Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการแข่งขันสารานุกรม 2566

สรุปผลการแข่งขันสารานุกรม 2566

Published by library2522, 2023-04-18 05:46:34

Description: สรุปผลการแข่งขันสารานุกรม 2566

Search

Read the Text Version

กิจกรรม การแข่งขันตอบคำถามสารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนฯ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2566 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี โดย นางสาวสุภาภรณ์ หวังเลิศพาณิชย์ ตำแหนง่ บรรณารกั ษป์ ฏิบัติการ สังกัด ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองกาญจนบุรี สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั กาญจนบุรี สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั หน้า ๑

บทท่ี ๑ บทนำ จดุ เน้นการดำเนินงาน กศน.เพื่อประชาชน “กา้ วใหม่ : กา้ วแหง่ คุณภาพ” นโยบายและจุดเน้น การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ขอ้ 2 การยกระดับคณุ ภาพการศึกษาทเ่ี กย่ี วข้อง 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษานำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่าง เตม็ รูปแบบเพื่อสร้างสมรรถนะทส่ี ำคัญจำเป็นสำหรบั ศตวรรษท่ี 21 ให้กบั ผเู้ รียน 2.2 พัฒนาทักษะดิจิทัลสำหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคม ดจิ ิทลั ในโลกยุคใหม่ 2.4 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งใน สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของ สำนกั งาน กศน.ท่หี ลากหลายท้ังในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสอ่ื การเรยี นรู้ท่ีเป็นสื่อท่ีถูกต้อง ตามกฎหมายเข้าถงึ การสืบค้นไดง้ ่ายและสะดวกรวดเรว็ และนำไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้ตอบสนองความสนใจ รายบุคคลของผูเ้ รียน 2.10 สร้างอาสาสมัคร กศน.เพื่อเป็นเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัด การศึกษาตลอดชวี ติ ในชมุ ชน 2.11 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมใน การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการส่งเสรมิ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ สำหรับประชาชน 2.13 ส่งเสริมการนำระบบประกนั คุณภาพการศึกษาภายในมาใช้เป็นแนวทางในการ ยกระดบั คุณภาพให้กับผเู้ รยี น และผรู้ ับบริการของสำนักงาน กศน. ข้อ 5 การพัฒนาบุคลากร 5.1 ส่งเสรมิ สนบั สนุนการดำเนินการตามหลกั เกณฑก์ ารประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (Performance Appraisal : PA) โดยใชร้ ะบบการประเมนิ ตำแหนง่ และวิทยฐานะของข้าราชการครูและบคุลา กรทางการศกึ ษาระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมด้านวิชาการและทักษะการ จดั การเรยี นรู้ การใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมผ่านแพลตฟอรม์ ออนไลน์ต่าง ๆ รวมทัง้ ให้คำปรกึ ษาเส้นทางการ เรียนรู้ การประกอบอาชพี และการดำเนินชีวติ ของผู้เรยี นได้ตามความสนใจและความถนัดของแตล่ ะบุคคล หนา้ ๒

5.3 พัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดให้มีสมรรถนะที่ สอดคล้องและเหมาะสมกับการเปล่ียนแปลงของสงั คมและโลกอนาคต ข้อ 6 การพัฒนาระบบราชการ การบริหารจัดการ และการบรกิ ารภาครฐั 6.2 สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั และนวตั กรรมเปน็ เคร่อื งมือในการบริหารจัดการ อย่างเต็มรูปแบบ รองรับการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม่ และนำไปปรับใช้ได้กับ สถานการณ์ในภาวะปกติและไม่ปกติ อาทิ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยให้ พิจารณาภารกิจและลักษณะงาน รูปแบบ ขั้นตอนวิธีการทำงาน รูปแบบการให้บริการประชาชน และ เทคโนโลยที ี่ใชส้ นับสนุน การปฏิบัตงิ านให้มคี วามเหมาะสม มาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้รู ับบริการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ซ่ึงมปี ระเด็นการพิจารณา จำนวน 1 ประเด็นประกอบด้วย 1.1 ผรู้ บั บริการมีความรู้ หรือทกั ษะ หรือประสบการณ์ สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ อง โครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั ซ่ึงมปี ระเด็นการพจิ ารณา จำนวน 4 ประเดน็ ประกอบดว้ ย 2.1 การกำหนดโครงการ หรอื กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั 2.2 ผจู้ ดั กจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั 2.3 สอื่ หรือนวตั กรรม และสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้อื ตอ่ การจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั 2.4 ผรู้ บั บรกิ ารมีความพึงพอใจต่อการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย 3.1 การบริหารจดั การของสถานศกึ ษาท่เี น้นการมสี ่วนรว่ ม 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 3.3 การพฒั นาครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา 3.4 การใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัลเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการ 3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา 3.6 การปฏบิ ตั ิหน้าท่ีของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาททกี่ ำหนด 3.7 การสง่ เสริม สนับสนุนภาคีเครอื ขา่ ยใหม้ สี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา 3.8 การสง่ เสริม สนบั สนนุ การสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ 3.9 การวจิ ัยเพ่ือการบรหิ ารจดั การศกึ ษาสถานศึกษา หนา้ ๓

บทที่ ๒ เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง นโยบายและจดุ เนนการดำเนินงาน สำนกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย ประจำปงบประมาณ พ.ศ.256๕ ยุทธศาสตรชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ไดกำหนดแผนแมบทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดชวง ชีวิตโดยมีแผนยอยที่เกี่ยวของกับการใชการศึกษาเปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนไดแก แผนยอย ประเด็นการพัฒนาการ เรียนรู และแผนยอยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวติ ที่มุงเนนการสราง สภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพมนุษยการพัฒนาเด็กตั้งแตชวงการตั้งครรภจนถึง ปฐมวัย การพัฒนาชวงวยั เรยี น/วัยรุน การพฒั นาและยกระดับศกั ยภาพวัยแรงาน รวมถึงการสงเสริมศักยภาพ วัยผูสูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู ที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปญญา ของมนษุ ยทีห่ ลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏิรูป ประเทศดานการศึกษา นโยบายรฐั บาลท้งั ในสวนนโยบาย หลักดานการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาศักยภาพ คนตลอดชวงชีวิต และนโยบายเรงดวนเรื่อง การเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาตฉิ บบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดับชาติ วาดวยความมัน่ คงแหงชาติ (พ.ศ. 2562 - 2568) โดยคาดหวังวาการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ประชาชนจะไดรับ การ พัฒนาการเรียนรูใหเปนคนดี คนเกงมีคุณภาพ และมีความพรอมรวมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูความ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน และกระทรวงศึกษาธิการ ไดกำหนดนโยบายและจุดเนน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึ้น เพื่อเปนเข็มมุงของหนวยงานภายใตกระทรวงศึกษาธิการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานใหบรรลุ ตามวัตถุประสงคของแผนตาง ๆ ดังกลาว สำนักงาน กศน. เปนหนวยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต ไดมุงมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนา ประเทศ และนโยบาย และจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คำนึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งในเรื่องหลัก ธรรมาภิบาล หลักการกระจาย อำนาจ การใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุงเน นผลสมั ฤทธ์ิ และปฏิบัตกิ ารดานขอมูล ขาวสารการสรางบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู ตลอดจนการ ใชทรัพยากรดานการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ โดยเนนการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ ประกอบดวย การ จัดการเรียนรูคุณภาพ การสรางสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนำไปสูการสรางโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำ ทางการศึกษา การ ยกระดบั คณุ ภาพและเพิ่มประสทิ ธิภาพการใหบรกิ ารสำหรับทุกกลุมเปาหมาย และสรางความพึงพอใจ ใหกับผู รับริการ โดยไดกำหนดนโยบายและจุดเนนการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ดังนี้ หนา้ ๔

หลักการ กศน. เพื่อประชาชน “กาวใหม : กาวแหงคุณภาพ” นโยบายและจุดเนนการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. ดานการจัดการเรยี นรูคณุ ภาพ 1.1 นอมนำพระบรมราโชบายสูการปฏิบัติรวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดำริทกุ โครงการ และโครงการอนั เก่ียวเน่อื งจากราชวงศ 1.2 ขับเคลอ่ื นการจดั การเรียนรูทสี่ นองตอบยุทธศาสตรชาติและนโยบายของรฐั มนตรวี าการ และ รฐั มนตรชี วยวาการกระทรวงศกึ ษาธิการ 1.3 สงเสรมิ การจดั การศึกษาเพอ่ื เสริมสรางความมัน่ คง การสรางความเขาใจท่ถี กู ตอง ในการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การเรียนรูที่ปลกู ฝงคณุ ธรรมจรยิ ธรรม สรางวนิ ัย จิตสาธารณะ อุดมการณ ความยึดมัน่ ในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรูประวตั ศิ าสตรของชาตแิ ละทองถิ่น และหนาท่ีความเปนพลเมอื ง ท่เี ขมแข็ง รวมถึงการมจี ติ อาสา ผานกิจกรรมตางๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภท ทั้งหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานและหลักสูตรการศึกษาตอเนื่อง ใหสอดรับกับการพฒั นาคน ทิศทางการพัฒนาประเทศ สอดคลอง กับบริบท ที่เปลี่ยนแปลง ความตองการและความหลากหลายของผูเรียน/ผูรับบริการ รวมถึงปรับลดความ หลากหลาย และความซ้ำซอนของหลักสูตร เชน หลักสูตรการศึกษาสำหรับกลุมเปาหมายบนพื้นที่สูง พื้นท่ี พเิ ศษและพ้นื ท่ีชายแดน รวมทง้ั กลุมชาติพันธุ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนนการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือใหผูเรียน สามารถเขาถึงการประเมินผลการเรยี นรูไดตามความตองการ เพ่อื การสรางโอกาสในการเรยี นรู ใหความสำคญั กับ การเทยี บระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ ผูเรียน ใหตอบโจทยการประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช น การประเมินสมรรถภาพผูใหญ ตลอดจนกระจายอำนาจ ไปยังพ้นื ท่ีในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 1.6 สงเสรมิ การใชเทคโนโลยีในการจดั หลกั สูตรการเรียนรูในระบบออนไลนดวยตนเองครบวงจร ตั้งแตการลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับกลุม เปาหมายทส่ี ามารถเรียนรู ไดสะดวก และตอบโจทยความตองการของผเู รียน 1.7 พฒั นา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรขู องสำนักงาน กศน. ตลอดจน พัฒนาสอื่ การเรียนรูทง้ั ในรปู แบบออนไลนและออฟไลน และใหมีคลงั ส่อื การเรียนรทู ีเ่ ปนสอ่ื ที่ถูกตองตาม กฎหมาย งายตอการสืบคนและนำไปใชในการจดั การเรียนรู 1.8 เรงดำเนนิ การเรอื่ ง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทยี บโอนหนวยกติ เพอ่ื การสรางโอกาสในการศึกษา 1.9 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกำกับ ติดตาม ทั้งในระบบ On-Site และ Online รวมทั้ง สงเสริมการวิจัยเพื่อเปนฐานในการพัฒนาการดำเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั หนา้ ๕

2. ดานการสรางสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 สงเสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ท่ีเนนการพฒั นาทกั ษะทจี่ ำเปนสำหรบั แตละชวงวยั และ การจดั การศึกษาและการเรยี นรูทเี่ หมาะสมกบั แตละกลมุ เปาหมายและบรบิ ทพน้ื ที่ 2.2 พฒั นาหลักสตู รอาชพี ระยะสัน้ ท่เี นน New skill Up skill และ Re skill ทสี่ อดคลองกับบริบท พื้นท่ี ความตองการและความหลากหลายของกลุมเปาหมายเชน ผูพกิ ารผสู ูงอายุความตองการของ ตลาดแรงงาน และกลมุ อาชีพใหมทีร่ องรบั DisruptiveTechnology 2.3 ประสานการทำงานรวมกับศนู ยใหคำปรึกษาการจดั ตัง้ ธุรกจิ (ศนู ย Start-up) ของอาชวี ศกึ ษา จดั อบรมหลกั สูตรวชิ าชพี ระยะสนั้ ฐานสมรรถนะ ในทกั ษะอนาคต (Future Skills) ใหกับแรงงานทก่ี ลับภูมลิ ำเนา ในชวง สถานการณCOVID - 19 2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ สนิ คา บริการจากโครงการศูนยฝกอาชีพชมุ ชน ทเ่ี นน “สงเสริมความรู สราง อาชพี เพม่ิ รายได และมคี ณุ ภาพชวี ิตทดี่ ”ี ใหมีคุณภาพมาตรฐาน เปนทย่ี อมรับของตลาด ตอยอดภูมปิ ญญาท องถิน่ เพอื่ สรางมลู คาเพมิ่ พัฒนาสวู ิสาหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพม่ิ ชองทางประชาสัมพนั ธและชองทางการ จำหนาย 2.5 สงเสริมการจัดการศึกษาของผูสูงอายุเพื่อใหเปน Active Ageing WorkforceและมีLife skill ในการดำรงชีวิตท่ีเหมาะกับชวงวัย 2.6 สงเสริมการจัดการเรียนรูเพื่อเตรียมความพรอม/การปฏิบัติตัวสำหรับสตรีตั้งครรภ และจัด กิจกรรมการเรียนรูสำหรับแมและเด็กใหเหมาะสมกับบรบิ ทของชมุ ชนและชวงวัย 2.7 สงเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะที่จำเปนสำหรับกลุมเปาหมายพิเศษ เชน ผูพิการ ออทิ สติก เดก็ เรรอน และผดู อยโอกาสอืน่ ๆ 2.8 สงเสรมิ การพัฒนาทกั ษะดิจิทลั และทักษะดานภาษา ใหกบั บุคลากรและผูเรียน กศน. เพ่ือรองรบั การพัฒนาประเทศรวมทง้ั จดั ทำกรอบสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency)สำหรับครูและบคุ ลากร ทางการศึกษา 2.9 สงเสริมใหความรูดานการเงินและการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสรางวินัย ทางการเงินใหกับบคุ ลากรและผเู รียน กศน. 2.10 สงเสริมการสรางนวัตกรรมของผูเรียน กศน. 2.11 สราง อาสาสมคั ร กศน. เพือ่ เปนเครือขายในการสงเสริม สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาตลอดชวี ิต ในชมุ ชน 2.12 สงเสริมการสรางและพฒั นานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมทัง้ รวบรวมและเผยแพร เพอื่ ให หนวยงาน / สถานศึกษา นำไปใชในการพฒั นากระบวนการเรียนรรู วมกัน 3. ดานองคกร สถานศึกษา และแหลงเรยี นรูคุณภาพ 3.1 ทบทวนบทบาทหนาทข่ี องหนวยงาน สถานศึกษา เชน สถาบนั กศน.ภาค สถาบนั การศึกษา และ พัฒนาตอเน่ืองสิรนิ ธร สถานศกึ ษาขึน้ ตรง ศูนยฝกและพัฒนาราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน เพอื่ เพิ่ม ประสทิ ธภิ าพ ในการขบั เคลอื่ นการจดั การศึกษาตลอดชีวติ ในพนื้ ที่ 3.2 ยกระดบั มาตรฐาน กศน.ตำบล และศนู ยการเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” (ศศช.) ให มคี วามพรอมเพอ่ื เปนพนื้ ท่กี ารเรยี นรตู ลอดชีวติ ทสี่ ำคัญของชมุ ชน 3.3 ปรบั รปู แบบกจิ กรรมในหองสมดุ ประชาชน ทเี่ นน Library Delivery เพ่อื เพ่ิมอตั ราการอาน และ การรหู นังสือของประชาชน หนา้ ๖

3.4 ใหบริการวทิ ยาศาสตรเชิงรกุ Science @homeโดยใชเทคโนโลยีเปนเครือ่ งมอื นำวทิ ยาศาสตร สู ชีวิตประจำวันในทุกครอบครวั 3.5 สงเสรมิ และสนบั สนุนการสรางพ้ืนทก่ี ารเรยี นรูในรปู แบบ Public Learning Space/ Co- learning Spaceเพื่อการสรางนเิ วศการเรยี นรูใหเกดิ ข้ึนสังคม 3.6 สงเสรมิ และสนับสนนุ การดำเนินงานของกลุม กศน.จงั หวดั ใหมีประสทิ ธภิ าพ 4. ดานการบริหารจดั การคณุ ภาพ 4.1 ขับเคลื่อนกฎหมายวาดวยการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจบทบาท โครงสรางของหนวยงานเพ่อื รองรับการเปลี่ยนแปลงตามกฎหมาย 4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และขอบังคับตาง ๆ ใหมีความทันสมัย เอื้อตอการบริหาร จดั การ และการจดั การเรยี นรู เชน การปรับหลักเกณฑคาใชจายในการจัดหลกั สูตรการศึกษาตอเน่ือง 4.3 ปรับปรุงแผนอัตรากำลัง รวมทั้งกำหนดแนวทางที่ชัดเจนในการนำคนเขาสูตำแหนง การยาย โอน และการเล่อื นระดบั 4.4 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตำแหนงใหตรงกับ สายงาน และทกั ษะทีจ่ ำเปนในการจดั การศึกษาและการเรียนรู 4.5 เสริมสรางขวัญและกำลังใจใหกับขาราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบตาง ๆ เชน ประกาศ เกียรตคิ ณุ การมอบโล /วฒุ ิบัตร 4.6 ปรับปรุงระบบการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาใหมีความครอบคลุม เหมาะสม เชน การปรบั คาใชจายในการจดั การศกึ ษาของผูพกิ าร เดก็ ปฐมวัย 4.7 ปรับปรุงระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอยางเปนระบบ เชน ขอมูล การรายงานผลการดำเนินงาน ขอมูลเด็กตกหลนจากการศึกษาในระบบและเด็กออกกลางคัน เด็ก เรรอน ผูพิการ 4.8 สงเสรมิ การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศเปนเคร่อื งมอื ในการบริหารจดั การอยางเต็มรปู แบบ 4.9 สงเสรมิ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสูระบบราชการ 4.0 และการประเมนิ คุณภาพ และความโปรงใสการดำเนนิ งานของภาครัฐ (ITA) 4.10 สงเสริมการมีสวนรวมของภาคีเครือขายทุกภาคสวน เพื่อสรางความพรอมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการสงเสรมิ การเรียนรูตลอดชวี ติ สำหรบั ประชาชน หนา้ ๗

บทที่ ๓ วธิ กี ารดำเนนิ การ ระบบบริหารจัดการห้องสมดุ 1.1 สรปุ ผลการดำเนินงาน และการนำนโยบายและจุดเน้นมาใชใ้ นการกำหนด วสิ ยั ทัศน์ การดำเนินงาน ของหอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบรุ ี 1.2 มีแผนงาน/โครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ได้นำนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปี 2566 จดั ทำแผนการดำเนนิ งาน 1.3 ดำเนินงานตามแผน ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ได้ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ตามปฎิทินการ ปฏิบัติงานโดยมีแผนของ กศน.อำเภอเมืองกาญจนบุรี ร่วมกนั จัดทำแผนการดำเนินงานโครงการต่างๆ รวมไป ระยะการปฏิบัติงานและการใช้งบประมาณตามแผนที่วางไว้ ทำให้สามารถดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย ท่ีกำหนด 1.4 รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการ โครงการของห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี เมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นกิจกรรมแล้ว ห้องสมุด ประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ได้จัดทำรูปเล่มสรุปโครงการ กิจกรรม จัดทำคิวอาร์โค้ดเผยแพร่ในรูปแบบ E-Book 1.5 นำผลการประเมินมาปรับปรุง/พฒั นา การจดั ทำโครงการของหอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี จดั ทำรูปเล่มสรปุ โครงการทกุ ครั้ง เพอื่ รายงานผลให้ผู้บริหารทราบ ตลอดจนได้มกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการ ข้อเสนอแนะต่างๆ เพอ่ื นำมา ปรับปรุง/พฒั นา กจิ กรรม/โครงการต่อไป หน้า ๘

วธิ กี ารดำเนินการ เรื่องการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ของห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี เป็น การดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่ต้องใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และกิจกรรมนั้นต้องดึงดูดความสนใจ โดยมีขั้นตอนการดำเนินการ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ชื่อรปู แบบ ประกอบดว้ ย (1) รูปแบบการส่งเสริมการอา่ นผ่านสื่อออนไลน์ ในการใหบ้ รกิ ารผ่าน โซเชยี ลเนต็ เวิรค์ ให้กับนักศึกษา และประชาชน 2. หลักการของรูปแบบการส่งเสริมการอ่าน ยึดแนวคิดพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการอ่าน ดังกล่าวข้างต้น ประกอบด้วย (๑) การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ มีลักษณะไม่ตายตัว สามารถแก้ไขป รับปรุง เปลย่ี นแปลงได้ตลอดเวลา (๒) สามารถอ่านผ่านอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (๓) กระตนุ้ ความสนใจของผูอ้ ่าน 3. วัตถุประสงค์ของรูปแบบส่งเสริมการอ่าน เพื่อให้ประชาชนทุกช่วงวัย ได้เข้าถึงหนังสือโดยการ จัดซื้อจากเงินงบประมาณ การบริจาค และจัดทำขึ้นเอง เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการอ่านหนังสือของประชาชน ทุกช่วยวยั ให้เปน็ ไปอย่างตอ่ เน่อื ง และเพือ่ ใหป้ ระชาชนมนี ิสัยรกั การอ่าน ๕. สื่อส่งเสริมการอา่ นตามรูปแบบส่งเสริมการอ่านผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การสง่ เสริมให้ผู้ใชบ้ ริการหอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั กาญจนบุรี มีความสามารถในการนำเทคโนโลยี ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยได้จัดโปรแกรมส่งเสริมการอ่าน โดยใช้ โปรแกรม Google form เพอื่ ใช้เปน็ เครอ่ื งมือ ในการเผยแพรก่ ิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น ๖. การวัดและประเมินผล รูปแบบการสง่ เสริมการอา่ น พิจารณาจาก (1) พจิ ารณาจากสรุปผลการจดั โครงการ และกจิ กรรม หน้า ๙

บทที่ ๔ สรปุ ผลการดำเนนิ การ ผลการปฏิบตั ิงาน 1.1 สรุปผลการดำเนนิ งาน และการนำนโยบายและจดุ เน้นมาใชใ้ นการกำหนด วิสยั ทัศน์ การดำเนินงาน ของหอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี 1.2 มแี ผนงาน/โครงการ พฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชน ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ได้นำนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปี 2566 จัดทำแผนการดำเนนิ งาน และโครงการตา่ ง ๆ ของห้องสมุดประชาชนจงั หวดั กาญจนบรุ ี 1.3 ดำเนินงานตามแผน ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ได้ดำเนินงานตามแผนที่วางไวต้ ามปฎิทินการปฏิบัตงิ านโดยมี แผนของ กศน.อำเภอเมืองกาญจนบุรี ร่วมกันจัดทำแผนการดำเนินงานโครงการต่างๆ รวมไประยะการ ปฏบิ ัตงิ านและการใชง้ บประมาณตามแผนทีว่ างไว้ ทำใหส้ ามารถดำเนนิ งานเป็นไปตามเปา้ หมายที่กำหนด 1.4 รายงานผลการจัดกจิ กรรมโครงการ โครงการของห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี เมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นโครงการแล้ว ห้องสมุด ประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ได้จัดทำรูปเล่มสรุปโครงการ กิจกรรม จัดทำคิวอาร์โค้ดเผยแพร่ในรูปแบบ E-Book 1.5 นำผลการประเมินมาปรับปรงุ /พัฒนา การจดั ทำโครงการของหอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั กาญจนบรุ ี จดั ทำรปู เล่มสรปุ โครงการทุกคร้ัง เพอื่ รายงานผลให้ผู้บรหิ ารทราบ ตลอดจนไดม้ กี ารตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการ ขอ้ เสนอแนะตา่ งๆ เพอื่ นำมา ปรับปรงุ /พัฒนา กิจกรรม/โครงการต่อไป หน้า ๑๐

ภาคผนวก หน้า ๑๑

หนา้ ๑๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook