบครัว การทาผงั เครือญาติจึงมีส่วนสาคญั ในการทาความ เขา้ ใจระบบความสัมพนั ธใ์ นครอบครัวและชุมชน เป้าหมายสาคญั ของผงั เครือญาติ 1.เขา้ ใจโครงสร้างความสัมพนั ธเ์ ชิงเครือญาติซ่ึงเป็นรากฐานของครอบครัวและชุมชน 2.รู้จกั ตวั บุคคลและความสมั พนั ธท์ างสงั คมของเขาไดใ้ นระยะเวลาอนั ส้ัน 3.ช่วยสร้างความสัมพนั ธ์และความสนิทคุน้ เคยระหวา่ งเจา้ หนา้ ท่ีกบั ชาวบา้ นไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 4. ทาใหท้ ราบเก่ียวกบั สุขภาพหรือโรคติดต่อของคนในครอบครัว เพ่ือป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาสุขภาพน้นั ๆ สัญลกั ษณ์แทนในผงั เครือญาติ สัญลกั ษณ์แทนบิดามารดาท่ีเสียชีวติ แลว้ สัญลกั ษณ์แทนผชู้ าย สัญลกั ษณ์แทนผหู้ ญิง สัญลกั ษณ์แทนการแตง่ งาน
ผังเครือญาติ นายทวี ศรีเปารยะ / นางละเมียด ศรีเปารยะ นายกิตติพงศ์ รักายศ นายสายทิพย์ ริยาพนั ธ์ นายวมิ ล เท่ียวแสวง นายวิทูตย์ นาคกลบั นางอไุ รวรรณ รักษายศ นางรัชฐา ริยาพนั ธ์ นางดวงเดือน เท่ียวแสวง นางสุภาพร นาคกลบั นายศิริวุฒ ริยาพนั ธ์ นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ นางสาวบุญยงั เที่ยวแสวง นางสาวเพยี งแข เท่ียวแสวง นางสาวศิริทิพย์ รักษายศ นายเทพรัส รักษายศ นายบนั พศ นาคกลบั นางสาวดาราพร นาคกลบั
3. โครงสร้างองค์กรชุมชน รายชื่อประธานและอาสาสมคั รชุมชน นายเสมอภาค วงศส์ วสั ด์ิ ประธาน นายสารวย จองศกั ด์ิ รองประธาน นางรัชฐา ริยาพนั ธ์ นางรัชฐา ริยาพนั ธ์ เลขานุการ กรรมการฝ่ายสวสั ดิการสงั คม นายสมพร หตั ถิยา นายไพรัช วงศอ์ กั ษร กรรมการฝ่ายพฒั นา กรรมการฝ่ ายป้องกนั นางบุญยงั ปากลาว นางอรรวี แสงศรี กรรมการฝ่ายกลุม่ สตรี กรรมการฝ่ ายการคลงั นางเบญมาศ วงศพ์ พิ นั ธ์ นายบนั ทึก อินทรินทร์ กรรมการฝ่ายกลุม่ สตรี กรรมการฝ่ ายการศึกษา
รายชื่อคณะกรรมการทีป่ รึกษาชุมชน นายเสมอภาค วงศส์ วสั ด์ิ ท่ีปรึกษา นายสมรวย จองศกั ด์ิ ท่ีปรึกษา นางรัชฐา ริยาพนั ธ์ ที่ปรึกษา นางองั คนา ประสิทธ์ินุย้ ที่ปรึกษา คณะกรรมการท่ีปรึกษามี นายเสมอภาค วงศ์สวสั ด์ิ นายสมรวย จองศกั ด์ิ นางรัชฐา ริยาพนั ธ์ นางองั คนา ประสิทธ์ินุ้ย บทบาทการทางานของคณะกรรมการท่ีปรึกษาส่วนใหญ่มีหน้าท่ีปรึกษากับ ประธานชุมชน รองประธาน และ คณะกรรมการ ซ่ึงประธานกรรมการมีบทบาทในการบริหารชุมชนโดยมี ประชาชนเป็นผสู้ นบั สนุน
รายชื่อประธานอาสาสมคั รสาธารณสุขชุมชน หมู่ที่ 5 ตาบลยางค้อม อาเภอพปิ ูน จังหวัดนครศรีธรรมราช นางสาวพทั นี ผดุ ผาด ประธานอาสาสมคั รสาธารสุข นางบญุ ยงั ปากลาว นางเบญจมาส วงคพ์ ิพนั ธ์ สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางวาสนา ก๋งเม่ง นางจิราพร เดโช สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางสุดธิพร นิยม นางหนูแมน จงจิตร สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางสุภาพ พทิ กั ษ์ นางอริยา ราชโรช สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข อาสาสมคั รสาธารณสุขชุมชนหมู่ท่ี 4 เป็ นองคก์ รที่ดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน เฝ้าคอย ระวงั โรคต่าง ๆ ในชุมชน มีบทบาทให้ความรู้เกี่ยวกบั การดูแลสุขภาพของชุมชน โดยมี นางสาวประภา ดา บา้ นใหม่ เป็ นประธาน โดยบทบาทหลกั ๆ ของ อาสาสมคั รสาธารณสุขในชุมชนหมู่ที่ 4 ส่วนใหญ่จะ
ประชาสัมพนั ธ์เกี่ยวกบั การตรวจสุขภาพของประชาชน รวมท้งั เชิญชวนให้ประชาชนเขา้ รับการอบรมให้ ความรู้เกี่ยวกบั การดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครัวเรือน
กล่มุ สตรี นางเบญมาศ วงศ์พพิ นั ธ์ หวั หน้ากล่มุ สตรี คณะกรรมการพฒั นาสตรีเป็ นกลุ่มเป้าหมายในการดาเนินการขบั เคลื่อนการดาเนินงานจดั ประชุม สตรีในหมบู่ า้ นเพื่อแนะนาการจดั ทาครอบครัวพฒั นาตามคุณลกั ษณะท่ีกาหนดร่วมกบั ครอบครัวเป้าหมายท่ี เขา้ ร่วมโครงการวางแผนการพฒั นาประสานองค์กรหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อ ร่วมส่งเสริม/และพฒั นา ครอบครัว กล่มุ ผู้สูงอายุ นางบุญยงั ปากลาว หวั หน้ากล่มุ ผู้สูงอายุ ชมรมผสู้ ูงอายเุ ป็นการรวมกลุ่มของผูส้ ูงอายทุ ่ีมีอายุเกิน ๖๐ ปี ข้ึนไป อยา่ งนอ้ ย ๒๐ คน และอาจมี คนวยั อ่ืน ท้งั วยั ทางาน เด็ก เยาวชน เขา้ ร่วมเป็นสมาชิกสมทบ แต่ไม่ควรเกิน ๑ ใน ๔ ของสมาชิกท่ีเป็ นวยั สูงอายุโดยมีวตั ถุประสงค์ตรงกนั ในการดาเนินกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ท้งั ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และมีการกาหนดระเบียบขอ้ บงั คบั ในการบริหารชมรม ท้งั น้ี ชมรมผูส้ ูงอายุอาจอยู่ภายใตส้ ังกัด หน่วยงาน องคก์ ร หรืออาจเป็นชมรมอิสระท่ีไม่สังกดั หน่วยงานใดก็ได้
วดั ยางค้อม รพ.สต.วดั ทุ่งนา ศาสนา ใหม่ สถานพยาบาล ระบบสุขภาพชุมชน หมู่ท่5ี ตาบลยางค้อม อาเภอพปิ นู จังหวดั นครศรีธรรมราช ร้านขายยา สถานท่ีออกกาลงั กาย ร้านขายยาหมอเลก็ สนามกฬี าโรงเรียน วดั ยางค้อม
5. ปฏทิ ินชุมชน กมุ ภาพนั ธ์ มีนาคม เมษายน -วันสงกรานต์ มกราคม กรกฎาคม -รดนา้ ดาหวั ผ้ใู หญ่ -วันปี ใหม่ -ประเพณชี ักพระ พฤศจกิ ายน พฤษภาคม มถิ ุนายน -ลอยกระธง สิงหาคม -แข่งกฬี าชุมชน กนั ยายน ตลุ าคม -บุญสาทรเดือนสิบ ธันวาคม -วันสิ้นปี กจิ กรรมภายในแต่ละเดือน กจิ กรรม -ตกั บาตรวนั ข้ึนปี ใหม่ เดือน มกราคม -รดน้าดาหวั ผใู้ หญ่ เมษายน -ประกวดนางนพมาศ -ประเพณีชกั พระ สิงหาคม -แขง่ กีฬาสีของแต่ชุมชน กนั ยายน -กิจกรรมบุญสาทรเดือนสิบ พฤศจกิ ายน -กิจกรรมแห่หมบั ธันวาคม -กิจกรรมลอยกระธง -ประกวดนางนพมาศ -สวดมนตข์ า้ มปี -ตกั บาตรเทโว
6. ประวตั ิศาสตร์ชุมชน ประวตั คิ วามเป็ นมา ตาบลยางคอ้ มอยใู่ นเขตการปกครองของอาเภอพิปูน มีจานวนหมู่บา้ นท้งั สิ้น 9 หมบู่ า้ นไดแ้ ก่ หม1ู่ บา้ นนาเหนือ หมู่2 บา้ นทา่ แซะ หมู่3 บา้ นในใส หมู่4 บา้ นท่งุ นาใหม่ หมู่5 บา้ นยางคอ้ ม หมู่6 บา้ นโคกแหมะ หมู่7 บา้ นหาดเจด็ หมู่8 บา้ นพรุทงั หมู่9 บา้ นทางหลวง เขตพื้นท่ี ทิศเหนือ ติดกบั ตาบลพิปนู อาเภอพปิ ูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทิศใต้ ติดกบั ตาบลไสหร้า อาเภอฉวาง จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทิศตะวนั ตก ติดกบั ตาบลละอาย อาเภอฉวาง จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทิศตะวนั ตก ติดกบั ตาบลควนกลาง อาเภอพปิ ูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช สาธารณปู โภค จานวนครัวเรือนท่ีมีไฟฟ้าใชใ้ นเขต อบต. 1,050 ครัวเรือน จานวนบา้ นท่ีมีโทรศพั ท์ 50 หลงั คาเรือน การเดินทาง 1.จากกรุงเทพฯ ใชท้ างหลวงหมายเลข 35 (สายธนบุรี-ปากท่อ) แยกเขา้ สู่ทางหลวงหมายเลข 4 หรือจะใช้ ทางหลวง หมายเลข 4 ผา่ นเพชรบรุ ี ประจวบคีรีขนั ธ์จนถึงชุมพร เปล่ียนมาใชเ้ ส้นทางหลวงหมายเลข 41 ผา่ นอาเภอท่งุ สง อาเภอร่อนพบิ ูลย์ จนถึงนครศรีธรรมราช 2.จากกรุงเทพฯ โดยใชท้ างหลวงหมายเลข 4 ผา่ นนครปฐม เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ จนถึงอาเภอทา่ ฉาง จงั หวดั ชุมพร แลว้ จากน้นั ใหแ้ ยกเขา้ สู่สุราษฎร์ธานี โดยใชเ้ สน้ ทางหลวงหมายเลข 401 เลียบชายฝ่ังทะเลไป จนถึงนครศรีธรรมราช จากน้นั ใชท้ างหลวง 4019 เลียบตาบลท่าชา้ งกลางไปทางขวา ถึงตาบลจนั ดีมีทางแยกเล้ียวขวาเขา้ สู่ตาบลยาง คอ้ ม อาเภอพิปูน งานประเพณี - ประเพณีการรดน้าดาหัวผใู้ หญ่ - ประเพณีสาทรเดือนสิบ -ประเพณีชกั พระ สถานทสี่ าคัญ - ธนาคารหมู่บา้ น - ศาลาประชาคมประจาหมู่บา้ น
7.ประวตั ิชีวติ 1.ประวตั ชิ ีวิต นายเสมอภาค วงศส์ วสั ด์ิ (ประธานชุมชนหมู่ที่ 4 คนปัจจุบนั ) ข้อมูลท่วั ไป -ช่ือ นายเสมอภาค วงศส์ วสั ด์ิ (ประธานชุมชนหมทู่ ี่ 5 คนปัจจุบนั ) -เกิดเมื่อวนั ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2520 ปัจจุบนั อายุ 43 ปี -สญั ชาติ ไทย นบั ถือศาสนา พทุ ธ -ท่ีอยอู่ าศยั 265 หม่ทู ี่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช -มีพี่นอ้ งท้งั หมด 4 คน เป็นบุตรคนท่ี 4 สมรสกบั นางเยาวเรศ วงคส์ วสั ด์ิ มีบุตรดว้ ยกนั 2 คน -ไมม่ ีโรคประจาตวั ประวตั ิด้านการศึกษา - จบช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 จากโรงเรียนวดั ยางคอ้ ม อาเภอพปิ ูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช - จบช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนสงั ฆรักษป์ ระชาอทุ ิศ - ปริญญาตรี ราชภฏั นครศรีธรรมราช ประวตั ดิ ้านการทางาน -ดารงตาแหน่งประธานชุมชนหมู่ที่ 5 ต้งั แตป่ ี พ.ศ.2556 -อายกุ ารทางาน 8 ปี
2.ประวัตชิ ีวติ นางรัชฐา ริยาพนั ธ์ (รองประธานชุมชนหมทู่ ่ี 5 คนปัจจุบนั ) ข้อมูลท่ัวไป -ชื่อนางรัชฐา ริยาพนั ธ์ (รองประธานชุมชนหม่ทู ่ี 5 คนปัจจุบนั ) -เกิดเม่ือวนั ที่ 5 กนั ยายน พ.ศ.2514 ปัจจุบนั อายุ 49 ปี -สัญชาติ ไทย นบั ถือศาสนา พุทธ -ท่ีอยอู่ าศยั 184 หมู่ที่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปนู จงั หวดั นครศรีธรรมราช -มีพนี่ อ้ งท้งั หมด 2 คน เป็นบุตรคนที่ 2 สมรสกบั นายสายทิพย์ ริยาพนั ธ์ มีบุตรดว้ ยกนั 2คน -ไมม่ ีโรคประจาตวั ประวตั ิด้านการศึกษา -จบช้นั ประถมศึกษาปี ที่6 จากโรงเรียนวดั ยางคอ้ ม อาเภอพปิ นู จงั หวดั นครศรีธรรมราช -จบช้นั มธั ยม กศน. อาเภอพิปนู จงั หวดั นครศรีธรรมราช ประวัตดิ ้านการทางาน - ดารงตาแหน่งประธานชุมชนหมูท่ ่ี 5 ต้งั แต่ปี พ.ศ.2558 -อายกุ ารทางาน 6 ปี ผลงานดเี ด่น -เป็นอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น ดีเด่น ปี พ.ศ.2550
3. ประวัติชีวติ นางสาวเบญจมาศ วงคพ์ ิพนั ธ์ (ประธานอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น หมทู่ ี่ 5) ข้อมูลทัว่ ไป -นางสาวประภา ดาบา้ นใหม่ ( ประธานอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น หม่ทู ี่ 5 ) -เกิดเมื่อวนั ที่ 22 เมษายน พ.ศ.2515 ปัจจุบนั อายุ 48 ปี -นบั ถือศาสนา พุทธ -ที่อยอู่ าศยั 186 หมู่ที่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพปิ ูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช -มีพี่นอ้ งท้งั หมด 5คน เป็นบุตรคนท่ี 5 มีบุตร 2 คน -ไมม่ ีโรคประจาตวั ประวัติด้านการศึกษา -จบช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 จากโรงเรียนวดั ยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช -จบช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนพปิ ูนสฆั รักษป์ ระชาอุทิศ อาเภอพปิ นู จงั หวดั นครศรีธรรมราช ประวัตดิ ้านการทางาน -เป็นประธานอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น หมู่ที่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช ผลงานดเี ด่น -เป็นอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น ดีเด่น ปี พ.ศ.2560
บทท่ี 3 การวินิจฉัยชุมชน การศึกษาชุมชนหมู่ที่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพปิ ูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช ในคร้ังน้ีเป็นการศึกษา ในรูปแบบ การสารวจ สงั เกต การสมั ภาษณ์ ซ่ึงมีข้นั ตอนในการวนิ ิจฉยั ชุมชนมี ดงั น้ี 3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.2 การวิเคราะหข์ อ้ มลู 3.3 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู 3.4 ปัญหา และการจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 3.5 การวเิ คราะห์สาเหตุของปัญหา 3.1 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.1.1 การรวบรวมขอ้ มลู ปฐมภูมิ เป็นการเกบ็ ขอ้ มลู เพ่มิ เติมจากแหลง่ ทตุ ิยภูมิ ซ่ึงขอ้ มลู ดงั กล่าวมี ความสาคญั มาก เพราะช่วยใหม้ องเห็นสภาพปัญหาในชุมชนชดั เจนข้นึ และขอ้ มูลที่ไดเ้ ป็นขอ้ มลู ปัจจุบนั มาก ท่ีสุด วธิ ีการเกบ็ รวมรวบขอ้ มูลปฐมภูมิประกอบดว้ ย 3.1.1.1 การสังเกต เป็ นการสังเกตสภาพทวั่ ไปของชุมชนและพฤติกรรมต่าง ๆ ของ ประชาชน ในชุมชน โดยท่ีผถู้ ูกสังเกตไมร่ ู้ตวั เพื่อนาขอ้ มูลมาสนบั สนุนในการวเิ คราะห์ปัญหา 3.1.1.2 การสัมภาษณ์ เป็นการสมั ภาษณ์จากแบบสอบถามที่เตรียมคาถามต่าง ๆ ไวพ้ ร้อม แลว้ และจดั พมิ พไ์ วเ้ ป็นแบบฟอร์มเดียวกนั สาหรับใชก้ บั ผถู้ กู สัมภาษณ์ทกุ คน โดยคาถามจะเป็น ท้งั คาถาม แบบปลายปิ ดและแบบปลายเปิ ด เพือ่ เปิ ดโอกาสใหผ้ ถู้ ูกสมั ภาษณ์แสดงความคิดเห็น 3.1.2 การรวบรวมขอ้ มูลทตุ ิยภูมิ เป็นการรวบรวมขอ้ มูลทุติยภูมิ หรือขอ้ มูลท่ีรวบรวมไวท้ ่ีองคก์ ร ในหมู่บา้ น ซ่ึงขอ้ มลู ดงั กลา่ วน้นั ทาใหท้ ราบวา่ ควรหาขอ้ มลู ดา้ นใด เพม่ิ เติม เพื่อนามาใชใ้ น การสนบั สนุน ในกระบวนการวิเคราะหป์ ัญหา การเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 5 ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป ตอนที่ 2 ขอ้ มูลความรู้เก่ียวกบั โรคไขเ้ ลือดออก ตอนที่ 3 ขอ้ มลู ดา้ นสุขภาพในชุมชน ตอนท่ี 4 ขอ้ มลู ความรู้เกี่ยวกบั โรค ตอนท่ี 5 ขอ้ มูลความรู้เก่ียวกบั การดูแลสุขภาพเบ้ืองตน้
3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ าการรวบรวมน้นั จะนามาวเิ คราะห์ตามข้นั ตอนการวิเคราะหข์ อ้ มูล ดงั น้ี 3.2.1 บรรณาธิการขอ้ มลู ดิบเป็นการตรวจสอบความถูกตอ้ งและความสมบรู ณ์ของขอ้ มลู 3.2.2 การแจกแจงความถี่ โดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป แลว้ นามาวิเคราะหข์ อ้ มูลในรูปแบบ ร้อยละ และนาเสนอในรูปแบบก่ึงบทความ ก่ึงตารางเพื่อความสะดวก การเปรียบเทียบขอ้ มลู สาหรับขอ้ มลู เชิง ปริมาณ 3.2.3 การสรุปขอ้ มูลเชิงคุณภาพ นาเสนอในรูปแบบบทความ เพือ่ ความเขา้ ใจ 3.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากการศึกษาชุมชนหมทู่ ่ี 5 ตาบลยางคอ้ อาเภอพิปนู จงั หวดั นครศรีธรรมราช จานวนครัวเรือน โดยประมาณ 10 หลงั คาเรือน ไดร้ วบรวมขอ้ มูลจากรายงานตา่ ง ๆ จากสานกั งานกระทรวงสาธารณสุข จงั หวดั ยะลาและอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ นในชุมชน ซ่ึงจะนาเสนอตามลาดบั ดงั ต่อไปน้ี 3.3.1 ขอ้ มูลทว่ั ไป จากการสารวจแบบสอบถามประชาชนในชุมชน หมูท่ ี่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทาใหท้ ราบถึงบริบทของชุมชน และปัญหาดา้ นสุขภาพ การวิเคราะห์ข้อมูล ตารางท่ี 1 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศ N = 10 เพศ จานวน ร้อยละ เพศชาย 1 10 % เพศหญิง 9 90 % รวม 10 100 % จากตารางท่ี 1 พบวา่ สถานภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงร้อยละ 90 ผตู้ อบ แบบสอบถามเพศชายร้อยละ 10 สรุปไดว้ า่ คนในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง
ตารางท่ี 2 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามในด้านอายุ อายุ จานวน ร้อยละ ต่ากวา่ 20ปี 5 50 % 20ปี ข้ึนไป 5 50 % รวม 10 100 % จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นอายสุ ่วนใหญ่อยใู่ นช่วงอายตุ ่ากวา่ 20 ปี ร้อยละ 50 ช่วงอายุ 20 ปี ข้นึ ไป ร้อยละ 50 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนท่ีทาแบบสอบถามอยใู่ นช่วงอายุ ต่ากวา่ 20 ปี ถึง 20 ปี ข้นึ ไป เท่ากนั ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพสมรส N = 10 สถานภาพสมรส จานวน ร้อยละ 80 % โสด 8 20 % สมรส 2 100 % หยา่ แยกกนั อยู่ รวม 10 จากตารางท่ี 3 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นสถานภาพโสด ร้อยละ 80 รองลงมาอยู่ในสถานภาพ สมรส ร้อยละ 20 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญ่ที่ทาแบบสอบถามมีสถานโสด
ตารางท่ี 4 แสดงค่าร้อยละของระดับการศึกษาสูงสุด N = 10 ระดบั การศึกษาสูงสุด จานวน ร้อยละ ไม่ไดเ้ รียนหนงั สือ 20 % 20 % ประถมศึกษา 40 % 20 % มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) 2 100 % มธั ยมศึกษาตอนปลาย(ม.4-ม.6) 2 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง 4 (ปวส.) หรือ เทียบเทา่ ปริญญาตรี 2 อ่ืนๆ รวม 10 จากตารางท่ี 4 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นการศึกษาประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง(ปวส) ร้อยละ 40 รองลงมาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) ร้อยละ 20 รองลงมาระดบั การศึกษามธั ยมศึกษา ตอนปลาย(ม.4-ม.6) ร้อยละ 20 ระดบั ปริญญาตรี ร้อยละ 20 ตามลาดบั สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วน ใหญ่ท่ีทาแบบสอบถามมีระดบั การศึกษามธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) ตารางท่ี 5 แสดงค่าร้อยละของอาชีพหลกั ของครอบครัว N = 10 อาชีพหลกั ของครอบครัว จานวน ร้อยละ 20 % รับจา้ งทวั่ ไป 2
เกษตรกร 1 10 % ประมง 40 % ขา้ ราชการ/ลกู จา้ งหรือพนกั งานของรัฐ 4 20 % 10 % พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ 100 % คา้ ขาย/ธุรกิจส่วนตวั 2 วา่ งงาน/ไมม่ ีงานทา 1 อ่ืนๆ รวม 10 จากตารางท่ี 5 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นอาชีพหลกั ของครอบครัวอาชีพขา้ ราการ/ลูกจา้ ง หรือพนกั งานของรัฐมากท่ีสุด ร้อยละ 40 รองลงมาอาชีพคา้ ขาย/ธุรกิจส่วนตวั ร้อยละ 20 รองลงมาเกษตร ร้อยละ10 รองลงมาวา่ งงาน/ไมม่ ีงานทา ร้อยละ10 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญ่ที่ทาแบบสอบถาม อาชีพหลกั ของครอบครัวคอื ขา้ ราชการ/ลกู จา้ งหรือพนกั งานของรัฐ ตารางท่ี6แสดงค่าร้อยละของประวตั ิการมโี รคประจาตวั N = 10 ประวตั ิการมีโรคประจาตวั จานวน ร้อยละ 100 % ไมม่ ีโรคประจาตวั 10 100 % มีโรคประจาตวั รวม 10 จากตารางท่ี 6 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นโรคประจาตวั เป็นผทู้ ี่มีไม่มีโรคประจาตวั ร้อยละ 100 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญท่ ่ีทาแบบสอบถามไมม่ ีโรคประจาตวั
ตารางที่7แสดงค่าร้อยละของปัญหาด้านเศรษฐกจิ ปัญหาด้านเศรษฐกจิ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสุด 54 3 21 ประกอบอาชีพไม่เพียงพอ 32 3 10 ประชาชนขาดอาชีพเสริม 2 3 4 20 2 4 5 10 การวา่ งงานของประชาชนในพ้ืนที่ มีเพ่ิมข้นึ 5 5 1 20 ครัวเรือนมีรายไดไ้ ม่เพียงพอในการ 1 3 4 2 10 ใช่จ่ายประจาเดือน ประชาชนกเู้ งินจากหน้ีระบบ ประชาชนมีการตกงาน 35 1 10 ขาดที่ดินทากินเป้นของตนเอง 3 2 4 10 2 21 พชื ผลราคาเกษตรต่าลง 32 2 21 2 21 การเลน่ การพนนั ในชุมชน 32 ขาดความรู้เก่ียวกบั เศรษฐกิจ 25 จากตารางท่ี 7 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มลู สภาพปัญหาของประชาชนดา้ นเศรษฐกิจ สรุปได้ วา่ ปัญหาปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตสูงที่สุดคือ 2.22 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.54
ตารางท่ี8แสดงค่าร้อยละของปัญหาด้านสังคม มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสุด 4 3 21 ปัญหาด้านสังคม 5 2 3 10 3 4 20 ยาเสพติดระบาดในชุมชน 4 4 5 10 คนในชุมชนขาดจิตสานึกในการ 1 พฒั นาตนเอง 5 1 21 0 คนในชุมชนชาดความเชา้ ใจซ่ึงกนั 6 1 20 และกนั 1 3 4 20 ความเหล่ือมล้าทางสงั คมของคน 1 5 1 10 รวยและคนจนในชุมชน 1 2 4 31 วยั รุ่นตง่ั กลุ่มกินน้าท่อม 3 2 2 21 0 5 2 21 ประชาชนทะเลาะวิวาทและไม่ได้ เรียนต่อ 3 0 มีการต้งั บอ่ นชนไก่เถื่อนเพม่ิ ข้นึ ขาดแหลง่ น้าเพื่อทาการเกษตรเพ่อื ประกอบอาชีพ การคมนาคมสัญจรไม่สะดวก ขาดสวสั ดิการในหม่บู า้ น จากตารางท่ี 8 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มูลสภาพปัญหาของประชาชนดา้ นสังคม สรุปไดว้ า่ ปัญหาปัญหาดา้ นสังคม มีคา่ เฉล่ียเลขคณิตสูงที่สุดคอื 2 และมีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.47
ตารางที่9แสดงค่าร้อยละของปัญหาด้านการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการท่องเท่ียว ปัญหาด้านการจดั การ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสุด ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 5 4 3 21 และการท่องเที่ยว มีการทาลายทรัพยากรธรรมชาติใน 1 1 5 31 ชุมชน ขาดความรู้ดา้ นสุขลกั ษณะและมีการ 0 1 5 31 ดูแลความสะอาดของหมู่บา้ น ป่ าเส่ือมโทรมเพิม่ ข้นึ 1 5 3 21 น้าเน่าเสียในคลองแมน่ ้าตาปี 2 3 2 40 ระบบสาธารณรูปโภคของชุมชน เช่น 0 5 1 2 2 ประปาไมเ่ พียงพอ แหลง่ ทอ่ งเท่ียวในชุมชนขาดการ 1 2 2 3 2 ส่งเสริมสนบั สนุน ขาดการมีส่วนร่วมในการบริหาร 3 3 2 3 1 จดั การทรัพยากรธรรมชาติ ประชาชนในชุมชนขาดความรู้ในการ 1 4 3 2 1 บริหารจดั การ ประชาชนในชุมชนขาดจิตสานึกใน 0 3 4 21 การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มไม่เอ้ือต่อ 0 2 5 11 การบริหาร
จากตารางท่ี 9 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มลู สภาพ ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มและการท่องเที่ยว สรุปไดว้ า่ ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มและ การทอ่ งเที่ยว มีค่าเฉล่ียเลขคณิตสูงท่ีสุดคอื 2.12 และมีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.19 ตารางที่10แสดงค่าร้อยละของปัญหาด้านสุขภาพ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสุด 4 3 21 ปัญหาด้านสุขภาพ 5 3 3 11 พฤติกรรมท่ีส่งต่อสุขภาพ เช่นการ 2 รับประทานอาหาร สามารถเตือนผอู้ ่ืนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง 0 3 4 3 0 ตอ่ สุขภาพ เช่น ไม่สูบบุหรี่ในท่ี สาธารณะ ใชช้ อ้ นกลาง ใหใ้ ชผ้ า้ ปิ ด 1 2 5 3 0 ปากเวลาไอจาม เป็นตน้ 0 0 6 3 1 2 0 มีการจดั การโครงการอบรมดา้ นสุขภาพ ใหก้ บั ประชาชนในชุมชน สามารถไปพบแพทย์ หรือบุคลากร สาธารณะสุขตามท่ีตอ้ งการ สามารถควบคุมกากบั สุขภาพตนเอง 1 3 4 เช่น ตรวจสุขภาพประจาปี ชงั่ น้าหนกั ลดอาหารที่ทาลายสุขภาพ ออกกาลงั กายสม่าเสมอ ในรอบ 1 ปี สมาชิกในครอบครัวมีอาการเจบ็ ป่ วยด้วยอาการ/โรค
เจบ็ ป่ วยเลก็ นอ้ ย เช่น ไขห้ วดั ปวด 0 40 2 3 1 กลา้ มเน้ือ/ปวดทอ้ ง/โรคกระเพาะ 4 3 2 1 โรคติดตอ่ เช่น อุจจาระร่วง 00 3 2 0 ไขเ้ ลือดออก วณั โรค ฯลฯ 2 2 โรคไม่ติดต่อ เช่น ความดนั โลหิตสูง 0 1 6 1 0 โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ 1 1 2 0 ปัญหาสุขภาพจิต เช่น วิตกกงั วล/เครียด 0 2 5 ติดยา/สารเสพติด ติดสุราเร้ือรัง 2 0 1 1 อื่นๆ เช่น โรคเกี่ยวกบั ขอ้ และกระดูก 0 0 6 วิธกี ารดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว ( สมาชิกในครอบครัวมกี ารเจ็บป่ วยเลก็ น้อย) ดูแลสุขภาพดว้ ยตนเอง เช่น ซ้ือยากิน 2 1 8 เอง เช็ดตวั ลดไข้ ปรึกษา/ขอคาแนะนาจาก อสม. 10 7 ใชบ้ ริการสุขภาพท่ีสถานพยาบาล เช่น 0 3 5 รพ.สต./คลินิก/โรงพยาบาล วธิ ีการดแู ลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว (สมาชิกในครอบครัวมีการเจ็บป่ วยรุนแรง/หมดสต)ิ ดูแลสุขภาพดว้ ยตนเอง เช่น ซ้ือยากิน 1 3 5 เอง เช็ดตวั ลดไข้ มีความรู้พ้ืนฐานดา้ นการแพทยฉ์ ุกเฉิน 0 5 3 สามารถปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ได้ เช่น การช่วยฟ้ื นคนื ชีพข้นั พ้นื ฐาน(CPR)
ใชบ้ ริการสุขภาพที่สถานพยาบาล เช่น 1 2 5 30 รพ.สต./คลินิก/โรงพยาบาล รีบโทร1669 24 3 13 จากตารางที่ 10 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มลู สภาพปัญหาดา้ นอื่นๆ สรุปไดว้ า่ ปัญหาดา้ นอ่ืนๆ มีคา่ เฉล่ียเลขคณิตสูงท่ีสุดคอื 2.11 และมีคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.2 ตารางที่ 11 แสดงค่าเฉลยี่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของปัญหาในชุมชน ปัญหา x̄ S.D. 0.54 ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ 2.22 0.47 0.19 ปัญหาดา้ นสังคม 2.00 0.20 ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มและ 2.12 0.18 การท่องเที่ยว 2.11 ปัญหาดา้ นสุขภาพ 2.11 ค่าเฉลย่ี รวม จากตารางที่11 สรุปไดว้ า่ ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจมีคา่ เฉล่ียเลขคณิตสูงที่สุดคือ2.22 และมีค่าเบ่ียงเบน มาตรฐานอยทู่ ี่0.54 รองลงมาคอื ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มและการท่องเที่ยว มีคา่ เฉลี่ยเลขคณิตอยทู่ ่ี2.12และมีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี0.19 สรุปการทาประชาคม ชุมชนหมู่ที่ 5ตาบลยางค้อม อาเภอพปิ ูน จงั หวัดนครศรีธรรมราช วนั อาทิตย์ ท่ี 5 เมษายน 2563 เวลา 13.00-15.00 น. ท่ีหอประชุมประจาหมู่ท่ี 5 ตาบลยางค้อม อาภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช ผตู้ อบแบบสอบถาม 10 ชุด สรุปปัญหาของชุมชนหมู่ท่ี 5ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพปิ ูน จงั งหวดั นครศรีธรรมราช ไดด้ งั น้ี 1. ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ มีคา่ เฉลี่ย 2.22 มีคา่ ระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง
2. ปัญหาดา้ นสงั คม มีค่าเฉล่ีย 2 มีคา่ ระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 3. ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มและการท่องเท่ียว มีค่าเฉลี่ย 2.012 มีค่าระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 4. ปัญหาดา้ นอ่ืนๆ มีคา่ เฉลี่ย 2 มีคา่ ระดบั ความพงึ พอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 5. ปัญหาดา้ นสุขภาพ มีคา่ เฉลี่ย 2.11 มีคา่ ระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑน์ อ้ ย นกั ศึกษาไดเ้ ลง็ เห็นว่าปัญหาดา้ นสุขภาพ ท่ีมีค่าระดบั ความพึงพอใจ อย่ใู นเกณฑน์ อ้ ย ท่ีควรไดร้ ับการแกไ้ ข ทางนกั ศึกษาจึงไดม้ าทาประชาคมในวนั และเวลาดงั กลา่ ว การคดิ คะแนนเพ่ือจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหาด้านสุขภาพ เกณฑ์การจัดลาดบั ความสาคัญของปัญหาของ John J. Hanlon A = ขนาดของปัญหา ให้คะแนนระหวา่ ง 0-10 B = ความรุนแรงของปัญหา ใหค้ ะแนนระหวา่ ง 0-20 C = ประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิงาน ใหค้ ะแนนระหวา่ ง 0-10 D = ขอ้ จากดั ใหค้ ะแนน 0-1 สูตร คะแนนรวม Basic priority rating (B.P.R) = ( A+B ) x C x D 3 คะแนนขององค์ประกอบ ปัญหา ขนาดของ ความ ความยาก ความ วิธบี วก วิธีคูณ ปัญหา รุนแรง ง่าย สนใจ 1.ไขเ้ ลือดออก 6 10 3 1 22 180 2.อจุ จาระร่วง 4 6 4 1 17 96 3.ไขห้ วดั ใหญ่ 3 6 3 1 15 54 4.วณั โรค 2 4 6 1 13 48 5.อิสุกอิใส 2 2 5 1 12 20
จากตาราง พบวา่ ปัญหาชุมชนอนั ดบั ท่ี 1 คือ ไขเ้ ลือดออก อนั ดบั ที่ 2 คือ อุจจาระร่วง อนั ดบั ที่ 3 คือ ไขห้ วดั ใหญ่ อนั ดบั ที่ 4 วณั โรค อนั ดบั ท่ี 5 อิสุกอิใส ตามลาดบั ที่มา:จากอ้างองิ ทฤษฏวี ิธขี องภาควิชาบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล จาก วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข บทท4่ี แผนงานโครงการ จากการสารวจชุมชนหมู่ที่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราชไดล้ งสารวจพ้ืนท่ี โดยใชแ้ บบสอบถามขอ้ มลู วิเคราะห์เพอ่ื จดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา เพื่อหาวธิ ีการแกป้ ัญหาใหก้ บั ชุมชน จากการศึกษาพบวา่ ชุมชนมีปัญหาดา้ นสุขภาพของคนในชุมชน เป็นอนั ดบั แรก ดงั น้นั จึงนาปัญหาดา้ นสุขภาพ โรคไขเ้ ลือดออก มาจดั โครงการเพ่ือใหค้ วามรู้กบั คนในชุมชน เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกท่ีถูกวิธีและเหมาะสม ลดค่าดชั นี ลูกน้ายุงลายในชุมชน และเพ่ือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกนั และทาลายแหล่งเพาะพนั ธุ์ลูกน้า ยงุ ลายในครัวเรือน 4.1 แผนงาน / โครงการ จากปัญหาที่พบ พบวา่ เป็นปัญหาท่ีทางชุมชนมีความตอ้ งการใหด้ าเนินการ จากปัญหาดงั กล่าว จึงได้ จดั ทาโครงการเพ่ือแกป้ ัญหาสุขภาพของชุมชน 1 โครงการ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ชื่อกจิ กรรม/โครงการ : กาจดั ยงุ ลายป้องกนั ไขเ้ ลือดออก ช่ือ-สกุล ผู้เสนอกจิ กรรม/โครงการ : นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ สังกดั : หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงสาขาปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นที่ 15 ช้นั ปี ที่ 2
1. หลกั การและเหตุผล/ท่มี า/ปัญหา 1.1 หลกั การและเหตุผล โรคไข้เลือดออกเป็ นปัญหาสาคญั ทางการแพทย์ และการสาธารณสุขในระดับประเทศไทยมา ยาวนาน เน่ืองจากความรุนแรงของโรคแปรผนั ตรงต่ออตั ราตาย อตั ราป่ วยเป็นโรคไขเ้ ลือดออก จึงส่งผลต่อ สุขภาพของผปู้ ่ วย ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตามลาดบั เดิมการระบาดของโรคไขเ้ ลือดออกจะพบบ่อย ในกล่มุ อายรุ ะหวา่ ง 10-14 ปี แตป่ ัจจุบนั มกั พบผปู้ ่ วยไดใ้ นทกุ กลุ่มอายแุ ละพบไดท้ ุกฤดูกาล โดยสถานการณ์ โรคไขเ้ ลือดออกภาคใต้ พบว่าภาคใต้ เขต 11 มีอตั ราป่ วยประมาณ7,753 ราย จานวนผูป้ ่ วยของจงั หวดั นครศรีธรรมราช 3,805 ราย (กรมควบคมุ โรค, 2562 ) จากการสารวจขอ้ มูลครัวเรือน หมู่ที่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช เดือน มีนาคม 2563 มีจานวนครัวเรือนท้งั สิ้น 319 ครัวเรือน ซ่ึงจากการสารวจครัวเรือน พบว่า มีลูกน้ายุงลาย จานวน 15 ครัวเรือน มีภาชนะ1050 ใบ ซ่ึงจากการสารวจภาชนะ พบลูกน้ายงุ ลายในภาชนะ 30 ใบ โดยมีคา่ ร้อยละของบา้ นสารวจที่พบลูกน้ายุงลาย(House Index) คิดเป็ นร้อยละ 9.60 และมีค่าร้อยละของภาชนะ สารวจท่ีพบลูกน้ายุงลาย (Container Index) คิดเป็ นร้อยละ 3.0 ซ่ึงเกินจากเกณฑ์ท่ีกระทรวงสาธารณสุข กาหนดไว้ (HI<10 %, CI = 0 %) จากสถานการณ์และความสาคัญดังกล่าวนางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ นักศึกษาช้ันปี ที่ 2 หลกั สูตร ฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นท่ี 15 เล็งเห็นว่าประชาชนหมู่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช มี ความเส่ียงที่จะเป็นโรคไขเ้ ลือดออก เพราะมีคา่ ร้อยละของบา้ นสารวจท่ีพบลูกน้ายงุ ลาย(House Index) และมี ค่าร้อยละของภาชนะสารวจที่พบลูกน้ายุงลาย (Container Index) เกินจากเกณฑ์ท่ีกระทรวงสาธารณสุข กาหนดไว้ จึงไดจ้ ดั โครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก หมู่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช ข้ึนเพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เรื่องการป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกเพ่ือลด อตั ราการป่ วยดว้ ยโรคไขเ้ ลือดออกและควบคุมค่า CI และ HI ในหมู่บา้ น และเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการป้องกันและทาลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลายในหมู่5 ตาบลยางค้อม อาเภอพิปูน จังหวัด นครศรีธรรมราช 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคมุ ป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกท่ีถูกวธิ ีและเหมาะสม 1.2.2 เพื่อลดค่าดชั นีลกู น้ายงุ ลายในชุมชน (HI, CI)
1.2.3 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและทาลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลายใน ครัวเรือน 1.3 กลุ่มเป้าหมาย อสม. และตวั แทนครัวเรือนหมูท่ ี่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช จานวน 160คน 1.4 เป้าหมาย 1.4.1 เป้าหมายเชิงคุณภาพ - ประชาชนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคมุ ป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกไดใ้ นระดบั ดี 1.4.2 เป้าหมายเชิงปริมาณ - อสม. และตวั แทนครัวเรือนหมทู่ ี่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพปิ ูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช เขา้ ร่วมโครงการร้อยละ 70 - คา่ ดชั นีลกู น้ายงุ ลายลดลงร้อยละ 10 1.5 ระยะเวลาดาเนินการ ต้งั แตว่ นั ที่ 3 เมษายน – 6 เมษายน 2563 1.6 ดัชนีตวั ชี้วดั ความสาเร็จ 1.6.1. ประชนชนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคมุ ป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกที่ถูกวิธีและ เหมาะสม 1.6.2. จานวนคา่ ดชั นีลูกน้ายงุ ลายในชุมชน (HI, CI) ปี 2563 ลดลง 1.6.3. ไดร้ ับความร่วมมือจากประชาชนในการป้องกนั และทาลายแหล่งเพาะพนั ธุ์ลกู น้ายงุ ลายใน ครัวเรือน 1.7 ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นที่ 15 ช้นั ปี ที่ 2 1.8 สถานที่ดาเนินโครงการ หอประชุมหมทู่ ี่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพปิ ูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช 1.9 ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ 1.8.1 อตั ราป่ วยดว้ ยโรคไขเ้ ลือดออกของประชากรในชุมชนลดลง
1.8.2 ทาให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกบั โรคไขเ้ ลือดออกและมีพฤติกรรมที่ ถกู ตอ้ งเหมาะสม 1.8.3 ประชาชนใหค้ วามร่วมมือในการดาเนินการรณรงค์ ป้องกนั และควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก 2. แผนการดาเนินงาน 2.1 วิธีการดาเนนิ งาน กระบวนการ กจิ กรรม เวลาดาเนนิ การ ผู้รับผิดชอบ การวางแผน (P) 1. ประชุมวางแผน กาหนดวัตถุประสงค์ 3 เมษายน 2563 นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ การปฏิบตั ิ งบประมาณ ดัชนีช้ีวดั ความสาเร็จ พฒั นา 4 เมษายน 2563 นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน โครงการฉบบั สมบูรณ์เพือ่ ขออนุมตั ิ การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ที่ 2 2. เ มื่ อ โ ค ร ง ก า ร ไ ด้รั บ อ นุ มัติ แ ล้ว จึ ง มอบหมายหน้าท่ีรับผิดชอบภายในกลุ่ม นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ พร้อมท้งั ประสานผูท้ ่ีเก่ียวขอ้ งประสานงาน ชุมชน จดั เตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ท่ีตอ้ งใช้ 1.จดั โครงการตามกาหนดการ (D) 1.1 วันจัดกจิ กรรม นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน 1.1.1 ทาแบบทดสอบก่อนใหค้ วามรู้ การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ท่ี 2 1.1.2 การบรรยายให้ความรู้เก่ียวกับโรค ไ ข้เ ลื อ ด อ อ ก แ ล ะ วิ ธี ก า ร ป้ อ ง กั น โ ร ค ไขเ้ ลือดออกตามหลกั 5 ป 1 ข 1.1.3 กิจกรรมตอบคาถามเก่ียวกบั ความรู้โรค ไขเ้ ลือดออก 1.1.4 จัดกิจกรรมกลุ่ม ( Focus Group) ระดมสมองภายในกล่มุ 1.1.5 ทาแบบทดสอบหลงั ใหค้ วามรู้ 1.1.6 ทาแบบประเมินความพึงพอใจ 1.2 วนั เดนิ รณรงค์ 1.2.1 ใหค้ วามรู้เร่ืองโรคไขเ้ ลือดออก 1.2.2 เดินรณรงคป์ ้องกนั โรคไขเ้ ลือดออก
กระบวนการ กจิ กรรม เวลาดาเนนิ การ ผู้รับผดิ ชอบ 1.2.3 แจกแผน่ พบั และทรายTemephos การประเมินผล ประเมินผลตามวตั ถปุ ระสงคด์ ว้ ย 5 เมษายน 2563 นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ (C) 1. แบบลงทะเบียนเขา้ ร่วมโครงการ 6 เมษายน 2563 นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน 2. ประเมินความรู้ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ท่ี 2 3. สังเกตการมีส่วนร่วมของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ ก า ร ป รั บ ป รุ ง 1.ประชุมผจู้ ดั ทาโครงการเพ่ือสรุปผลการ นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน หรื อนาผลการ ดาเนินงานและเสนอแนะแนวทางเพอื่ การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ที่ 2 ประ เมิ นไปใช้ ปรับปรุงพฒั นา ประโยชน์ (A) 2.2 ผลการดาเนนิ งาน 2.2.1 การดาเนนิ งานในข้นั ตอนการวางแผน (P) - ประสานงานกบั แกนนา อสม.หมทู่ ี่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปนู จงั หวดั นครศรีธรรมราช นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ช้นั ปี ท่ี 2 ประสานงานกบั แกนนา อสม. หมู่ 5 เพ่ือจดั การทาประชาคมหาปัญหาที่ตอ้ งแกไ้ ขเพอื่ จดั ทาโครงการ -ประชุมวางแผนกาหนดการดาเนินงานและเขียนโครงการเพื่อขออนุมตั ิ นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทยจ์ ดั ประชุมกนั กบั แกนนาอสม.หมู่ 5เพอื่ สอบถามปัญหาต่างๆที่เกิดข้ึนในชุมชน และไดม้ ีการประชุมกนั ภายในกลมุ่ เพื่อวางแผนการดาเนินงาน กาหนดวตั ถุประสงค์ วางแผนการใชง้ บประมาณ หนา้ ท่ีรับผิดชอบ เพื่อให้การดาเนินงานโครงการเป็ นไป อยา่ งมีประสิทธิภาพ -ติดตอ่ ประสานงาน กบั ผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งในชุมชน นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ไดต้ ิดต่อจดั การขอสถานที่ในการ ทากิจกรรม เพื่อใหก้ ารดาเนินงานโครงการเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ - ติดตอ่ ขอใชส้ ถานที่
2.2.2. การดาเนนิ งานในข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ (D) - เสนอร่างโครงการ และปรับแกไ้ ข โครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก หมูท่ ี่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพปิ ูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช - จดั เตรียมเอกสารในการทาโครงการ - จดั เตรียมสถานที่ในการจดั ทาโครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก หมู่ท่ี 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช - ดาเนินงานกิจกรรมโครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก หมู่ที่ 5 ตาบล ยางคอ้ ม อาเภอพิปนู นครศรีธรรมราช ดว้ ยการบรรยายใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั โรคไขเ้ ลือดออก นางสาวกมลพรรณ ริยาพนั ธ์ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ไดเ้ ขา้ รับการอบรมใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั การดูแลตวั เองการรักษา อาการ และการป้องกนั เก่ียวกบั โรคไขเ้ ลือดออก - รณรงคใ์ หค้ วามรู้เร่ืองโรคไขเ้ ลือดออก 2.3 จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ อสม. และตวั แทนครัวเรือน หมทู่ ี่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปนู จงั หวดั นครศรีธรรมราช จานวน 100 คน 2.4 สถานท่ดี าเนนิ การ หอ้ งประชุมประจาหมู่บา้ น หมู่ที่5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปนู จงั หวดั นครศรีธรรมราช 2.5 งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2562 เงินอุดหนุนท่ัวไป เงินอุดหนุนสาหรับการดาเนินงานตาม โครงการพระราชดาริด้านสาธารณสุข(สนับสนุนจาก อสม. หมู่ที่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพิปูนจงั หวดั นครศรีธรรมราช ) จานวน 8,000 บาท (แปดพนั หา้ บาทถว้ น) ใชจ้ ่ายดงั น้ี 1.ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืม จานวน 120 คนๆละ 1 ม้ือๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 2,300 บาท 2.ค่าอาหารกลางวนั จานวน 120 คนๆละ 1 ม้ือๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 3.คา่ สมนาคุณวิทยากร จานวน 2 ชว่ั โมงๆละ 400 บาท เป็นเงิน 800 บาท 4.คา่ ป้ายไวนิลโครงการ เป็นเงิน 250 บาท 5.คา่ วสั ดุที่ใชใ้ นโครงการ เป็นเงิน 320 บาท รวมเป็ นเงิน 6170 บาท (หกหนึง่ ร้อยเจ็ดสิบบาทถ้วน) หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถวั เฉล่ียได้
3.เครื่องมือและวธิ ีการในการประเมนิ ผล หลงั จากท่ีไดด้ าเนินงานตามแผนของโครงการแลว้ น้ัน ซ่ึงในข้นั ตอนสุดทา้ ยจะเป็ นกิจกรรมใน การประเมินผลโครงการ หากพิจารณาถึงความสัมพนั ธ์ระหว่างการวางแผนกบั การประเมินผลโครงการ พบวา่ กิจกรรมท้งั สองมีความสัมพนั ธท์ ี่ตอ้ งดาเนินการควบคกู่ นั โดยการวางแผนโครงการเป็นกิจกรรมของ การกาหนด แนวทางการนาไปปฏิบตั ิเพ่ือการบรรลุวตั ถุประสงค์ ส่วนการประเมินผลโครงการเป็นกิจกรรม สุดทา้ ยในการพิจารณาผลการดาเนินงานเป็นไปตามแผนที่กาหนดหรือไม่ 3.1 เครื่องมือทีใ่ ช้ในการเกบ็ ข้อมูล 3.1.1 แบบทดสอบความรู้ ทศั นคติและพฤติกรรม ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพื่อการประเมินในคร้ังน้ี เป็นแบบสอบถามที่ผรู้ ับผิดชอบ โครงการไดส้ ร้างข้ึนใหส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ และตวั ช้ีวดั ของโครงการ ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พ้นื ฐานส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา อาชีพ ส่วนท่ี 2 ความรู้เร่ืองไขเ้ ลือดออก แบบสอบถามเป็นแบบเลือกคาตอบเพียงคาตอบเดียว คือ ถูก หรือ ผิด จานวน 10 ขอ้ กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั น้ี ตอบถกู ไดค้ ะแนนเท่ากบั 1 คะแนน ตอบผิด ไดค้ ะแนนเท่ากบั 0 คะแนน ส่วนที่ 3 ทศั นคติต่อการป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลือดออกแบบสอบถามเป็นแบบเลือก คาตอบเพียงคาตอบเดียว คือ เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ เห็นดว้ ย ไม่แน่ใจ ไมเ่ ห็นดว้ ย ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ขอ้ คาถามมี ท้งั ดา้ นบวกและดา้ นลบจานวน 10 ขอ้ กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั น้ี คาถามเชิงบวก คาถามเชิงลบ คะแนน ได้ 1 เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ได้ 5 คะแนน ได้ 2 คะแนน คะแนน ได้ 3 คะแนน เห็นดว้ ย ได้ 4 คะแนน ได้ 4 คะแนน คะแนน ได้ 5 คะแนน ไมแ่ น่ใจ ได้ 3 คะแนน ไม่เห็นดว้ ย ได้ 2 ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ได้ 1 ส่วนท่ี 4 พฤติกรรมการปฏิบตั ิตวั ป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกแบบสอบถามเป็นแบบเลือกตอบเพียงคาตอบเดียว คือ ปฏิบตั ิเป็ นประจา 7 วนั /สัปดาห์ ปฏิบตั ิบ่อยคร้ัง 5-6 วนั /สัปดาห์ ปฏิบตั ินานๆ คร้ัง 3-4 วนั /สัปดาห์
ปฏิบตั ิบางคร้ัง 1-2 วนั /สัปดาห์ ไม่ไดป้ ฏิบตั ิเลย ขอ้ คาถามเชิงบวก จานวน 10 ขอ้ กาหนดเกณฑ์การให้ คะแนน ดงั น้ี ปฏิบตั ิเป็นประจา(7 วนั /สปั ดาห์) ได้ 5 คะแนน ปฏิบตั ิบ่อยคร้ัง (5-6 วนั /สปั ดาห)์ ได้ 4 คะแนน ปฏิบตั ินานๆ คร้ัง (3-4 วนั /สปั ดาห์) ได้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิบางคร้ัง (1-2 วนั /สัปดาห)์ ได้ 2 คะแนน ไม่ไดป้ ฏิบตั ิเลย ได้ 1 คะแนน 3.1.2 แบบประเมินความพึงพอใจการเขา้ ร่วมโครงการ โดยเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนความพึงพอใจ ดงั น้ี ระดบั ความพึงพอใจมากที่สุด 5 คะแนน ระดบั ความพึงพอใจมาก 4 คะแนน ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง 3 คะแนน ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ย 2 คะแนน ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ยท่ีสุด 1 คะแนน 3.2 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.4.1 ประเมินโดยการใหท้ าแบบทดสอบก่อนใหค้ วามรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม จดั ทาแบบบนั ทึก การสารวจ เป็นสมุดบนั ทึกการสารวจและกาจดั ลูกน้า โดยมีรายละเอียดการจดบนั ทึก ดงั น้ี 3.4.1.1 ชนิดภาชนะ 3.4.1.2 จานวนภาชนะ 3.4.1.3 ภาชนะที่พบลกู น้า 3.4.1.4 การคานวณค่า CI (Container index) 3.4.2 นาสมดุ บนั ทึกการสารวจและกาจดั ลกู น้าใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมโครงการบนั ทึก ณ วนั ทาโครงการ 3.4.3 ให้ทาแบบทดสอบหลงั ให้ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม จดั เก็บสมุดบนั ทึกการสารวจคืน จากผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ นามาประเมินผล 3.4.4 หลงั จดั ทาโครงการ 7 วนั ทางผูจ้ ดั ทาโครงการลงพ้ืนท่ีที่จดั ทาโครงการอีกคร้ังโดยทาแบบ บนั ทึกการสารวจและกาจดั ลูกน้า นาผลการสารวจคร้ังที่ 1 จากการสารวจของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ กบั คร้ังท่ี 2 จากการลงสารวจเองของทางผจู้ ดั ทาโครงการ นามาเปรียบเทียบและประเมินผล 3.4.5 สรุปผลจากแบบทดสอบก่อนและหลงั ให้ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม จากแบบบนั ทึกการ สารวจและกาจดั ลกู น้าคร้ังที่ 1 และคร้ังที่ 2
3.3 การวิเคราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูลดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี 1. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ส่วนบุคคล ใชส้ ถิติการแจกแจงความถี่ ( Frequency ) และร้อยละ ( Percentage ) 2. การประเมินความพงึ พอใจ การประเมินความรู้ ใชส้ ถิติค่าเฉล่ีย ( Ẋ ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( S.D.) 3.4 เกณฑ์ที่ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล 3.4.1 แบบทดสอบความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ 3.4.1.1 การแปลผลคะแนน สาหรับเกณฑ์การประเมินระดับความรู้เกี่ ยวกับเรื่ อง ไขเ้ ลือดออก แบ่งออกเป็ น 3 ระดบั โดยใช้วิธีการกาหนดเกณฑ์ตามช่วงคะแนนตามหลกั วิธีคิดของบลูม Bloom (1964อา้ งถึงใน สมนึก แกว้ วไิ ล, 2552) ซ่ึงมีระดบั คะแนน ดงั น้ี ระดบั ความรู้ ร้อยละ (ของคะแนนเตม็ ) ระดบั ดี 80.00 ข้ึนไป (8-10ขอ้ ) ระดบั ปานกลาง 50.00 - 79.99 (5-7ขอ้ ) ระดบั ควรปรับปรุง 1.00 - 49.99 (0-5ขอ้ ) 3.4.1.2 การแปลผลคะแนนสาหรับเกณฑ์การประเมินทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรค ไขเ้ ลือดออกโดยใช้วิธีการกาหนดเกณฑ์ตามช่วงคะแนนตามหลกั วิธีคิดของเบสท์ (Best, 1997 อา้ งถึงใน กุลธิดา เหมาเพชร และคณะ, 2555) ดงั น้ี ระดบั ทศั นคติ ค่าระดบั คะแนนเฉลี่ย ระดบั สูง 3.67 - 5.00 ระดบั ปานกลาง 2.34 - 3.66 ระดบั ต่า 1.00 - 2.33 3.4.1.3 การแปลผลคะแนนสาหรับเกณฑ์บ่งช้ีพฤติกรรมการออกกาลงั กาย โดยใช้วิธีการ กาหนดเกณฑต์ ามช่วงคะแนนตามหลกั วิธีคิดของเบสท์ (Best, 1997 อา้ งถึงในกุลธิดา เหมาเพชร และคณะ, 2555) ดงั น้ี ระดบั พฤติกรรม คา่ ระดบั คะแนนเฉลี่ย ระดบั สูง 3.67 - 5.00 ระดบั ปานกลาง 2.34 - 3.66 ระดบั ต่า 1.00 - 2.33
3.4.2 แบบประเมินความพงึ พอใจการเขา้ ร่วมโครงการ โดยเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนความพงึ พอใจ ดงั น้ี คะแนนเฉลี่ยสูงกวา่ 4.50 มีความพึงพอใจในระดบั มากที่สุด คะแนนเฉลี่ยระหวา่ ง 3.50 – 4.49 มีความพงึ พอใจในระดบั มาก คะแนนเฉล่ียระหวา่ ง 2.50 – 3.49 มีความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง คะแนนเฉล่ียระหวา่ ง 1.50 – 2.49 มีความพึงพอใจในระดบั นอ้ ย คะแนนเฉลี่ยต่ากวา่ 1.50 มีความพงึ พอใจในระดบั นอ้ ยท่ีสุด 4.ผลการประเมินการดาเนินโครงการ 4.1 ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบประเมิน ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมี 89 คน จากจานวนท้งั หมด 120 คน คิดเป็นร้อยละ 74.17 ซ่ึงขอ้ มูลทว่ั ไปใน เร่ืองเพศ อายรุ ะดบั การศึกษา อาชีพ สถานภาพ มีขอ้ มูลดงั ตารางตอ่ ไปน้ี ตารางที่ 4.1.1 เพศของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ เพศ จานวน ร้อยละ หญิง 90 90.00 ชาย 10 10.00 รวม 100 100 จากตารางแสดงขอ้ มูลเพศของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบวา่ เพศหญิง มีจานวน 100 คน คดิ เป็นร้อยละ 90และเพศชายมีจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตารางที่ 4.1.2 อายขุ องผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ อายุ จานวน ร้อยละ ต่ากวา่ 20 ปี 4 4.49 20-30 8 8.99 31-40 12 13.48 41-50 30 33.71 51 ปี ข้ึนไป 35 39.33 รวม 89 100 จากตารางแสดงขอ้ มูลอายุของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ พบว่า อายุ 51 ปี ข้ึนไป มีจานวน 35 คน คิดเป็ น ร้อยละ 39.33 อายุ 41-50 ปี มีจานวน 30 คน คดิ เป็นร้อยละ 33.71 อายุ 31-40 ปี มีจานวน 12 คน คดิ เป็นร้อย ละ 13.48 อายุ 20-30 ปี มีจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 8.99 และอายตุ ่ากวา่ 20 ปี มีจานวน 4 คน คดิ เป็นร้อย ละ 4.49 ตามลาดบั
ตารางที่ 4.1.3 ระดบั การศึกษาของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ระดบั การศึกษา จานวน ร้อยละ 20.00 ประถมศึกษา 20 20.00 40.00 มธั ยมศึกษา 20 20.00 อนุปริญญา 40 0 100 ปริญญาตรี 20 อ่ืน ๆ 0 รวม 100 จากตารางแสดงขอ้ มูลระดบั การศึกษาของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ พบว่า ระดบั ประถมศึกษา มีจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00ระดบั มธั ยมศึกษา มีจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ระดบั ปริญญาตรีมี จานวน 20 คน คิดเป็ นร้อยละ 20.00 ระดับอนุปริญญา มีจานวน 40 คน คิดเป็ นร้อยละ 40.00และ ระดบั อ่ืน ๆ มีจานวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 0 ตามลาดบั ตารางท่ี 4.1.4 อาชีพของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ อาชีพ จานวน ร้อยละ นกั เรียน/นกั ศึกษา 5 5.00 ขา้ ราชการ 10 10.00 เกษตรกรรม 50 50.00 คา้ ขาย/ธุรกิจ 20 20.00 รับจา้ งทวั่ ไป/ลูกจา้ ง 5 5.00 ไมไ่ ดป้ ระกอบอาชีพ/ทางานบา้ น 10 10.00 อ่ืน ๆ 0 0 รวม 100 100 จากตารางแสดงขอ้ มูลอาชีพของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ พบว่า อาชีพเกษตรกรรม มีจานวน 48 คน คิด เป็ นร้อยละ 53.93 ไม่ไดป้ ระกอบอาชีพ/ทางานบา้ น มีจานวน 14 คน คิดเป็ นร้อยละ 15.73 อาชีพคา้ ขาย/ ธุรกิจ มีจานวน 11 คน คิดเป็ นร้อยละ 12.36 อาชีพขา้ ราชการ มีจานวน 9 คน คิดเป็ นร้อยละ 10.11 อาชีพ นักเรียน/นกั ศึกษา มีจานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 5.62 อาชีพรับจา้ งทวั่ ไป/ลูกจา้ ง มีจานวน 2 คน คิดเป็ น ร้อยละ 2.25 อาชีพอ่ืน ๆ มีจานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลาดบั
4.2 ผลการทดสอบความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ ตารางที่ 4.2.1 ผลการทดสอบความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ รายการ สูงสุด ตา่ สุด เฉลย่ี ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ก่อนเขา้ อบรม 6 2 0.04 ผลการทดสอบ - - - -- -- หลงั เขา้ อบรม 10 8 0.02 45 50.56 44 49.44 ผลการทดสอบ - - - -- -- 73 82.02 16 17.98 จากตารางท่ี 4.2.1 พบว่า แกนนาอสม.ที่เขา้ ร่วมโครงการมีคะแนนทดสอบความรู้ก่อนเขา้ รับ การบรรยายเกี่ยวกบั โรคไขเ้ ลือดออก ไดค้ ะแนนสูงสุด 6 คะแนน คะแนนต่าสุด 2 คะแนน และมีคะแนน เฉล่ีย 0.04 คะแนน มีจานวนผผู้ า่ นเกณฑจ์ านวน 45 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.56 มีจานวนผไู้ ม่ผา่ นเกณฑจ์ านวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 49.44 และหลงั จากการเขา้ รับการบรรยายเกี่ยวกบั โรคไขเ้ ลือดออก มีผทู้ ดสอบความรู้ ไดค้ ะแนนสูงสุด 10 คะแนน คะแนนต่าสุด 8 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ย 0.02 คะแนน มีจานวนผผู้ า่ นเกณฑ์ จานวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 82.02 ซ่ึงผา่ นตามตวั ช้ีวดั ในหวั ขอ้ จุดประสงคม์ ีผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการร้อยละ 8๐ มีความรู้เก่ียวกบั การควบคุมป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกในระดบั ดี ตารางท่ี 4.2.2 คะแนนการทดสอบประเมนิ ความรู้ก่อนเข้าร่วมโครงการอย่างละเอยี ด คะแนน จานวน ( คน ) ร้อยละ 2 23 23.49 3 16 16.98 4 24 24.97 5 27 27.34 6 10 10.00 รวม 100 100 จากตารางท่ี 4.2.2 พบวา่ คะแนนทดสอบการประเมินความรู้ก่อนเขา้ ร่วมโครงการ มีคะแนน สูงสุด 5 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 27.34 และคะแนนต่าสุด 6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 10.00
ตารางที่ 4.2.3 คะแนนการทดสอบประเมนิ ความรู้หลงั เข้าร่วมโครงการอย่างละเอยี ด คะแนน จานวน ( คน ) ร้อยละ 8 23 23.34 9 34 34.07 10 42 42.60 รวม 100 100 จากตารางที่ 4 พบวา่ คะแนนทดสอบการประเมินความรู้หลงั เขา้ ร่วมโครงการ มีคะแนน สูงสุด 10 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 42.60 และคะแนนต่าสุด 8 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 23.34 4.3 ผลการทาแบบประเมินความพงึ พอใจ ตารางที่ 4.3.1 ค่าเฉลย่ี ของความพงึ พอใจต่อโครงการภาพรวม ลาดบั ท่ี ประเดน็ ระดับความพงึ พอใจ 1. ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการ ข้นั ตอนการจดั กิจกรรม x̄ S.D แปลผล 2. ความพงึ พอใจดา้ นวทิ ยากร 4.673 0.193 มากท่ีสุด 3. ความพึงพอใจดา้ นส่ิงอานวยความสะดวก 4.786 0.173 มากที่สุด 4. ความพงึ พอใจดา้ นคุณภาพการจดั กิจกรรม 4.678 0.219 มากที่สุด 4.743 0.183 มากท่ีสุด จากตารางท่ี 4.3.1 ค่าเฉล่ียของความพึงพอใจต่อโครงการภาพรวม พบว่ามีความพึงพอใจดา้ น คุณภาพการให้บริการมากท่ีสุด(x̄ = 4.833 ) รองลงมา ความพึงพอใจดา้ นเจา้ หนา้ ท่ีผูใ้ ห้บริการ ( x̄ = 4.786 ) และ ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการ / ข้นั ตอนการดาเนินโครง การ ( x̄ = 4.673 ) นอ้ ยที่สุด ตารางที่ 4.3.2 ค่าเฉลย่ี ของผลประเมนิ ความพงึ พอใจของผ้เู ข้าร่วมโครงการ รายละเอยี ด ระดับความพงึ พอใจ x̄ S.D แปลผล 1. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการ ข้ันตอนการจัดกจิ กรรม 1.1. รูปแบบกิจกรรมการจดั กิจกรรม 4.55 0.52 สูง 1.2 ลาดบั ข้นั ตอนในการจดั กิจกรรม 2.23 1.22 สูง
1.3 ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการจดั กิจกรรม 4.41 0.57 สูง ต่า 1.4 เอกสารและสื่อประกอบในการจดั กิจกรรม 2.23 1.22 สูง 1.5 ความเหมาะสมของการจดั กิจกรรม 4.50 0.55 สูง สูง 2. ความพงึ พอใจด้านวิทยากร สูง 2.1 การถา่ ยทอดความรู้ของวิทยากรมีความชดั เจน 4.56 0.59 ต่า 2.2 การตอบขอ้ ซกั ถามในการจดั กิจกรรม 4.45 0.54 สูง สูง 3. ความพงึ พอใจด้านสิ่งอานวยความสะดวก สูง 3.1 สถานที่จดั กิจกรรม 4.43 0.61 3.2 มีการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม 2.11 1.09 4. ความพงึ พอใจด้านคณุ ภาพการจัดกจิ กรรม 4.1 ทา่ นไดร้ ับประโยชน์จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมอยา่ งคุม้ คา่ 4.29 0.72 4.2 ทา่ นสามารถนาความรู้ท่ีไดร้ ับไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น 4.29 0.65 ชีวติ ประจาวนั ผลรวม 3.84 0.34 4.4 สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการ โครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก หมู่ที่ 4 ตาบลเสาธง อาเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวตั ถุประสงค์เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรค ไขเ้ ลือดออกท่ีถูกวธิ ีและเหมาะสม เพ่อื ลดคา่ ดชั นีลกู น้ายงุ ลายในชุมชน (HI,CI) และเพื่อใหป้ ระชาชนมีส่วน ร่วมในการป้องกนั และทาลายแหล่งเพาะพนั ธุล์ กู น้ายงุ ลายในครัวเรือน เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ คอื ประชาชนมี ความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคมุ ป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกไดใ้ นระดบั ดี และเป้าหมายเชิงปริมาณ คือ อสม. และตวั แทนครัวเรือน หมู่ท่ี 4 ตาบลเสาธง อาเภอร่อนพิบูลย์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช เขา้ ร่วมโครงการร้อย ละ 70 และมีค่าดชั นีลูกน้ายุงลาย (HI,CI) ลดลงร้อยละ 10 รับผิดชอบโครงการโดยนางาสาวทิพพาวรรณ วรรณทอง หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ช้นั ปี ท่ี 2 รุ่นที่ 15 โครงการน้ีไดด้ าเนินโครงการที่หมู่ที่ 4 ตาบลเสาธง อาเภอร่อนพิบูลย์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ต้งั แต่วนั ท่ี 6 เมษายน – 9 เมษายน 2563 ข้นั ตอนการดาเนินงานที่สาคญั คือ วนั จดั กิจกรรม ให้ผูเ้ ขา้ ร่วม โครงการทาแบบทดสอบก่อนและหลงั ให้ความรู้ มีการบรรยายให้ความรู้เก่ียวกบั โรคไขเ้ ลือดออกและ
วิธีการป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกตามหลกั 5 ป 1 ข รวมท้งั ทากิจกรรมกลุ่ม ( Focus Group) เพื่อระดมสมอง และทาแบบประเมินความพึงพอใจ ส่วนวนั เดินรณรงค์ มีให้ความรู้เรื่องการป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออก พร้อม ท้งั แจกแผน่ พบั และทราย Temephos จากการสารวจขอ้ มูลครัวเรือนหมู่ท่ี 4 ตาบลเสาธง อาเภอร่อนพิบูลย์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช เดือนเมษายน 2563 มีจานวนครัวเรือนท้งั สิ้น 185 ครัวเรือน ซ่ึงจากการสารวจครัวเรือน พบวา่ มีลกู น้ายงุ ลาย จานวน 10 ครัวเรือน มีภาชนะ 999 ใบ ซ่ึงจากการสารวจภาชนะ พบลกู น้ายงุ ลายในภาชนะ 22 ใบ โดยมีค่า ร้อยละของบา้ นสารวจที่พบลูกน้ายุงลาย(House Index) คิดเป็ นร้อยละ 5.40 และมีค่าร้อยละของภาชนะ สารวจท่ีพบลูกน้ายุงลาย (Container Index) คิดเป็ นร้อยละ 2.2 ซ่ึงเกินจากเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุข กาหนดไว้ (HI<10 %, CI = 0 %) หลงั จากดาเนินโครงการได้ทาการสารวจครัวเรือน เดือนเมษายน 2563 จานวนครัวเรือนท้งั สิ้น 185 ครัวเรือน พบวา่ มีลูกน้ายงุ ลาย จานวน 6 ครัวเรือน มีภาชนะท้งั สิ้น 999 ใบ ซ่ึง จากการสารวจภาชนะ พบลูกน้ายุงลายในภาชนะ 10 ใบ โดยมีค่าร้อยละของบา้ นสารวจที่พบลูกน้ายงุ ลาย (House Index) คิดเป็ นร้อยละ 3.14 และมีค่าร้อยละของภาชนะสารวจท่ีพบลูกน้ายุงลาย (Container Index) คดิ เป็นร้อยละ 1.04 ดงั น้นั จะเห็นไดว้ า่ คา่ ดชั นีลกู น้ายงุ ลาย (HI,CI) มีคา่ ลดลง สรุปจากการทาโครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลือดออกในคร้ังน้ี พบว่าหลงั จากท่ี กลุ่มเป้าหมายท่ีเขา้ ร่วมรับฟังการให้ความรู้เรื่องการป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออก กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความ เขา้ ใจและรู้จกั เลือกใชว้ ิธีการป้องกนั ตนเองและครอบครัวใหห้ ่างไกลจากโรคไขเ้ ลือดออก โดยอาศยั หลกั 5 ป 1 ข และวิธีการป้องกนั ตนเองแบบอ่ืนร่วมดว้ ย ทาให้อตั ราป่ วยและค่าดชั นีลูกน้ายงุ ลายของชาวบา้ นหมู่ 4 ลดลง 4.5 ประโยชน์จากการทาโครงการ - ทาใหเ้ กิดการพฒั นาความคิดและไดฝ้ ึกทกั ษะการวางแผนอยา่ งเป็นระบบและการกาหนด รูปแบบ ต่างๆใหส้ อดคลอ้ งกนั - ทาใหไ้ ดเ้ รียนรู้เก่ียวกบั การทางาน ประสานงาน และติดตอ่ กบั หน่วยงานตา่ ง ๆ พร้อมท้งั มี การ วางแผนการทางานอยา่ งมีระบบ - ไดฝ้ ึกทกั ษะการทางานร่วมกบั คนในชุมชน เพ่อื ใชเ้ ป็นแนวทางแก่การทางานในอนาคต - การรู้จกั รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืนรวมไปถึงการประสานงานหรือการติดต่อกบั หน่วยงานต่างๆ - ทาใหร้ ู้จกั การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ เม่ือเจอเหตุการณ์ท่ีไม่ไดเ้ ป็นไปตามแผนท่ีกาหนดไว้ 4.6 ปัญหาและอุปสรรค - การดาเนินโครงการไม่เป็นไปตามระยะเวลาท่ีกาหนด - ผสู้ ูงอายมุ ีเวลาจากดั ทาใหต้ อ้ งเร่งการจดั กิจกรรม
- นกั ศึกษาผบู้ รรยายใหค้ วามรู้มีความตื่นเตน้ พูดเร็ว จึงทาใหผ้ สู้ ูงอายฟุ ังไมท่ นั - เน่ืองจากกลุ่มเป้าหมายมีจานวนมาก นกั ศึกษาผบู้ รรยายจึงไมส่ ามารถตอบขอ้ ซกั ถามไดอ้ ยา่ ง ทวั่ ถึง 4.7 ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีความพร้อมในการดาเนินโครงการ 2. การทากิจกรรมควรใชร้ ะยะเวลาใหส้ ้ันกระชบั 3. ควรใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมโครงการมีส่วนร่วมมากข้นึ เช่น การถาม-ตอบ เป็นตน้ 4. สื่อที่ใชค้ วรเนน้ ที่รูปภาพมากกวา่ ตวั หนงั สือ รวมถึงควรใชต้ วั อกั ษรท่ีเห็นชดั เจน 5. ปรับการพูดใหช้ า้ ลง 5.แนวทางการพฒั นางาน 5.1 แนวทางการพฒั นางาน จากการจดั ประชุมกลมุ่ เพือ่ พิจารณาหาขอ้ ผิดพลาด ปัญหาและอปุ สรรคของการทางานรวม ไปถึงขอ้ เสนอแนะจากผดู้ ูแลโครงการ ซ่ึงนามาสะทอ้ นถึงขอ้ ผิดพลาดและสาเหตุที่เกิดข้ึน และนามาพฒั นา ในการจดั โครงการหรือกิจกรรมอื่น ๆ ร่วมกบั ชุมชนตอ่ ไป ปัญหา สาเหตุ แนวทางการแก้ไข ก า ร พู ด ต้อ ง มี ค ว า ม มั่น ใ จ เน่ืองจากขาดประสบการณ์ จึงทาให้ การดาเนินงานในคร้ังต่อไปจะ ใบหน้ายิ้มและการใช้น้าเสียง การพูดติดขดั และสถานที่เป็ นลานกวา้ ง มีการวางแผน การเตรียมความ ตอ้ งสม่าเสมอ จึงทาใหเ้ วลาพดู จะไม่ค่อยไดย้ นิ พร้อมก่อนการดาเนินกิจกรรม การดาเนินโครงการท่ีไม่ เวลาในการประสานงาน รวมไปถึง การดาเนินงานคร้ังต่อไป เป็นไปตามระยะเวลาท่ีกาหนด การบรรยายปรับแก้ล่าช้าและการไม่รู้ จะ ต้องมี การวางแผนและ และการประชาสัมพนั ธ์ยงั ไม่ กาหนดการ ทาให้ระยะเวลาดาเนินงาน จดั สรรเวลาในการดาเนินงาน ทว่ั ถึง ไม่สัมพนั ธ์กบั ระยะเวลาท่ีกาหนด และ ให้เป็ นระบบไม่ยืดย้ือเกินไป การประชาสัมพนั ธ์ไมท่ ว่ั ถึง เ พื่ อ ใ ห้ ร ะ ย ะ เ ว ล า เ ห ม า ะ ส ม ตามท่ีกาหนด นาเสนอวชิ าการสื่อที่ใชค้ วร เน่ืองจากขาดประสบการณ์ในการ นา ในการวางแผนจดั ทากิจกรรม เนน้ ที่รูปภาพมากกวา่ ตวั หนงั สือ เสนองานในแหล่งชุมชน จึงมีการเนน้ ไป ค ร้ั ง ต่ อ ไ ป จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร ท่ีวิชาการ คานึงถึง กลุ่มเป้าหมายและ ระดับความรู้ ความสนใจของ
กลุ่มเป้าหมาย ท้งั น้ี สื่อจะตอ้ ง มีเน้ือหาที่กระชับและส่ือ ให้ เขา้ ใจไดง้ า่ ย บทท่ี 5 สรุปผลโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การจดั โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ คร้ังน้ี มีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ให้ นกั ศึกษาสามารถปฏิบตั ิกระบวนการ ศึกษาชุมชนและแกไ้ ขปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวขอ้ งกบั งานดา้ นสุขภาพ ซ่ึง ประกอบดว้ ยการศึกษาชุมชน การเตรียมชุมชน และการวินิจฉยั ชุมชน พร้อมท้งั การแกไ้ ขปัญหาและพฒั นา ชุมชนซ่ึงประกอบไปดว้ ยการ วางแผน การดาเนินการตามแผน และการประเมินผลการดาเนินงาน โดยมี รายละเอียดดงั น้ี 5.1 สรุปผลโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 5.2 อภิปรายผลโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 5.3 ขอ้ เสนอแนะโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 5.1 สรุปผลโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 5.1.1 ข้อมูลทว่ั ไป จากการศึกษาชุมชนหมูท่ ี่ 5 ตาบลยางคอ้ ม อาเภอพปิ ูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช สารวจชุมชนโดยใช้ แบบสอบถาม พบวา่ ประชากรที่ตอบแบบสอบถาม มีช่วงอายตุ ่ากวา่ 20 ปี ร้อยละ 50 ช่วงอายุ 20 ปี ข้ึนไป ร้อยละ 50 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนท่ีทาแบบสอบถามอยใู่ นช่วงอายุ ต่ากวา่ 20 ปี ถึง 20 ปี ข้นึ ไป เท่ากนั เป็นเพศหญิง คดิ เป็นร้อยละ 60 เป็นเพศชาย คดิ เป็นร้อยละ 40 ประชากรส่วนใหญท่ ่ี ตอบแบบสอบถามมีการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) ร้อยละ 50 รองลงมาระดบั การศึกษา มธั ยมศึกษาตอนปลาย(ม.4-ม.6) ร้อยละ 40 ระดบั ปริญญาตรี ร้อยละ 10 5.1.2 ข้อมูลด้านระบบสุขภาพจากการทีป่ ระชากรตอบแบบสอบถาม สรุปไดว้ า่ ปัญหาปัญหาดา้ น สุขภาพ มีคา่ เฉล่ียเลขคณิตสูงท่ีสุดคอื 2.12 และมีคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.81 รองลงมาคือมีดา้ นการ จดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มและการทอ่ งเท่ียวคา่ เฉลี่ยเลขคณิตสูงท่ีสุดคือ 2.06 และมีคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.19
Search