Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้งานกล้อง Canon EOS RP

คู่มือการใช้งานกล้อง Canon EOS RP

Published by jay25442006, 2021-09-13 05:30:26

Description: คู่มือการใช้งานกล้อง Canon EOS RP
รายวิชา 468 205
Operation and Maintenance of Audio-Visual Equipment
การใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีการศึกษา

Search

Read the Text Version

วิชาเอกเทคโนโลยีการศึ กษา คณะศึ กษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิ ลปากร คู่ มื อ ก า ร ใ ช้ ง า น CANON EOS RP สำ ห รั บ ผู้ เ ริ่ ม ต้ น ถ่ า ย ภ า พ 630610048 นาย จารุจรัลไชย ฤทธิจันทร์

สารบัญ บทนำ ข้อควรระวังในการใช้งาน.........................................................................4 รายชื่อส่วนประกอบของกล้อง................................................................5 ก า ร ถ่ า ย ภ า พ ขั้ น พื้ น ฐ า น การถ่ายภาพแบบอัตโนมัติ........................................................................9 โ ห ม ด ฉ า ก พิ เ ศ ษ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1 0 การถ่ายภาพบุคคล....................................................................................11 การถ่ายภาพกลุ่มบุคคล...........................................................................11 การถ่ายภาพวิว..........................................................................................12 การถ่ายภาพวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่..........................................................12 การถ่ายภาพเด็กๆ.....................................................................................13 ถ่ายแพน......................................................................................................13 การถ่ายภาพระยะใกล้...............................................................................14 การถ่ายภาพอาหาร...................................................................................14 การถ่ายภาพบุคคลในเวลากลางคืน (ด้วยขาตั้งกล้อง)...................15 การถ่ายภาพฉากกลางคืน (มือถือกล้อง)............................................15 การถ่ายภาพฉากย้อนแสง......................................................................16 การถ่ายภาพฉากที่ห้ามใช้เสียง..............................................................16 การถ่ายภาพสร้างสรรค์ โหมด P.......................................................................................................18 โหมด Tv....................................................................................................19 โหมด Av...................................................................................................20 โหมด M......................................................................................................21 โหมด Fv....................................................................................................22 โหมด B......................................................................................................23

บทนำ Canon EOS RP กล้องมิเรอร์เลสฟู ลเฟรม ได้รับ การออกแบบด้วยนวัตกรรมสุดทันสมัย อัดแน่นด้วย ประสิทธิภาพสูงสุดในแบบฉบับของ EOS R System ถูกออกแบบมาให้สะดวกต่อการพกพาได้ทุกวัน ด้วยน้ำ หนักที่เบา ความละเอียด 26.2MP Full-Frame CMOS Sensor โฟกัสเร็ว 0.05 วินาที เลือกจุดโฟกัสได้ 4,779 จุด ถ่ายภาพในที่แสงน้อยได้ถึง EV -5 ระบบออโต้โฟกัสตรวจจับดวงตา Eye Detection AF (One-Shot & Servo AF) ฟังก์ชั่นถ่ายภาพคร่อมโฟกัส (Focus Bracketing) ระบบป้องกันภาพสั่นไหวแบบ Dual Sensing IS และ Combination IS รองรับฟังก์ชั่น Wifi / Bluetooth 3

ข้อควรระวังในการใช้งาน กล้องเป็นอุปกรณ์ที่มีความละเอียด อย่าทำตกหรือทำให้กล้องได้รับการกระ ทบกระเทือน กล้องนี้ไม่มีระบบกันน้ำและไม่สามารถใช้งานใต้น้ำได้ เพื่อทำให้การป้องกันฝุ่นและของเหลวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ให้ ปิดฝาปิดช่องเชื่อมต่ออุปกรณ์ ฝาปิดช่องใส่แบตเตอรี่ ฝาครอบช่องใส่ การ์ด และฝาปิดอื่นๆ ทั้งหมดให้แน่น กล้องนี้ถูกออกแบบมาให้สามารถป้องกันฝุ่นและของเหลวได้ โดยจะ ป้องกันไม่ให้ทราย ฝุ่น สิ่งสกปรก หรือน้ำที่หกลงบนกล้องหลุดเข้าไป ภายในตัวกล้อง แต่ไม่สามารถป้องกันสงสกปรก ฝุ่น น้ำ หรือเกลือไม่ให้ หลุดเข้าไปภายในตัวกล้องได้ทั้งหมด ดังนั้นจึงควรระวังไม่ให้สิ่งสกปรก ฝุ่น น้ำ หรือเกลือติดกับกล้องเท่าที่เป็นไปได้ หากกล้องมีน้ำติดอยู่ ให้เช็ดด้วยผ้าที่แห้งและสะอาด หากกล้องมีสิ่ง สกปรก ฝุ่นหรือเกลือติดอยู่ ให้เช็ดด้วยผ้าสะอาดชุบน้ำบิดหมาดๆ การใช้กล้องในที่ที่เต็มไปด้วยสิ่งสกปรกหรือฝุ่นอาจทำให้กล้องทำงานผิด ปกติ ขอแนะนำให้ทำความสะอาดตัวกล้องหลังการใช้งาน การที่มีสิ่งสกปรก ฝุ่น น้ำหรือเกลือติดค้างอยู่บนกล้องอาจทำให้กล้องทำงานผิดปกติ หากคุณทำกล้องตกน้ำโดยไม่ตั้งใจหรือกังวลว่าอาจมีความชื้น(น้ำ) สิ่ง สกปรก ฝุ่นหรือเกลือหลุดเข้าไปภายในตัวกล้อง ให้รีบขอคำปรึกษาจาก ศูนย์บริการแคนนอนใกล้บ้านทันที ห้ามวางกล้องทิ้งไว้ใกล้กับสิ่งที่มีสนามแม่เหล็กแรงสูง เช่น แม่เหล็ก หรือ มอเตอร์ไฟฟ้า นอกจากนี้หลีกเลี่ยงการใช้งานและวางกล้องใกล้กับสิ่งที่ ปล่อยคลื่นวิทยุความถี่สูง เช่น เสาอากาศขนาดใหญ่ บริเวณที่มีสนามแม่ เหล็กไฟฟ้าแรงสูง อาจส่งผลให้เกิดการทำงานผิดปกติ อย่าวางกล้องไว้ในที่ซึ่งมีความร้อนสูง เช่น ภายในรถที่จอดไว้กลางแดด อุณหภูมิที่สูงเกินไปอาจทำให้กล้องทำงานผิดปกติ กล้องประกอบด้วยวงจรไฟฟ้าที่มีความละเอียดซับซัอน อย่าพยายามแยก ชิ้นส่วนของกล้องด้วยตัวเอง การบำรุงรักษากล้องและตัวเลนส์ 4

รายชื่อส่วนประกอบของกล้อง (1) จุดวัดระนาบโฟกัส (10) จุดสัมผัสในการซิงค์แฟลช (2) ปุ่มหมุนหลัก (11) ช่องเสียบแฟลชภายนอก (3) ปุ่มหลายหน้าที่ (12) จุดชี้เมาท์ใส่เลนส์ RF (4) ปุ่มชัตเตอร์ (13) สวิตซ์เปิด/ปิดกล้อง (5) ปุ่มถ่ายภาพเคลื่อนไหว (14) หูร้อยสายคล้องคอ (6) หลอดไฟแสงไฟช่วยปรับโฟกัส/ (15) ไมโครโฟน (16) เซนเซอร์ภาพ ตั้งเวลา/รีโมทคอนโทรล (17) ปุ่มปลดล็อคเลนส์ (7) กริป (ช่องแบตเตอรี่) (18) สลักล็อคเลนส์ (8) จุดสัมผัส (19) ฝากปิดกล้อง (9) เมาท์ใส่เลนส์ 5

รายชื่อส่วนประกอบของกล้อง (1) ยางครอบช่องมองภาพ (11) ไฟแสดงสถานะ (2) เลนส์ตาของช่องมองภาพ (12) ปุ่มควบคุมทันใจ/ปุ่ม (3) ปุ่มปรับแก้สายตา ปรับการตั้งค่า (4) ฝาปิดช่องเชื่อมต่ออุปกรณ์ (13) ปุ่มเมนู (5) ปุ่มโหมด (14) ช่องเชื่อมต่อ (6) ปุ่มหมุนควบคุมทันใจ รีโมทคอนโทรล (7) สวิตซ์ล็อคหลายหน้าที่ (15) ช่องส่งออก (8) ปุ่มเริ่มการโฟกัสอัตโนมัติ สัญญาณ HDMI mini (9) เซนเซอร์ช่องมองภาพ (16) ช่องต่อเข้าไมโครโฟน (10) ปุ่มแสดงข้อมูล ภายนอก (17) ช่องสัญญาณดิจิตอล (18) ช่องเสียบหูฟัง 6

รายชื่อส่วนประกอบของกล้อง (1) รูปรับตำแหน่งอุปกรณ์เสริม (10) หูร้อยสายคล้อง (2) หน้าจอ (3) ช่องสกรูยึดขาตั้งกล้อง (11) ช่องเสียบการ์ด (4) (12) ช่องใส่แบตเตอรี่ ปุ่มเลื่อน (5) หมายเลขผลิตภัณฑ์ (13) ที่ล็อคฝาครอบช่องเสียบ (6) รูปรับตำแหน่งอุปกรณ์เสริม (7) ลำโพง การ์ด/ช่องใส่แบตเตอรี่ (8) ปุ่มล็อค AE/ล็อคแฟลช FE (9) ปุ่มเลือกจุด AF/ (14) ฝาครอบช่องเสียบการ์ด/ แสดงภาพแบบดัชนี/ขยาย/ลด ช่องใส่แบตเตอรี่ ขนาด (15) ปุ่มลบภาพ (16) ปุ่มดูภาพ 7

การถ่ายภาพขั้นพื้นฐาน

การถ่ายภาพแบบอัตโนมัติ..... เป็ นโหมดถ่ายภาพแบบอัตโนมัติ กล้องจะวิเคราะห์ลักษณะของ ฉากที่ถ่าย และปรับการตั้งค่าให้เหมาะสมที่สุดโดยอัตโนมัติ นอกจากนี้ยังสามารถปรับโฟกัสโดยอัตโนมัติสำหรับวัตถุที่หยุด นิ่งหรือที่กำลังเคลื่อนไหว 1) ปรับปุ่มโหมดไปที่ 2) กดปุ่ม <SET> -อ่านข้อความแล้วเลือก [ตกลง] 3) เล็งกล้องไปที่สิ่งที่จะถ่าย(วัตถุ) -กรอบอาจจะแสดงรอบวัตถุ ภาย ใต้บางสภาวะการถ่ายภาพ -เมื่อจุด AF แสดงบนหน้าจอ ให้ เล็งไปยังวัตถุ 9

โหมดฉากพิเศษ...... กล้องจะเลือกการตั้งค่าที่เหมาะสมให้โดยอัตโนมัติ เมื่อคุณเลือกโหมดถ่ายภาพสำหรับวัตถุหรือฉากของ คุณ 1) ปรับปุ่มโหมดไปที่ 2) กดปุ่ม <SET> 3) เลือกโหมดถ่ายภาพ -กดปุ่ม เ พื่ อ เ ลื อ ก โ ห ม ด ถ่ายภาพจากนั้นกดปุ่ม <SET> -คุณยังสามารถเลือกโหมดถ่าย ภาพโดยการหมุนปุ่ม หรือ ได้เช่นกัน โหมดถ่ายภาพที่เลือกได้ในโหมด SCN บุคคล ระยะใกล้ ภาพกลุ่มบุคคล อาหาร วิว บุคคลกลางคืน กีฬา ถ่ายกลางคืนแบบมือถือ เด็ก ควบคุมแสงพื้นหลัง HDR ถ่ายแพน โหมดเงียบ 10

การถ่ายภาพบุคคล..... โหมดถ่ายภาพบุคคล : จะเบลอฉากหลังเพื่อทำให้ตัวบุคคลโดดเด่น ขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยปรับโทนสีผิวและให้ดูนุ่มนวล การถ่ายภาพกลุ่มบุคคล..... โหมดถ่ายภาพกลุ่มบุคคล : เพื่อถ่ายภาพหมู่ คุณสามารถถ่ายภาพ ซึ่งผู้ที่อยู่ด้านหน้าและผู้ที่อยู่ด้านหลังล้วนอยู่ในโฟกัส 11

การถ่ายภาพวิว..... โหมดถ่ายภาพวิว : สำหรับทัศนียภาพในที่กว้าง หรือเมื่อต้องการให้ ทุกส่วนของภาพอยู่ในโฟกัสตั้งแต่ระยะใกล้จนถึงไกล ภาพที่ได้จะมี ชีวิตชีวาและคมชัดมาก และส่วนที่เป็ นสีฟ้าหรือสีเขียวจะดูสดขึ้น การถ่ายภาพวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่... โหมดถ่ายภาพกีฬา : เพื่อถ่ายภาพวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ เช่น บุคคลที่กำลังวิ่ง หรือยานพาหนะที่กำลังเคลื่อนที่ 12

การถ่ายภาพเด็กๆ..... โหมดถ่ายภาพเด็ก : โทนสีผิวจะดูมีสุขภาพดี การถ่ายแพน..... หากคุณต้องการถ่ายภาพให้เหมือนมีการเคลื่อนไหวด้วยความเร็ว และด้วยการใช้เอฟเฟคเบลอจากการเคลื่อนไหวที่ฉากหลังของวัตถุ ให้ใช้ โหมดแพน 13

การถ่ายภาพระยะใกล้..... โหมดถ่ายภาพระยะใกล้ : สำหรับการถ่ายดอกไม้หรือสิ่งของขนาด เล็กๆ ในระยะใกล้ และเพื่อทำให้สิ่งเล็กๆ ในภาพที่ถ่ายมีขนาดใหญ่ ขึ้น ให้ใช้เลนส์มาโคร การถ่ายภาพอาหาร..... โหมดถ่ายภาพอาหาร : ภาพถ่ายจะดูสว่างและน่าทานทั้งนี้ยังจะขึ้น อยู่กับแหละกำเนิดแสง เช่น โทนสีแดงจะลดลงในภาพที่ถ่ายภาพได้ หลอดไฟทังสเตน เป็ นต้น 14

การถ่ายภาพบุคคลในเวลากลางคืน (ด้วยขาตั้งกล้อง).... โหมดถ่ายภาพบุคคลกลางคืน : การถ่ายภาพบุคคลในเวลากลาง คืนและได้ฉากหลังในบรรยากาศกลางคืนที่ดูเป็ นธรรมชาติ แนะนำ ให้ใช้ขาตั้งกล้อง การถ่ายภาพฉากกลางคืน(มือถือกล้อง)..... โหมดถ่ายภาพกลางคืนแบบมือถือ : โหมดนี้จะช่วยให้คุณถ่ายภาพ กลางคืนได้แม้ขณะใช้มือถือกล้อง จะมีการถ่ายภาพตามลำดับต่อ เนื่องสี่ภาพสำหรับภาพถ่ายแต่ละภาพ และจะบันทึกภาพผลลัพธ์หนึ่ง ภาพซึ่งลดการสั่นของกล้องแล้ว 15

การถ่ายภาพฉากย้อนแสง....... โหมดถ่ายภาพควบคุมแสงพื้นหลัง HDR : เมื่อคุณถ่ายภาพหนึ่ง ครั้งในโหมดนี้ กล้องจะถ่ายภาพตามลำดับต่อเนื่องสามภาพด้วยค่า แสงที่แตกต่างกัน โดยภาพหนึ่งภาพที่ได้จะมีช่วงโทนสีกว้างและ ช่วยลดทอนเงาที่เกิดจากแสงด้านหลัง *HDR หมายถึง High Dyname Rannge (ช่วงรับแสงสูงพิเศษ) การถ่ายภาพฉากที่ห้ามใช้เสียง.... โหมดถ่ายภาพเงียบ : เมื่อต้องการความเงียบ คุณสามารถถ่าย ภาพโดยไม่มีเสียงเตือน เช่น เสียงลั่นชัตเตอร์ 16

การถ่ายภาพสร้างสรรค์

โหมด P กล้องจะตั้งค่าความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสงให้เหมาะกับ ความสว่างของวัตถุโดยอัตโนมัติ ซึ่งเรียกระบบนี้ว่าโปรแกรม ระบบแสงอัตโนมัติ <P> หมายถึง Program (โปรแกรม) AE หมายถึง Auto Exposure (ระดับแสง) 1) ปรับปุ่มโหมดไปที่ <P> 2) โฟกัสไปยังวัตถุ -เล็งจุดโฟกัสอัตโนมัติไปยังวัตถุ และกดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง -เมื่อวัตถุอยู่ในโฟกัส จุดโฟกัส อัตโนมัติจะเป็ นสีเขียว(เมื่อใช้ AF ครั้ง เดียว) -ความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสง จะถูกตั้งค่าโดยอัตโนมัติ 3) ตรวจสอบการแสดงค่า -หากการแสดงค่ารูรับแสงไม่กระ พริบ จะได้การเปิดรับแสงมาตรฐาน 4) ถ่ายภาพ -จัดองค์ประกอบภาพ และกดปุ่ม ชัตเตอร์ลงจนสุด 18

โหมด Tv ในโหมดนี้ คุณตั้งค่าความเร็วชัตเตอร์ และกล้องจะตั้งค่ารูรับแสงโดย อั ต โ น มั ติ เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ก า ร เ ปิ ด รั บ แ ส ง ม า ต ร ฐ า น ที่ เ ห ม า ะ กั บ ค ว า ม ส ว่ า ง ข อ ง วั ต ถุ ความเร็วชัตเตอร์ที่เร็วขึ้นสามารถหยุดการเคลื่อนไหวของวัตถุที่กำลัง เคลื่อนที่ ความเร็วชัตเตอร์ที่ช้าลงสามารถสร้างเอฟเฟคเบลอ ทำให้ได้การ เคลื่อนไหวที่ดูน่าประทับใจ <Tv> หมายถึง Time value (ค่าเวลา) เบลอจากการเคลื่อนไหว เบลอจากการเคลื่อนไหว (ความเร็วต่ำ: 1/30 วินาที) (ความเร็วต่ำ: 1/30 วินาที) 1) ปรับปุ่มโหมดไปที่ <Tv> 2) ตั้งค่าความเร็วชัตเตอร์ที่ต้องการ -หมุนปุ่ม เ พื่ อ ตั้ ง ค่ า 3) โฟกัสไปยังวัตถุ -กดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง -ค่ารูรับแสงจะถูกปรับโดยอัตโนมัติ 4) ตรวจสอบการแสดงผล และถ่ายภาพ -หากการแสดงค่ารูรับแสงไม่กะพริบ จะเป็ นการใช้การเปิดรับแสง มาตรฐาน 19

โหมด Av ในโหมดนี้ คุณตั้งค่ารูรับแสงที่ต้องการ และกล้องจะตั้งค่าความเร็วชัตเตอร์ โดยอัตโนมัติ เพื่อให้ได้การเปิดรับแสงมาตรฐานที่เหมาะกับความสว่างของ วัตถุ ค่า f ที่สูงขึ้น (รูรับแสงแคบลง) จะทำให้ฉากหน้าและฉากหลังอยู่ ภายในการโฟกัสที่รับได้มากขึ้น ในทางกลับกัน ค่า f ที่ต่ำลง (รูรับแสงกว้าง ขึ้น) จะทำให้ฉากหน้าและฉากหลังอยู่ภายในการโฟกัสที่รับได้น้อยลง <Av> หมายถึง Aperture value (ค่ารูรับแสง) ฉากหลังเบลอ ฉากหน้าและหลังคมชัด (ค่ารูรับแสงต่ำ: f/5.6) (ค่ารูรับแสงสูงต่ำ: f/32) 1) ปรับปุ่มโหมดไปที่ <Av> 2) ตั้งค่ารูรับแสงที่ต้องการ -หมุนปุ่ม เ พื่ อ ตั้ ง ค่ า 3) โฟกัสไปยังวัตถุ -กดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง -ค่ารูรับแสงจะถูกปรับโดยอัตโนมัติ 4) ตรวจสอบการแสดงผล และถ่ายภาพ -หากการแสดงค่าความเร็วชัตเตอร์ไม่ กะพริบจะเป็ นการใช้การเปิดรับแสง มาตรฐาน 20

โหมด M ในโหมดนี้ คุณตั้งค่าทั้งความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสงได้ ตามต้องการ ในการตรวจสอบการเปิดรับแสง ให้ดูตัวแสดง ระดับค่าแสงหรือใช้เครื่องวัดแสงที่มีจำหน่ายทั่วไป <M> หมายถึง Manual (แมนนวล) 1) ปรับปุ่มโหมดไปที่ <M> 2) ตั้งค่าความไวแสง ISO -เมื่อใช้ ISO อัตโนมัติ คุณสามารถ ตั้งค่าการชดเชยแสง 3) ตั้งค่าความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสง -ในการตั้งค่าความเร็วชัตเตอร์ ให้หมุนปุ่ม ในการตั้งค่ารูรับแสง ให้หมุนปุ่ม 4) โฟกัสไปยังวัตถุ -กดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง - ก า ร ตั้ ง ค่ า ก า ร เ ปิ ด รั บ แ ส ง จ ะ แ ส ด ง ขึ้ น ม า - ต ร ว จ ส อ บ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ร ะ ดั บ ก า ร เ ปิ ด รั บ แสง เพื่อดูว่าระดับการเปิดรับ แ ส ง ปั จ จุ บั น ห่ า ง จ า ก ร ะ ดั บ ก า ร เ ปิ ด รั บ แสงมาตรฐานเท่าใด (1) จุดบ่งชี้ค่าแสงมาตรฐาน (2) สัญลักษณ์ระดับการเปิดรับแสง 5) ปรับการเปิดรับแสงและถ่ายภาพ -ตรวจสอบตัวแสดงระดับค่าแสง และตั้งค่าความเร็วชัตเตอร์และค่า รู้รับแสงตามต้องการ 21

โหมด Fv ในโหมดนี้ คุณตั้งค่าทั้งความเร็วชัตเตอร์ ค่ารูรับแสง และความไว แสง ISO ได้ด้วยตนเองหรือโดยอัตโนมัติ และรวมการตั้งค่าเหล่านี้ เข้ากับตัวเลือกการชดเชยแสงของคุณ การถ่ายภาพในโหมด <Fv> ด้วยการควบคุมผ่านพารามิเตอร์เหล่านี้เท่ากับการถ่ายภาพในโหมด <P>, <Tv>, <Av> หรือ <M> <Fv> หมายถึง Flexible value (ค่าความยืดหยุ่น) 1) ปรับปุ่มโหมดไปที่ <Fv> 2) ตั้งค่าความเร็วชัตเตอร์ ค่ารูรับแสง และความไวแสง ISO -หมุนปุ่ม เ พื่ อ เ ลื อ ก ร า ย ก า ร ตั้ ง ค่ า ไอคอน [ ] แสดงขึ้นที่ด้านซ้ายของ รายการที่เลือก -หมุนปุ่ม เ พื่ อ ตั้ ง ค่ า ตั ว เ ลื อ ก -ในการรีเซ็ตการตั้งค่าเป็ น [AUTO] ให้ กดปุ่ม หรือ 3) ตั้งค่าปริมาณการชดเชยแสดง -หมุนปุ่ม แล้วเลือกตัวแสดงระดับ ค่าแสง ไอคอน [ ] จะปรากฏขึ้น ทางด้านซ้ายของตัวแสดงระดับค่าแสง -หมุนปุ่ม เ พื่ อ ตั้ ง ค่ า ตั ว เ ลื อ ก -ในการรีเซ็ตการตั้งค่าเป็ น [ ] ให้กด ปุ่ม หรือ 22

โหมด B ในโหมดนี้ ชัตเตอร์จะเปิดอยู่ตลอดระยะเวลาที่คุณกดปุ่มชัตเตอร์ลงจน สุด และจะปิดเมื่อคุณปล่อยปุ่มชัตเตอร์ เทคนิคการถ่ายภาพนี้เรียกว่า \"การเปิดหน้ากล้องค้างชัตเตอร์\" ใช้เปิดหน้ากล้องค้างชัตเตอร์สำหรับ ฉากกลางคืน พลุ ท้องฟ้า หรือวัตถุอื่นๆ ที่ต้องการการเปิดรับแสง นาน 1) ปรับปุ่มโหมดไปที่ <B> 2) ตั้งค่าค่ารูรับแสงที่ต้องการ -หมุนปุ่ม เ พื่ อ ตั้ ง ค่ า 3) ตั้งค่าปริมาณการชดเชยแสดง - ก า ร เ ปิ ด รั บ แ ส ง จ ะ ดำ เ นิ น ต่ อ เ นื่ อ ง ไปตลอดระยะเวลาที่คุณกดปุ่ม ชัตเตอร์ลงจนสุด - เ ว ล า เ ปิ ด รั บ แ ส ง ที่ ใ ช้ ไ ป จ ะ แ ส ด ง บ น หน้าจอ 23

วิชาเอกเทคโนโลยีการศึ กษา คณะศึ กษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิ ลปากร รายวิชา 468 205 Operation and Maintenance of Audio-Visual Equipment การใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีการศึ กษา ที่มาข้อมูล : SHORTURL.ASIA/BRPKG


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook