Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฎิบัติการ ตำบลอุโลกสี่หมื่น2565

แผนปฎิบัติการ ตำบลอุโลกสี่หมื่น2565

Published by นาทติยา ผู้ช่วย, 2022-05-25 04:12:17

Description: แผนปฎิบัติการ ตำบลอุโลกสี่หมื่น2565

Search

Read the Text Version

1 กศน.ตาบลอโุ ลกสี่หมน่ื กศน.อาเภอทา่ มะกา สานักงาน กศน.จังหวดั กาญจนบุรี

ก คาขออนมุ ตั แิ ผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ของ กศน.ตาบลอุโลกสห่ี มน่ื ดว้ ย กศน.ตาบล อุโลกสหี่ มนื่ ได้จดั ทา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ .ศ. ๒๕๖5 ประกอบด้วยข้อมูลพน้ื ฐานอาเภอ /กศน.ตาบล อุโลกสีห่ มน่ื นโยบายและจดุ เน้น สานักงาน กศน . ประจาปี งบประมาณ พ .ศ. ๒๕๖ 5 ทศิ ทางการดาเนินงานของสถานศึกษาและโครงการ /กิจกรรม จานวน โครงการ ตามแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ .ศ. ๒๕๖ 5 และสอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ช่วงปี ๒๕65 – ๒๕๖8 และโครงการ/กจิ กรรมตามแผนปฏิบัติการเลม่ นี้ ได้ผ่านการ พิจารณาและผา่ นความเหน็ ชอบจากกรรมการ กศน.ตาบลอุโลกสหี่ ม่ืน แลว้ จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ เพือ่ กศน.ตาบลอโุ ลกสีห่ ม่ืน จะได้นาแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ไปใชเ้ ปน็ เคร่อื งมอื ในการจัดกิจกรรมระดับพ้ืนท่ตี อ่ ไป ลงช่ือ..........................................................ผเู้ สนอแผน ( นางสาวนาทติยา ผชู้ ่วย ) กศน.ตาบลอโุ ลกสี่หมน่ื ลงชือ่ ..........................................................ผูเ้ หน็ ชอบ ( นายพพิ ัฒน์ ฝงู ประเสรฐิ ) คณะกรรมการ กศน.ตาบลอุโลกสี่หมื่น ลงช่ือ..........................................................ผู้อนุมัติ ( นายศักดิช์ ยั นาคเอย่ี ม ) ตาแหนง่ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี รักษาการในตาแหน่งผ้อู านวยการ กศน.อาเภอท่ามะกา

ข คานา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖5 ของ กศน.ตาบลอุโลกสหี่ มน่ื จดั ทาขึน้ เพื่อเปน็ แนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖5 โดยยึด แนวทางตามยุทธศาสตร์และจดุ เนน้ การดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ประจาปี ๒๕๖5 ของสานักงาน กศน . ตลอดจนบรบิ ทและความต้องการของกล่มุ เป้าหมายในพ้นื ที่ เพ่ือกาหนดเป็น แนวทางในการดาเนินงานของ กศน.ตาบลอุโลกส่หี มนื่ ให้เปน็ ไปตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การจัดทาแผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.ตาบลอุโลกสีห่ มืน่ เล่มนี้ สาเร็จลุลว่ งด้วยดโี ดยความร่วมมอื และการมสี ่วนร่วมของภาคเี ครอื ข่ายและผ้เู กีย่ วข้องรว่ มกันระดมความคิดเหน็ โดยนาสภาพปญั หาและผลการ ดาเนนิ งานมาปรับปรุงเพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพการจัดการศึกษานอกระ บบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กศน. ตาบลอโุ ลกสี่หม่ืน เพื่อสนองความต้องการของประชาชนในชุมชนอยา่ งแท้จริง คณะผู้จัดทาหวงั เปน็ อย่างย่งิ วา่ แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖5 กศน.ตาบล อุโลกส่ีหมื่น จะเปน็ เคร่อื งมือในการดาเนินงานของผบู้ ริหาร บคุ ลากรและผ้ทู เ่ี กยี่ วข้ อง เพอ่ื ใหก้ ารจดั การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั บรรลุตามวัตถุประสงค์และมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กาหนด ตลอดจน เป็นประโยชนต์ ่อผมู้ สี ว่ นเก่ยี วข้องต่อไป กศน.ตาบลอโุ ลกส่หี มน่ื 6 มกราคม 2565

สารบญั ค คาขออนุมตั ิแผนการปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 หนา้ คานา 1 14 สารบัญ 18 บทท่ี ๑ ข้อมลู พนื้ ฐานท่ัวไป 19 20 1.1 ขอ้ มลู พ้นื ฐานของ ตาบลอโุ ลกสหี่ มื่น 1.2 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของ กศน.ตาบลอโุ ลกสห่ี มนื่ 21 31 บทท่ี ๒ นโยบายจุดเนน้ การดาเนินงานของสานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖5 32 ๒.1 นโยบายเรง่ ด่วนเพ่อื ร่วมขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ 41 ๒.๒ ยทุ ธศาสตร์กระทรวง จดุ เน้นสานักงาน กศน. กศน.จงั หวดั กศน.อาเภอ 45 ๒.๓ เปา้ ประสงคแ์ ละตวั ชว้ี ัดความสาเรจ็ 50 55 บทท่ี ๓ วิเคราะหข์ ้อมูล ๓.๑ วเิ คราะหข์ อ้ มลู สภาพแวดลอ้ มระดับตาบล (SWOT Analysis) ๓.๒ สรุปสภาพปญั หาความต้องการ สาเหตุ และแนวทางแกไ้ ข/พัฒนาระดบั ตาบล บทท่ี 4 แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 4.๑ ตารางบญั ชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม 4.๒ โครงการตามแผนการจดั สรรงบประมาณ ๑) โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ 2) โครงการจดั การศกึ ษาศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ ๓-๓๐ ชม.) 3) โครงการจัดการศกึ ษาศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน (อาชพี ระยะสน้ั ๓๑ ชม.ขนึ้ ไป) 4) โครงการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ 5) โครงการจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 6) โครงการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชุมชน เอกสารอา้ งอิง ภาคผนวก บัญชตี าราง คณะผู้จัดทา

1 บทท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของตาบลอโุ ลกสี่หมน่ื ประวตั คิ วามเป็นมา สภาพท่ัวไป ประวัติองค์การบรหิ ารส่วนตาบลอโุ ลกส่ีหมนื่ เดมิ มสี ถานะเป็นสภาตาบล ตอ่ มาได้รับการยก ฐานะใหจ้ ัดตง้ั เป็นองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลอโุ ลกสีห่ มนื่ ตามพระราชบัญญัตสิ ภาตาบลและองคก์ ารบรหิ ารสว่ น ตาบล พ.ศ. 2537 เมอ่ื วนั ที่ 23 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2540 โดยมกี ารกาหนดใหต้ ้นอโุ ลกเป็นตราสญั ญาลกั ษณ์ ขององค์การบริหารส่วนตาบล เน่อื งจากเป็นต้นไม้ประจาตาบล ลักษณะท่ีต้ัง อาณาเขต และเขตการปกครอง องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลอโุ ลกส่หี มืน่ อาเภอท่ามะกา จงั หวัดกาญจนบุรี จัดตั้งขนึ้ ท่ี หมทู่ ่ี 5 ตาบลอุโลกส่ีหม่นื อาเภอท่ามะกา จังหวดั กาญจนบรุ ี ประกอบดว้ ย 1 ตาบล คอื ตาบลอุโลกส่ีหม่นื จานวน 8 หมูบ่ า้ น ตาบลอุโลกสี่หมืน่ มพี ืน้ ทโี่ ดยประมาณ 35.05 ตารางกิโลเมตรคิดเปน็ เน้ือทป่ี ระมาณ 21,906 ไร่

2 การปกครอง ระบบการปกครองของตาบลอุโลกสี่หม่ืน แบง่ ออกเปน็ 8 หมูบ่ ้านคือ หมทู่ ี่ 1 บ้านหนองแก หมู่ที่ 2 บา้ นหนองทะเบียน หม่ทู ี่ 3 บา้ นหนองซอ่ นผ้งึ หมู่ท่ี 4 บา้ นหนองสามเกวยี น หมู่ที่ 5 บา้ นดอนตาลเสยี้ น หมู่ท่ี 6 บ้านดอนตะไล้ หมู่ที่ 7 บา้ นแจงงาม หมทู่ ่ี 8 บ้านหนองพงษ์ ในแตล่ ะหมู่จะมีผ้ใู หญ่บ้านเป็นผนู้ าและมกี านันเป็นผู้นาประจาตาบล อาณาเขตตดิ ตอ่ ทศิ เหนอื ติดกับตาบลบอ่ สพุ รรณ อาเภอสองพน่ี ้อง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั ตาบลหนองลาน ตาบลทา่ มะกา อาเภอทา่ มะกา ทิศใต้ ติดกับตาบลตาบลตะครา้ เอน ตาบลพระแท่น อาเภอทา่ มะกา ทิศตะวนั ตก ตดิ กบั ตาบลตาบลหนองสาหรา่ ย อาเภอพนมทวน จงั หวดั กาญจนบุรี จานวนพื้นท่ี ตาบลอุโลกสีห่ มืน่ มีพื้นทีโ่ ดยประมาณ 35.05 ตารางกิโลเมตรคดิ เป็นเน้อื ท่ปี ระมาณ 21,906ไร่ ลกั ษณะภมู ิประเทศ สภาพภมู ปิ ระเทศของพืน้ ที่เขตการปกครองขององค์การบริหารสว่ นตาบลอุโลกสห่ี มน่ื เปน็ พืน้ ท่ีราบลมุ่ เหมาะแก่การเกษตร อาทิ เชน่ การปลกู ออ้ ย การทานา การทาสวน และพชื ไร่ ต่างๆ เช่น พรกิ และข้าวโพด ข้อมูลผลิตภณั ฑท์ ่ีน่าสนใจของตาบล ผลไม/้ ผกั ต่างๆ ขา้ วโพดฝกั อ่อน เปน็ ฝักขา้ วโพดออ่ นปลอกเปลือก เรม่ิ ต้ังแตก่ ารปลูกข้าวโพด แปรรปู เปน็ ขา้ วโพดสดเพอื่ ส่งโรงงาน

3 เคร่อื งปรงุ ผลติ ภัณฑน์ า้ ตาลทราย ผลิตภณั ฑน์ ้าตาลทราย อุปกรณเ์ ก่ยี วกบั การแตง่ กาย หมวก หมวก อาทิ หมวกปีกบาน หมวกคาวบอย หมวกแคป หมวกดาสเกต และ หมวกไวเซอร์ มที ัง้ ของสุภาพบรุ ุษและสุภาพสตรี ประชากรตาบลอุโลกสหี่ มนื่ มีประชากรทง้ั สน้ิ 6,722 คน แยกเป็นชาย 3,250 คน และเปน็ หญงิ 3,472 คน มีจานวน ครวั เรอื นท้ังตาบลประมาณ 1,843 ครวั เรอื น แยกเป็นหม่บู า้ นไดด้ งั นี้ ตาราง 1 ประชากรแยกเปน็ รายหม่บู ้าน หม่ทู ี่ บ้าน ชอื่ ผนู้ า ครวั เรอื น ประชากร รวม ชาย หญิง 1 บ้านหนองแก นางชลดา ล้เี ทียน 286 539 567 1,106 385 507 559 1,066 2 บา้ นหนองทะเบยี น นายสรุ ศกั ด์ิ ตะพงั 179 271 320 591 310 577 594 1,171 3 บ้านหนองซอ่ นผงึ้ นายกา้ น มีทรัพยม์ ัน่ 301 451 514 965 202 393 439 832 4 บา้ นหนองสามเกวยี น นายณรงค์ ศรีโสภา 93 234 217 451 105 278 262 540 5 บา้ นดอนตาลเสย้ี น นายเจรญิ พมิ พ์ทรัพย์ 6 บ้านดอนตะไล้ นายสมปอง ใจม่ัน 7 บ้านแจงงาม นายพิพัฒน์ ฝงู ประเสริฐ 8 บ้านหนองพงษ์ นางบังอร นติ กิ รวรากลุ

ขอ้ มลู ด้านการศึกษาของประชากร ประชากร จานวน (คน) 4 ชาย หญงิ ลาดบั การศกึ ษา 381 490 รวม 298 329 1 ผไู้ ม่ร้หู นังสอื 1,031 1,089 871 2 ตา่ กว่าประถมศกึ ษา 518 466 627 3 ประถมศึกษา 415 346 2,120 4 มัธยมศึกษาตอนต้น 60 61 984 5 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย / ปวช. 158 227 761 6 อนปุ ริญญา / ปวส. 46 121 7 ปรญิ ญาตรี 2,982 3,123 385 8 สูงกว่าปรญิ ญาตรี 10 6,105 รวม ประชากรกล่มุ เป้าหมาย กล่มุ วยั เรยี น มปี ระชากรท่ีอยู่ในกลุ่มวยั เรียนการศึกษาภาคบังคบั แต่อยู่นอกระบบโรงเรียน ช่วงอายุ 6 -14 ปี ในตาบล อุโลกส่ีหม่ืน จานวนท้งั หมด .....-...... คน ชาย....-........ คน หญิง .........-...... คน กล่มุ ประชากรวัยแรงงาน แบง่ เปน็ 2 กล่มุ ยอ่ ย 1.ประชากรวัยแรงงาน ชว่ งอายุ 15- 39 ปี มปี ระชากรวัยแรงงาน ในตาบล อุโลกสห่ี มื่น จานวนท้งั หมด 3,406 คน ชาย 1,696 คน หญงิ 1,710 คน 2.ประชากรวยั แรงงาน ช่วงอายุ 40 - ๕9 ปี มปี ระชากรวัยแรงงาน ในตาบล อโุ ลกสห่ี มน่ื จานวนทงั้ หมด 883 คน ชาย 402 คน หญิง 481 คน

5 ประชากรกลมุ่ ผู้สงู อายุ แบง่ เป็น 4 กลมุ่ ยอ่ ย ไดแ้ ก่ 1.กลุ่มผสู้ ูงอายุ ช่วงอายุ 60- 69 ปี มผี ้สู งู อายุในตาบลอโุ ลกสีห่ มืน่ จานวนทงั้ หมด 745 คน ชาย 338 คน หญงิ 407 คน 2.กลุ่มผูส้ ูงอายุ ช่วงอายุ 70- 79 ปี มีผสู้ ูงอายุในตาบล อโุ ลกส่หี ม่นื จานวนทง้ั หมด 235 คน ชาย 105 คน หญิง 130 คน 3.กลุ่มผู้สงู อายุ ชว่ งอายุ 80- 89 มผี ู้สงู อายใุ นตาบล อโุ ลกสี่หม่นื จานวนท้งั หมด 75 คน ชาย 28 คน หญิง 47 คน 4.กลมุ่ ผูส้ ูงอายุ ช่วงอายุ 90 ปีขน้ึ ไป มผี ู้สงู อายุในตาบล อุโลกสห่ี มน่ื จานวนทัง้ หมด 11 คน ชาย 3 คน หญิง 8 คน กล่มุ ผ้ดู ้อยโอกาส เป็นกล่มุ ท่มี ีโอกาสในการท่ีจะเขา้ รบั บรกิ ารทางการศกึ ษา ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ดอ้ ยกวา่ คนปกตทิ ั่วไป อันเน่ืองจาก 1.ข้อจากดั ทางรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญาหรือความสามารถในการเรียนรู้ 2.ข้อจากัดด้านฐานะทางเศรษฐกิจ หรือความยากจน 3.ขอ้ จากัดด้านการติดตอ่ ส่อื สารอนั เนอ่ื งมาจากความตา่ งทางภาษา วัฒนธรรม มี 3 กล่มุ ยอ่ ย ได้แก่ 1.ผ้พู กิ าร ในตาบล อโุ ลกสี่หมนื่ จานวนทง้ั หมด ........... คน ชาย........... คน หญิง ............... คน แยกเป็นประชากรในแตล่ ะหมบู่ า้ นดังตอ่ ไปน้ี 2.ผูป้ ระกอบอาชีพแรงงานนอกระบบ ในตาบล อโุ ลกสห่ี ม่นื จานวนท้ังหมด 6,105 คน ชาย 2,982 คน หญิง 3,123 คน แยกเปน็ ประชากรในแตล่ ะหมบู่ า้ นดงั ตอ่ ไปน้ี กลุม่ ผู้พลาดโอกาส เป็นกลมุ่ ทพ่ี ลาดโอกาสในการที่จะเข้ารับบรกิ ารทางการศึกษา รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ อนั เน่อื งจาก 1.ความไม่สามารถในการท่จี ะเขา้ รบั การศกึ ษา การเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างตอ่ เนือ่ ง หรอื ไมม่ ีความประสงคท์ ่จี ะ รบั การศึกษา การเรยี นรจู้ นจบหลักสูตรหรือ ระดบั ช้นั การศกึ ษาใดๆ ท่ีผ่านมา 2.การยา้ ยถิน่ เรร่ อ่ น 3.เงอื่ นไข ขอ้ จากัดเกี่ยวกับอายมุ ี 7 กลุ่มยอ่ ย ได้แก่ 1.กลุ่มเดก็ /เยาวชนที่ออกกลางคนั จากการศึกษาภาคบงั คบั ในตาบล อุโลกส่ีหม่นื จานวนทัง้ หมด ......-..... คน ชาย.....-...... คน หญงิ ........-....... คน 2.กลมุ่ ผู้จบการศึกษาภาคบงั คบั แต่ไม่ได้เรียนต่อ ในตาบล อุโลกสี่หมนื่ จานวนทง้ั หมด ......-..... คน ชาย......-..... คน หญิง .....-.......... คน 3.เด็ก/เยาวชน/ลกู กรรมกรกอ่ สร้าง ในตาบล อโุ ลกสหี่ มืน่ จานวนทง้ั หมด ......-..... คน ชาย......-..... คน หญิง .....-.......... คน 4.กลมุ่ เด็ก/เยาวชนท่ีมีความพร้อมแต่ไมต่ อ้ งการรับการศกึ ษาในระบบปกติ

6 ในตาบล อโุ ลกส่ีหม่ืน จานวนทงั้ หมด ......-..... คน ชาย.....-...... คน หญิง .......-........ คน กลมุ่ ผู้ขาดโอกาส เปน็ กลมุ่ ทไี่ มส่ ามารถเขา้ ถงึ โอกาสทางการศกึ ษา รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ได้ อนั เนอื่ งมาจาก 1.การอยใู่ นทีเ่ สี่ยงภยั จากการกอ่ การรา้ ย การกอ่ ความไม่สงบในบริเวณชายแดน 2.การอยใู่ นพ้นื ทช่ี นบทห่างไกล หรอื ยากลาบากในการคมนาคมตดิ ตอ่ สือ่ สาร 3.การมถี น่ิ พานักอยู่ในตา่ งประเทศ 4.การถกู จาคกุ คุมขังหรอื จากัดบริเวณตามคาพพิ ากษา 5.การไมม่ สี ิทธภิ าพในฐานะพลเมืองไทยมี 7 กลุม่ ย่อย ไดแ้ ก่ 1.กลุ่มประชาชนในพ้นื ทีช่ นบทห่างไกลหรอื ยากลาบากในการคมนาคมติดต่อสื่อสาร ในตาบล อโุ ลกสหี่ ม่ืน จานวนทั้งหมด ......-..... คน ชาย.....-...... คน หญงิ .......-........ คน 2.กลุ่มแรงงานตา่ งดา้ ว หรอื แรงงานข้ามชาติ ในตาบล อุโลกส่หี มื่น จานวนท้งั หมด ......-..... คน ชาย.....-...... คน หญงิ .......-........ คน ๓.กลุม่ บุคคลทไ่ี ม่มีทะเบียนราษฎร์ ในตาบล อโุ ลกสี่หมนื่ จานวนทง้ั หมด ......-..... คน ชาย.....-...... คน หญงิ .......-........ คน ภาษาทใี่ ช้ ภาษาท่ีใช้ สว่ นใหญ่ใชภ้ าษาพ้นื บา้ น ระดับการศกึ ษา ไมร่ ู้หนังสือ จานวน 20คน 550 คน ระดบั 0-ป.4 จานวน 1,755 คน 2,382 คน ระดบั ป.6 จานวน 1,590คน 2,000 คน ระดบั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 792 คน ระดับมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 จานวน 7 คน ระดบั อนุปรญิ ญา จานวน 1,281 คน 1,977 คน ระดับปรญิ ญาตรี จานวน 500 คน 50 คน ระดบั สูงกว่าปริญญาตรี จานวน 244 คน 1,337 คน การประกอบอาชีพของคนในชุมชน เกษตรกรรม จานวน รบั จา้ งท่ัวไป จานวน รับจ้างในโรงงาน จานวน ขา้ ราชการ จานวน คา้ ขาย จานวน อ่นื ๆ จานวน

7 ดา้ นเศรษฐกจิ 3.1 อาชพี ประชากรในเขตตาบลอโุ ลกสี่หม่นื สว่ นใหญ่ประกอบอาชพี เกษตร รอ้ ยละ 50 รองลงมา ไดแ้ ก่ อาชีพคา้ ขายประมาณร้อยละ 40 ทเ่ี หลอื ร้อยละ 10 ประกอบอาชพี อ่ืนๆ 3.2 หน่วยธรุ กจิ ในเขต ตาบลอุโลกสีห่ มื่น - ธนาคาร - แห่ง - ปั๊มน้ามัน 2 แหง่ - โรงงานอตุ สาหกรรม 1 แห่ง - ประกอบอาชีพโรงเล้ยี งสัตว์ 5 แหง่ - รา้ นค้า 24 แห่ง - หอ้ งเชา่ - แห่ง - อนื่ ๆ 20 แห่ง ด้านสาธารณสขุ ในเขตพ้ืนท่ีตาบลอโุ ลกสหี่ มน่ื มสี ถานอี นามัยประจาตาบล จานวน 1 แห่ง คอื สถานีอนามยั อโุ ลกสห่ี มื่น แต่ อยู่ในเขตพ้ืนทข่ี องตาบลอุโลกสห่ี ม่นื ซง่ึ เป็นพ้นื ที่ติดกับพืน้ ท่ี ประชาชนสามารถไปใชบ้ ริการได้โดยสะดวก 4.5 ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ ิน ในพ้ืนทีต่ าบลอโุ ลกสีห่ มนื่ มปี อ้ มตารวจจานวน 1 แห่ง คือ ประชาชนสามารถไปใช้บริการได้ โดยสะดวก ขอ้ มลู อาชีพของตาบล อาชีพหลกั ทานา ทาสวน/ทาไร่ อาชีพเสรมิ เลยี้ งสตั ว์ เช่นโค ไก่พน้ื เมือง ค้าขาย ขอ้ มูลสถานที่สาคญั ของตาบล 1. อบต.อโุ ลกสหี่ มื่น 2. วัดดอนตาลเสย้ี น 3. สานกั สงฆผ์ ึ้งหลวง 4. สถานีอนามยั 5. ท่ีพักสายตรวจ ตารวจ

8 6. ศนู ย์การเรียน ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอทา่ มะกา 7. ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยที างการเกษตร โครงสร้างพนื้ ฐาน การคมนาคม ตาบลอโุ ลกส่ีหมน่ื มีเสน้ ทางคมนาคมทสี่ าคญั คือ - เสน้ ทางท่ีหน่งึ เส้นทางถนนแสงชโู ต จากสี่แยกท่าเรือผา่ นวดั พระแทน่ ดงรัง เลย้ี วขวาเขา้ ตาบลอุโลก สหี่ ม่นื ระยะทางประมาณ 13 กม. - เส้นทางท่สี อง กาแพงแสน หา่ งจากสามแยกพระแทน่ ไปทางพนมทวน ประมาณ 3 กม. บริเวณท่ี พกั สายตรวจตารวจ ระยะทางถึงกล่มุ ฯ ประมาณ 2 กม. การไฟฟ้า การใหบ้ รกิ ารไฟฟ้า และแสงสวา่ งภายในเขตตาบลอุโลกสีห่ ม่ืน ดาเนนิ การโดยการไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค ตาบลทา่ เรือ อาเภอทา่ มะกา จงั หวัดกาญจนบุรี นอกจากน้ตี ามถนนและซอยตา่ งๆภานในเขต อบต.อุโลก ส่ีหมืน่ ไดจ้ ดั ให้มฟี ้าสาธารณะเพื่อประชาชนทส่ี ัญจรไปมาได้สะดวก การประปา - การให้บรกิ ารดา้ นการประปา เป็นการดาเนินการโดยการประปาตาบลอโุ ลกส่หี มนื่ มีกาลงั ผลติ นา้ ประปา 50 ลบ.ม./ชม. จานวน 2 แท็งค์นา้ โดยการใชแ้ หลง่ นา้ จากใตด้ นิ ในการผลิตประปา - น้าเพ่อื การเกษตร ประชาชนในตาบลอโุ ลกส่หี ม่ืนใชป้ ระโยชนจ์ ากสระน้าส่วนตัว สระสาธารณะ และคลองท่าสาร – บางปลา ซง่ึ เป็นคลองชลประทาน 1 แหง่ โดยครัวเรอื นใช้ประโยชนจ์ ากแหล่งนา้ ขา้ งต้นในการเกษตร และอื่นๆ การส่อื สารและโทรคมนาคม การใหบ้ รกิ ารดา้ นโทรศัพท์ จานวนครัวเรอื นที่มโี ทรศัพท์ ประมาณ 780 ครัวเรอื น โทรศพั ท์ สาธารณะ ประมาณ 50 เครื่อง สภาพการจราจร ในเขต อบต.ตาบลอุโลกสห่ี มื่นมีสภาพการจราจรมีความคล่องตวั ดา้ นเศรษฐกิจ โครงสร้างเศรษฐกิจ / รายไดป้ ระชากร - การประกอบอาชพี ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน่ การปลกู ข้าว ออ้ ย พริก ขา้ วโพด การเลีย้ งสตั ว์ เช่น โค สกุ ร เป็ด ไก่ และการประกอบอาชพี อ่ืนๆ เช่น ค้าขาย รับจ้าง รบั ราชการ ฯลฯ - รายไดป้ ระชากรเฉล่ียคน / ปี จานวน 2,000 บาท การอุตสาหกรรม / พาณิชย์ / ปารบรกิ าร ประกอบด้วย - โรงงานอตุ สาหกรรม จานวน 3 แหง่ - สถานีบรกิ ารน้ามนั จานวน 3 แหง่ - รา้ นคา้ ทั่วไป เชน่ รา้ นค้าของชา ร้านอาหาร รา้ นเครื่องดืม รา้ นบรกิ ารเสริมสวย อูซ่ ่อมรถ ร้านอุปกรณ์ไฟฟ้า ฯลฯ ประมาณ 194 แห่ง

9 ศาสนา / ประเพณี / ศิลปวัฒนธรรม ตาบลอโุ ลกสี่หม่ืน มีศาสนสถานศึกษา 2 แหง่ คือ วดั ดอนตาลเสย้ี น สานกั สงฆ์ผ้งึ หลวง - การนับถอื ศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และนบั ถือศาสนาอ่ืนๆ เชน่ ศาสนา อิสลามและศาสนาคริส - งานประเพณี ศิลปวฒั นธรรม ของท้องถ่นิ ทีส่ าคญั คอื 1. งานประเพณสี งกรานต์ เดือนเมษายน 2. งานประเพณแี ห่เทียนพรรษา เดือนกรกฎาคม 3. งานตักบาตรเทโว เดือนตุลาคม 4. งานประเพณีลอยกระทง เดือนพฤศจกิ ายน การศกึ ษา การใหบ้ ริการการศกึ ษา มสี ถาบันการศึกษาในเขตตาบลอโุ ลกส่หี ม่ืน จานวน 5 แหง่ - โรงเรียนหนองซ่อนผงึ้ ผดุงวิทย์โรงเรียนประชาวิทยาคาร โรงเรยี นบา้ นดอลตาลเส้ยี น โรงเรยี น อุโลกสีห่ มนื่ และโรงเรยี นบา้ นแจงงาม สังกัดสานักงานการประถมศึกษาแหง่ ชาติ การสาธารณสุข ในเขตพน้ื ทต่ี าบลอโุ ลกสห่ี ม่ืนมโี รงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพประจาตาบล จานวน 1 แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลอุโลกสหี่ มืน่ ซึ่งเปน็ พน้ื ทีต่ ิดกับพ้นื ท่ขี องอบต.ตาบลอโุ ลกส่ีหม่ืน ประชาชน สามารถไปใช้บรกิ ารได้โดยสะดวก กีฬา / นนั ทนาการ มีการส่งเสริมสนับสนุนเกี่ยวกับการกฬี าและนันทนาการ โดยการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ จากประชาชน ทัว่ ไป และส่งเสริมสนบั สนุนกีฬาแก่โรงเรยี น และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลอโุ ลกสี่หมื่น สนามฟุตบอล สนามเปตอง และสนามกีฬาประจาหม่บู า้ น ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน การใหบ้ ริการเก่ียวกับความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพย์สนิ ในเขตตาบลอโุ ลกส่หี ม่นื จะมีงาน ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ตารวจชมุ ชนตาบลอุโลกสห่ี มนื่ ซง่ึ ขึน้ อยกู่ ับ สภ.ต.ทา่ เรอื อาเภอท่ามะกา จังหวดั กาญจนบุรี คอยดูแลและให้ความปลอดภัยในชีวติ และทรพั ย์สนิ ภาระกิจการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น 1. จดั และสง่ เสริมการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตให้กบั ประชาชนท่ีอยู่นอกโรงเรยี นในรูปแบบการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยในด้าน 1.1 การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 1.2 การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชพี 1.3 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 1.4 การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 2.จดั กระบวนการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการเพือ่ เพิมเติมปัญญาให้สงั คมยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การ ดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

10 แหลง่ เรยี นร้แู ละเครอื ข่าย แหลง่ เรียนรู้ ชือ่ ท่ตี ้ัง ประเภท โบราณสถาน วัดดอนตาลเสยี้ น หมู่ 5 บา้ นดอนตาลเสี้ยน สถานที่ อบต.อโุ ลกส่หี มน่ื หมู่ 5 บ้านดอนตาลเส้ียน โบราณสถาน สานักสงฆ์ผึ้งหลวง หมู่ 3 บา้ นหนองซอ่ นผง้ึ สถานที่ สถานที่ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพ หมู่ 5 บา้ นดอนตาลเสี้ยน กศน.ตาบลอโุ ลกส่ีหม่นื หมู่ 1 บ้านหนองแก ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ 1 หมู่ 4 บา้ นหนองสามเกวยี น แหลง่ เรยี นร้ใู นชุมชน เรอ่ื งพรหมเช็ดเทา้ 2. หมู่ 2 บา้ นหนองทะเบยี น แหลง่ เรยี นร้ใู นชุมชน เร่ือง การจักสานไม้ไผ่

11 3 หมู่ 4 บา้ นหนองสามเกวยี น แหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชน เรือ่ งมลู่ จ่ี ากหลอด 4 หมู่5 บ้านดอนตาลเสย้ี น แหลง่ เรยี นรูใ้ นชมุ ชน เรือ่ ง การทาขา้ วโพดฝกั อ่อน 5 หมู่4 บา้ นหนองสามเกวียน แหลง่ เรยี นร้ใู นชุมชน เร่ือง การทามลู่ ีจ่ ากวสั ดเุ หลือใช้

12 6. หมู่ 1 บา้ นหนองแก แหลง่ เรียนรู้ในชุมชน เร่ือง ผลิตภัณฑน์ า้ ตาลทราย 7. หมู่ 1 บา้ นหนองแก แหลง่ เรยี นรู้ในชมุ ชน เรื่อง ผลติ ภัณฑ์หมวกคาวบอย 8. หมู่ 6 บ้านดอนตะไล้ แหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน เร่อื ง บา้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ภาคเี ครอื ขา่ ย 13 ชื่อ ภาคีเครือข่าย ท่ตี ้ัง/ท่ีอยู่ กศน.อาเภอทา่ มะกา วดั ใหม่เจริญผล ตาบลทา่ เรือ อบต.อโุ ลกส่หี มน่ื ม.5 ตาบลอโุ ลกสีห่ มื่น โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล ม.5 ตาบลอโุ ลกสี่หมืน่ วัดดอนตาลเสีย้ น ม.5 ตาบลอโุ ลกส่ีหมื่น กศน.ตาบลจานวน 1๗ ตาบล ตาบลท่าเรือ ตะคร้าเอน ดอนชะเอม อโุ ลกส่ีหมน่ื พระแท่น หนองลาน สนามแย้ ยางม่วง ทา่ ไม้ ดอนขม้ิน ผนู้ าชมุ ชน ทา่ เสา อโุ ลกส่หี ม่นื เขาสามสบิ หาบ อุโลกสี่หมนื่ แสนตอ พัฒนาชุมชนอาเภอทา่ มากา ทา่ มะกา หวายเหนียว อาเภอทา่ มะกา ม.1-8 ท่วี า่ การอาเภอท่ามะกา ที่วา่ การอาเภอทา่ มะกา

14 แผนทีแ่ สดงท่ตี ้งั กศน.ตาบลอโุ ลกส่ีหมื่น ขอ้ มลู พื้นฐาน กศน.ตาบลอโุ ลกส่หี มน่ื

15 กศน. ตาบลอุโลกส่ีหม่นื เดิมต้ังอยทู่ ี่ หมู่ที่ 5 บา้ นดอนตาลเสี้ยน ตาบลอุโลกสหี่ ม่นื อาเภอทา่ มะกา จังหวัดกาญจนบรุ ี อยู่ท่ีบรเิ วณของบ้านผู้ใหญ่บ้าน โดยมีผ้ใู หญบ่ า้ นะเปน็ ผใู้ ห้ที่ในการกอ่ สรา้ ง กศน . ตาบล อุโลกส่ีหม่ืน และทาง กศน . ไดเ้ ปน็ คนจัดหางบประมาณในการ ก่อสร้าง กศน .ตาบลอุโลกสี่หม่ืน ซ่ึงตอนน้ี ข้าพเจ้ายังไม่ได้เข้ามาทางานเลยไมร่ ูว้ ่าเขาสรา้ งกนั มาอย่างไรและในปี พ .ศ.ใด ผ้ใู หญบ่ ้านไดห้ มดวาระในการ เปน็ ผูใ้ หญ่บา้ นกไ็ ดใ้ ห้ กศน. ตาบลอโุ ลกหาท่อี ยใู่ หมแ่ ล้วข้าพเจ้ากเ็ ลยยา้ ยมาอยู่ ในบรเิ วณโรงเรียนวดั ดอนตาล เสย้ี น ซ่ึงเป็นศาลา SML ของหมู่บ้าน ซงึ่ ไดจ้ ดั ตัง้ ขน้ึ ที่ หม่ทู ี่ 5 ตาบลอุโลกสห่ี มน่ื อาเภอท่ามะกา จังหวัด กาญจนบุรี และไดอ้ าศัยอยจู่ นถงึ ปี พ .ศ. 2554 ก็ไดย้ ้ายศนู ย์ กศน .ตาบลอุโลกสหี่ มน่ื อีกคร้งั หนงึ่ เปน็ เพราะ โรงเรยี นดอนตาลเสีย้ นไดท้ าหอ้ งสมดุ ท่อี าคารนน้ั โดยการแบ่ งทีก่ นั คนละคร่งึ กศน .ตาบลอโุ ลกสีห่ ม่นื จะอยู่ ด้านใน ทาให้ กศน .ดูว่าเป็นสว่ นหน่ึงของหอ้ งสมดุ โรงเรยี นดอนตาลเสี้ยนไปแล้ว จึงทาให้ กศน .ตาบลอุโลกส่ี หมน่ื ดไู ม่เปน็ เอกเทศน์ ข้าพเจ้าจงึ ยา้ ยออกมาหาที่อยู่ใหมเ่ พื่อใหก้ ศน .ตาบลอโุ ลกสห่ี ม่ืนเป็นสถานที่ เอกเทศน์ จนกระทงั่ วันหน่งึ นางพเยาว์ ลม้ิ มั่ง เปน็ ผู้ปกครองของนกั ศกึ ษาคนหน่งึ เขาไดเ้ หน็ ว่ากศน .ตาบลอโุ ลกสห่ี มนื่ ยา้ ยที่อย่มู าหลายทีแ่ ล้วก็เกิดความสงสารจึงไดย้ กที่บางสว่ นใหเ้ พื่อจะไดส้ ร้าง กศน .ตาบลอโุ ลกส่หี มน่ื ให้เปน็ ที่ เรียนหนงั สอื กบั นักศึกษาท่วั ไป ในการก่อต้งั ศนู ย์กส น.ตาบลอโุ ลกสหี่ ม่ืนครั้งน้เี กิดขนึ้ ไดจ้ ากการทีป่ ระธาน องคก์ รนักศึกษาไดด้ าเนินการไปท่ผี ใู้ หญ่บา้ นและผนู้ าตาบลทกุ ทา่ นว่าจะหาเงินจากตรงไหนที่จะนามาปลกู สรา้ งกศน.ตาบลอุโลกสห่ี มนื่ ใหเ้ ป็นหลักแหล่งเพ่อื ให้นักศกึ ษาจะได้มีท่ีเรียนที่สอน แล้วผลสรุปจากการประชุม ผูน้ าทอ้ งถ่นิ ในตาบลอโุ ลกสีห่ มน่ื ทกุ ท่านไดม้ ีมติท่จี ะสรา้ งกศน .ตาบลอโุ ลกสหี่ มืน่ จากการกินเล้ยี งเพื่อสมทบทนุ สรา้ งจนเปน็ ศนู ย์กศน.ตาบลอุโลกสีห่ มน่ื ทุกวนั นี้ กศน.ตาบลอโุ ลกส่ีหมนื่ ไดต้ ั้งอยูท่ ่ี หมทู่ ี่ 1 ตาบลอโุ ลกสีห่ ม่นื อาเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบรุ ีเป็นศนู ย์ กศ น. ทีพ่ ึ่งจดั สร้างข้ึนมาเมอ่ื ปลายปี พ .ศ. 2554 ภายใต้การ ดแู ลของศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอทา่ มะกา โดยไดร้ บั ความอนเุ คราะหด์ า้ น การจัดการกอ่ สร้างศูนย์ กศน.ตาบลอโุ ลกสี่หม่นื เพื่อเป็นสถานทพ่ี บกล่มุ และสถานทีส่ าหรับการจัดการเรียนการ สอนจาก น ายสุวัฒน์ มาไพศาลสิน นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลอุโลกส่หี มน่ื และ ณ ปัจจบุ ันน้ี กศน . ตาบลอโุ ลกสีห่ มน่ื ได้ย้ายมาอยทู่ ี่โรงเรียนแจงงามเพราะท่โี รงเรียนแจงงามไดถ้ กู ยบุ ไป ทางผ้นู าตาบลอโุ ลกส่ี หม่ืนจึงเห็นสมควรใหย้ า้ ยมาอยทู่ ่โี รงเรยี นแจงงามนี้ และผู้นาตาบลอโุ ลกส่ี หม่นื พร้อมทั้งนกั ศกึ ษาตาบลอโุ ลกสี่ หมนื่ ทุกคนโดยศนู ย์ กศน.ตาบลอโุ ลกสหี่ ม่ืนไดจ้ ดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกับการศกึ ษาในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ การศึกษาขั้นพน้ื ฐานนอกระบบ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน การศกึ ษา เพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต ก ารศึกษาตามอัธยาศัย และการศกึ ษาดา้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยจดั การศึกษา ดงั กลา่ วขา้ งตน้ จะมีวตั ถปุ ระสงค์ท่แี ตกต่างกนั เพื่อใหป้ ระชาชนและนักศกึ ษาของศนู ย์ กศน .ตาบลอุโลกสหี่ มื่น ไดเ้ ลอื กกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับตัวเองใหม้ ากท่สี ดุ โดยมี นางสาวนาทตยิ า ผชู้ ว่ ย ปฏิบัติงา นหนา้ ที่ครู กศน. ตาบลอุโลกสี่หมืน่

16 โครงสร้าง กศน. ตาบลอโุ ลกสหี่ มนื่ ผบู้ รหิ าร .................. คณะกรรมการ กศน. ตาบล ครูอาสาสมคั รฯ ครู กศน. ตาบล องคก์ รนักศกึ ษา อาสาสมคั ร กศน. อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน โครงสร้างการดาเนนิ งาน กศน.ตาบล ผอ.กศน.อาภอ ครู กศน. อบต.ตาบล ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ครู กศน.ตาบล หนว่ ยงานภาคีเครอื ขา่ ย อาสาสมคั ร กศน. กลมุ่ /ชมุ ชน อาสาสมัครส่งเสรมิ การ กล่มุ ผเู้ รียน อา่ น นกั ศึกษา กศน.

17 แผนภมู ิ : สายบงั คบั บัญชา ครู กศน.ตาบล มีภาคเี ครอื ขา่ ยในชมุ ชนเปน็ ผรู้ ่วมงาน ผอ.กศน.อาเภอ เปน็ ผู้บังคบั บญั ชาข้นั ต้นเป็นผนู้ าในการปฎิบตั ิงาน ผอ.กศน.อาเภอ มบี ทบาทสนับสนุนการทางานของ ครู กศน.ตาบล เป็นผนู้ ิเทศและทป่ี รกึ ษา ผอ.กศน.จงั หวดั เป็นผบู้ ังคบั บัญชาบรรดาขา้ ราชการและบุคลากร สงั กัด กศน.ภายในจังหวดั ตามกฎหมาย ข้อมูลบุคลากร ประเภท รายละเอยี ด 1) ผู้บรหิ าร ช่อื ….นายศักด์ิชยั นาคเอี่ยม.... ตาแหน่ง...ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเมอื ง กาญจนบุรี รักษาการในตาแหน่ง ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอท่ามะกา.... วุฒกิ ารศกึ ษา ......การบริหารการศกึ ษา...................... 2) ครูอาสาสมัคร ชื่อ...ดาวใจ ฟักเขยี ว... ตาแหนง่ .... ครอู าสาสมัครฯ.... วุฒกิ ารศกึ ษา..ปริญญาตร.ี (ศศบ)... สาขา....การจดั การท่วั ไป...... 3) ครู กศน.ตาบล 1) ชื่อ....นางสานาทตยิ า ผู้ช่วย.... ตาแหน่ง.....ครู กศน.ตาบล..... วุฒิการศึกษา....ปรญิ ญาตร(ี ศศบ)........สาขา.....บรรณารักษศาสตรแ์ ละสารนเิ ทศศาสตร.์..........

18 บทที่ 2 นโยบายจุดเน้นการดาเนนิ งานของ สนง.กศน.ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖5 นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงานของสานกั งาน กศน.จังหวัดกาญจนบรุ ี ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ไดก้ าหนดแผนแม่บทประเด็นการพฒั นา ศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โดยมแี ผนยอ่ ยทเ่ี ก่ียวข้องกับการใชก้ ารศกึ ษาเปน็ เคร่อื งมอื ในการขบั เคลอ่ื นไดแ้ ก่ การพัฒนาศกั ยภาพคนตล อดช่วงชวี ิต ทม่ี ุง่ เนน้ การสร้างสภาพแวดล้อมทเ่ี ออื้ ต่อการพัฒนา และเสรมิ สรา้ ง ศกั ยภาพมนษุ ย์ การพฒั นาเดก็ ต้ังแต่ชว่ งการต้งั ครรภจ์ นถึงปฐมวยั การพัฒนาช่วงวยั เรยี น /วยั รนุ่ การพฒั นา และยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการส่งเสรมิ ศักยภาพวัยผู้สูงอายุ การพัฒนาการเรียนรู้ ทีต่ อบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหปุ ญั ญาของมนษุ ย์ท่ีหลากหลาย ประกอบกบั แผนการปฏริ ปู ประเทศ ดา้ นการศึกษา นโยบายรฐั บาลทั้งในสว่ นนโยบายหลักด้านการปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้ และการพฒั นา ศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต และนโยบายเรง่ ด่วนเรอื่ งการเตรียมคนไทยสูศ่ ตว รรษที่ 21 นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงานสานักงาน กศน.ประจาปี 2565 ตลอดจนแผนพฒั นาประเทศอ่ืนๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาตฉิ บับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2568) โดยคาดหวงั วา่ การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ ง ชวี ิตจะไดร้ บั การพฒั นาการเรียนร้ใู หเ้ ป็นคนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ และมคี วามพรอ้ มรว่ มขับเคลื่อนการพฒั นา ประเทศสูค่ วามมนั่ คง ม่ังคงั่ และยั่งยืน สานักงาน กศน . จงั หวดั กาญจนบรุ ีเป็นหน่วยงานทีม่ ภี ารกิจในการจดั การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวติ ได้มงุ่ ม่ันขับเคลือ่ นภ ารกิจ หลักตามแผนพฒั นาประเทศ และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทค่ี านึงถึงหลกั การบริหาร จดั การท้งั ในเรอื่ งหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจายอานาจ การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่อื สาร การม่งุ เนน้ ผลสมั ฤทธ์ิ และปฏิบตั กิ ารดา้ นขอ้ มูลข่าวสาร การสร้างบรร ยากาศในการทางานและการ เรียนรู้ ตลอดจนการใช้ทรพั ยากรด้านการจดั การศึกษาอยา่ งมีคุณภาพ โดยเนน้ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา นอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใน 4 ประเดน็ ใหญ่ ไดแ้ ก่ การจัดการเรียนรู้คณุ ภาพ การสรา้ งสมรรถนะและทักษะคุ ณภาพ องคก์ ร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ คณุ ภาพและการบริหารจัดการคุณภาพ อนั จะนาไปสกู่ ารสรา้ งโอกาสและลดความเหลือ่ มลา้ ทางการศกึ ษา การ ยกระดบั คุณภาพและเพ่ิมประสทิ ธิภาพการใหบ้ รกิ ารสาหรบั กลุ่มเปา้ หมายทุกกลมุ่ และสร้างความพงึ พอใจ ให้กบั ผูเ้ รยี น ผรู้ ับบริการ หลักการ กศน.เพือ่ ประชาชน “ก้าวใหม่ : กา้ วแหง่ คุณภาพ” ซ่ึงได้กาหนดนโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ2565 ดงั นี้ 1.ดา้ นการจัดการเรียนรู้คณุ ภาพ 1.1 นอ้ มนาพระบรมราโชบายสกู่ ารปฏิบัตริ วมทง้ั สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการดาเนนิ งาน โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริทกุ โครงการ และโครงการอันเก่ยี วเน่อื งจากราชวงศ์ 1.2 ขบั เคลือ่ นการจดั การเรยี นรทู้ ีส่ นองตอบยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละนโยบายและจดุ เน้นการ ดาเนนิ งานของสานักงาน กศน.และกระทรวงศกึ ษาธิการ 1.3 สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาเพอ่ื เสรมิ สร้างความมนั่ คง การสรา้ งความเขา้ ใจท่ถี กู ต้องในการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การเรยี นรทู้ ี่ปลกู ฝังคุณธรรมจรยิ ธรรม สรา้ งวนิ ัย จิตสาธารณะ และอดุ มการณ์ ความยึดมน่ั ในสถาบันหลักของชาติ รวมถงึ การมีจติ อาสา ผ่านกิจกรรมต่างๆ 1.4 ปรับปรงุ หลักสตู รทกุ ระดับทกุ ประเภทใหส้ อดรบั กับการพัฒนาคน ทศิ ทางการพฒั นา ประเทศ สอดคลอ้ งกับบรบิ ททเี่ ปลี่ยนแปลง ความตอ้ งการและความหลากหลายของผู้เรียน/ผู้รับบริการ รวมถึง

19 ปรบั ลด ความหลากหลายและความซ้าซอ้ นของหลกั สูตร เชน่ หลักสูตรการศกึ ษาสาหรับกล่มุ เปา้ หมายบนพ้นื ที่ สูง และพน้ื ทีช่ ายแดน รวมทัง้ กลุ่มชาติพนั ธุ์ต่างๆ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผลและประเมินผลโดยเนน้ การใช้เทคโนโลยีเปน็ เคร่อื งมอื ใหผ้ เู้ รยี น สามารถเขา้ ถึงการประเมนิ ผลการเรยี นรไู้ ด้ตามความต้องการ เพือ่ การสรา้ งโอกาสในการเรยี นรใู้ หค้ วามสาคัญ กบั การเทยี บระดับการศกึ ษาและการเทียบโอนความร้แู ละประสบการณ์ พฒั นาระบบการประเ มินสมรรถนะ ผ้เู รยี น ใหต้ อบโจทยก์ ารประเมนิ ในระดับประเทศและระดับสากล 1.6 สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการจดั หลกั สตู รการเรยี นรใู้ นระบบออนไลน์ดว้ ยตนเองครบ วงจร ต้ังแตก่ ารลงทะเบียนจนการประเมนิ ผลเม่ือจบหลักสตู ร ท้งั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน การศกึ ษาต่อเ นอ่ื ง และการศึกษาตามอัธยาศยั เพือ่ เปน็ การสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรใู้ ห้กับ กลุม่ เปา้ หมายท่สี ามารถเรียนรู้ไดส้ ะดวก และตอบโจทย์ความต้องการของผู้เรยี นได้อย่างหลากหลาย 1.7 พฒั นา Digital Learning Platform แพลตฟอรม์ การเรียนร้ขู องสานกั งาน กศน . ตลอดจนพฒั นาสอ่ื สาร การเรยี นรูท้ ้งั ในรปู แบบออนไลน์และออฟไลน์ และใหม้ ีคลังส่ือการเรยี นรู้ ง่ายตอ่ การ สบื ค้นและนาไปใช้ในการจดั การเรียนรูไ้ ดอ้ ย่างถูกตอ้ งตามกฎหมาย 1.8 พฒั นาระบบนเิ ทศการศกึ ษา การกากับ ติดตาม ท้ังในระบบ On-Site และ Online รวมท้งั ส่งเสริมการวิจยั เพ่ือเป็นฐานในการพฒั นาการดาเนินงานการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั 2. ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชวี ติ ทเี่ นน้ การพฒั นาทักษะทจ่ี าเปน็ สาหรับแต่ละชว่ งวัย และการจดั การศึกษาและการเรียนรทู้ เี่ หมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบรบิ ทพน้ื ที่ 2.2 พฒั นาหลักสตู รอาชีพระยะสั้นทเ่ี นน้ New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับ บริบทพน้ื ที่ ความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และกล่มุ อาชพี ใหมท่ ่รี องรับ DisruptiveTechnology 2.3 ยกระดับผลติ ภณั ฑส์ นิ คา้ บริการจากโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน ท่เี น้น “ส่งเสริม ความรู้ สรา้ งอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี” ใหม้ ีคุณภาพมาตรฐานเปน็ ทยี่ อมรบั ของตลาด ตอ่ ยอด ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ เพ่อื สร้างมูลคา่ เพมิ่ พัฒนาสวู่ ิสาหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพิม่ ชอ่ งทางประชาสัมพนั ธ์และ ช่องทางการจาหนา่ ย 2.4 สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาของผู้สงู อายุเพือ่ ใหเ้ ปน็ Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดารงชวี ติ ทีเ่ หมาะกับช่วงวยั 2.5 ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาทพ่ี ัฒนาทักษะทจี่ าเป็นสาหรับกลุ่มเป้าหมายพิเศษ เชน่ ผพู้ ิการ ออทิสติก เดก็ เรร่ อ่ น และผูด้ อ้ ยโอกาสอนื่ ๆ 2.6 สง่ เสรมิ การพัฒนาทกั ษะดจิ ทิ ัลและทักษะดา้ นภาษาใหก้ ับบุคลากร กศน .และผเู้ รียนเพือ่ รองรับการพัฒนาประเทศ 2.7 ส่งเสรมิ การสรา้ งนวตั กรรมของผเู้ รียน กศน. 2.8 สรา้ งอาสาสมคั ร กศน.เพ่ือเปน็ เครือข่ายในการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดการศึกษาตลอด ชวี ิตรองรบั การพฒั นาประเทศ 2.9 สง่ เสรมิ การสรา้ งและพัฒนานวัตกรรมของบคุ ลากร กศน .รวมท้ังรวบรวมและเผยแพร่ เพือ่ ใหห้ นว่ ยงาน/สถานศึกษา นาไปใช้ในการพัฒนากระบวนการเรยี นรูร้ ว่ มกนั

20 3. ดา้ นองค์กร สถานศึกษาและแหลง่ เรียนรูค้ ณุ ภาพ 3.1 ยกระดับมาตรฐาน กศน .ตาบลและศูนยก์ ารเรียนรชู้ ุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง (ศศช.)” ให้เป็นพืน้ ทก่ี ารเรียนรตู้ ลอดชีวติ ที่สาคัญของชุมชน 3.2 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน เนน้ Library Delivery เพือ่ เพิม่ อตั รการอา่ น และการรู้หนงั สอื ของประชาชน 3.3 ประสานการ จดั กจิ กรรมและการให้บรกิ ารการศึกษารว่ มกบั ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์จงั หวดั กาญจนบรุ ี โดยใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ เครอ่ื งมอื นาวิทยาศาสตร์สชู่ ีวติ ประจาวันในทุกครอบครัว 3.4 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การสรา้ งพ้นื ท่กี ารเรียนร้ใู นรูปแบบ Public Learning Space/Co- learning Space เพ่ือการสร้างนิเวศการเรยี นรูใ้ หเ้ กิดขึน้ สงั คม 4. ด้านการบรหิ ารคุณภาพ 4.1 การพฒั นาบุคลากรทุกระดบั ใหม้ ีความรแู้ ละทักษะตามมาตรฐานตาแหน่งให้ตรงกบั สาย งาน และทักษะที่จาเป็นในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ 4.2 ปรับปรุงระบบการจดั สรรทรัพยากรเพือ่ การศึกษาให้มคี วามครอบคลุมเหมาะสม 4.3 ปรับปรงุ ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศกึ ษาเพื่อการบรหิ ารจัดการอย่างเปน็ ระบบ เช่น ขอ้ มูล การรายงานผลการดาเนนิ งาน ขอ้ มลู เดก็ ตกหล่นจากการศึกษาในระบบ เดก็ เรร่ อ่ น ผู้พกิ าร 4.4 สง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครอ่ื งมือในการบริหารจัดการอย่างเต็มรูปแบบ 4.5 ส่งเสริมพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คุณภาพ และความโปรง่ ใสการดาเนนิ งานของภาครฐั (ITA) 4.6 เสรมิ สร้างขวัญและกาลงั ใจให้กับขา้ ราชการและบคุ ลากรทุกประเภทในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ ประกาศเกยี รตคิ ณุ การมอบโล่/วุฒบิ ตั ร 4.7 สง่ เสริมการมสี ่ วนรว่ มของภาคเี ครือข่ายทุกภาคส่วน เพือ่ สร้างความพร้อมในการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิตสาหรบั ประชาชน

21 บทท่ี 3 วิเคราะห์ข้อมูล (SWOT) ทิศทางการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบรุ ี สานักงาน กศน .จังหวดั กาญจนบรุ ี ไดก้ าหนดทิศทางการดาเนินงานปี 2565 โดยใช้การ วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) ในการกาหนดจุดแขง็ และจดุ ออ่ นจากสภาพแวดล้อม ภายในหน่วยงาน รวมทง้ั โอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกหนว่ ยงาน อันเป็นปัจจยั ต่อการ ดาเนนิ งานของหนว่ ยงาน เพอ่ื นาผลไปใชใ้ นการกาหนดทิศทางการดาเนินงานของหนว่ ยงานซ่ึงได้ผลการ ประเมินสถานการณว์ ิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มและศักยภาพพร้อมกาหนดเปา้ หมายการดาเนินงานของหน่วยงาน ดงั น้ี 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) 2. ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษาของสานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบรุ ี การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) จุดแขง็ จุดออ่ น 1. มีโครงสร้างการบริหารงานและการมอบหมาย 1. อตั รากาลังของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา ไม่ งานที่ ชดั เจน เป็นไป ตามโครงสร้าง ทาใหก้ ารบรรจแุ ตง่ ตั้ง 2. มกี ารสง่ เสริมสนับสนนุ และอบรมพฒั นาบุคลากร บุคลากรไม่ เพียงพอตามกรอบอตั รากาลงั สง่ ผลให้ อยา่ งตอ่ เนื่อง การ ปฏบิ ตั งิ านไม่ต่อเนอ่ื ง 3. มกี ารนเิ ทศติดตามและพฒั นางาน 2. บคุ ลากร/ครูผู้สอน จบการศกึ ษาไม่ตรงสาขาใน 4. มีการสารวจกลุ่มเป้าหมายเพ่อื จัดการเรยี น การ ปฏบิ ัตงิ าน ขาดความรู้/เชยี่ วชาญเฉพาะด้าน การสอน 3. บคุ ลากรขาดขวญั และกาลงั ใจในการปฏบิ ตั ิงาน 5. มีบรกิ ารจดุ เช่อื มโยง ภาคเี ครอื ข่าย และ และ ขาดความมัน่ คงในอาชีพ ใหบ้ รกิ าร เชิงรุกถงึ กลมุ่ เปา้ หมาย ตอบสนองต่อ 4. งบประมาณในการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัยมี ความต้องการ ของประชาชน น้อย โดยเฉพาะหอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั 6. บคุ ลากรมีความรู้ความสามารถท่หี ลากหลาย โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี ยึดมนั่ ในจรรยาบรรณ วชิ าชีพครู มีความรับผิดชอบ เสยี สละ พร้อม ปฏบิ ตั ิงานตามนโยบายครอบคลมุ ทุก พื้นที่ และ ไดร้ ับการพฒั นาอย่างต่อเน่ือง ภาคี เครอื ข่าย ยอมรบั ในศกั ยภาพ 7. มรี ะบบเบกิ จา่ ยที่มปี ระสิทธภิ าพ มีความ นา่ เชื่อถอื โดยใชร้ ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในการ สนับสนุน การดาเนนิ งานและมรี ะเบียบกฎเกณฑ์ คู่มอื แบบฟอรม์ การเบกิ จ่ายท่ชี ดั เจน โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าลและมีภาคเี ครือข่ายใหก้ ารสนบั สนุน

22 จุดแข็ง จดุ ออ่ น 8. มีอาคารสถานทีท่ เี่ หมาะสม เป็นสัดส่วน 1. อัตรากาลังของหน่วยงานและสถานศึกษา ไม่ 9. ใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และ เป็นไป ตามโครงสร้าง ทาใหก้ ารบรรจุแตง่ ต้ัง ปรชั ญาคดิ เป็น บคุ ลากรไม่ เพยี งพอตามกรอบอตั รากาลังสง่ ผลให้ 10. มีการบรหิ ารจดั การที่เปน็ ระบบและตรวจสอบ การ ปฏบิ ัติงานไมต่ อ่ เนอื่ ง ได้ เช่น ระบบประกนั คุณภาพ 2. บคุ ลากร/ครูผสู้ อน จบการศกึ ษาไม่ตรงสาขาใน 11. มีการทางานเปน็ ทมี การ ปฏบิ ัตงิ าน ขาดความรู้/เช่ยี วชาญเฉพาะดา้ น 3. บคุ ลากรขาดขวญั และกาลงั ใจในการปฏบิ ตั ิงาน โอกาส และ ขาดความมนั่ คงในอาชพี 4. งบประมาณในการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั มี น้อย โดยเฉพาะห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั อปุ สรรค 1. มภี าคีเครอื ข่ายทเ่ี ข้มแขง็ และมีสว่ นรว่ มในการจดั 1. เกดิ โรคระบาด โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 กิจกรรม (COVID-19) สง่ ผลกระทบตอ่ การดาเนนิ งานอยา่ ง 2. มอี าสาสมัครในชุมชนท่ชี ว่ ยเหลือการดาเนนิ งาน ต่อเนอื่ ง กศน. 2. สภาวะเศรษฐกิจของผู้เรียน/ผรู้ บั บรกิ ารไมเ่ อ้ือ 3. มกี ารผลติ สอื่ นวตั กรรมด้านเทคโนโลยีท่ี ตอ่ การทากิจกรรมกลุ่มเปา้ หมายท่เี รยี นกบั กศน. หลากหลายช่วยใน การจัดการเรยี นการสอน อพยพไปใช้แรงงานตา่ งถน่ิ 3. นโยบายส่วนกลางมกี ารเปลีย่ นแปลงบอ่ ยทาให้ การดาเนินงานไม่ต่อเนอ่ื ง 4. กฎ ระเบยี บ วา่ ด้วยงาน กศน. ยังไมเ่ อือ้ ตอ่ การ จดั การศึกษาของ กศน. ส่งผลต่อการดาเนินงานใน ด้านอื่นๆ 5. ทกั ษะด้านฝีมือแรงงาน การประกอบอาชพี ยงั ตอ้ ง มีการพฒั นาให้มีทักษะตรงกบั ความต้องการ ของ ตลาดแรงงาน 6. ครุภัณฑไ์ มเ่ พยี งพอ ขาดงบประมาณในการจดั ซอื้ สื่อเทคโนโลยี จากการประเมินสถานการณข์ องหน่วยงาน โดยการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) หนว่ ยงานควรเสริมสรา้ งการทางานเปน็ ทีมเพ่มิ ประสิทธภิ าพของบุคลากรในการปฏบิ ตั ิงานให้เปน็ ไป อย่างตอ่ เนอื่ งและควรสร้างระบบการจดั การความรูข้ ององค์กรการพัฒนางานใหม้ ีคุณภาพและผลสมั ฤทธ์ยิ ่งิ ขน้ึ และพัฒนาคนโดยเฉพาะผปู้ ฏบิ ตั ิงาน โดยมกี ระบวนการจดั การความร้เู ป็นเครอ่ื งมอื ควบคกู่ บั การใหภ้ าคี เครือข่ายมีสว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรม สานกั งาน กศน .จงั หวดั กาญจนบุรี กาหนดทิศทางการดาเนนิ งานของ หนว่ ยงาน ได้แก่ ปรชั ญา วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ และกลยทุ ธ์ ดงั น้ี

23 ปรชั ญา มุ่งมน่ั พัฒนาบคุ ลากรใหม้ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ สามารถจดั กิจกรรมการเรียนรู้หลากหลาย รูปแบบ โดยการทางานรว่ มกบั ภาคีเครอื ขา่ ย วสิ ัยทัศน์ “ประชาชนจงั หวัดกาญจนบุรีได้รับโอกาสการศึกษาและการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตอยา่ งมีคุณภาพ สามารถดารงชีวติ ทเ่ี หมาะสมกบั ชว่ งวัย บนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” พนั ธกจิ 1. จัดและสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่ีมีคณุ ภาพ สอดคลอ้ งกับ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกจิ และสงั คม เพื่อยกระดบั การศึกษาและ พฒั นาสมรรถนะ ทกั ษะการเรยี นรูข้ องประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายใหเ้ หมาะสมในแตล่ ะชว่ งวัย ให้พร้อมรบั การ เปลี่ยนแปลงและการปรบั ตัวในการดารงชวี ิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กา้ วสู่การเปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต อยา่ งยั่งยนื 2. พัฒนาหลกั สตู ร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื และนวตั ิกรรมเทคโนโลยีทาง การศกึ ษา การวดั และประเมนิ ผลในทกุ รปู แบบใหม้ คี ุณภาพและมาตรฐานสอดคลอ้ งกบั รปู แบบการจดั การ เรียนรู้และบรบิ ทของหน่วยงานของสถานศึกษา 3. ส่งเสริมและพฒั นาเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และนาเทคโนโลยมี าพฒั นาเพอ่ื เพมิ่ ช่องทาง และโอกาส การเรียนรู้ รวมถงึ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการจดั และให้บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง 4. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ แสวงหาและประสานความร่วมมือเชิงรกุ กบั ภาคีเครอื ขา่ ย ใหเ้ ขา้ มามี สว่ นร่วม ในการสนบั สนุนและจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ ใน รูปแบบต่างๆ ใหก้ บั ประชาชน 5. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภายในองค์ กรใหม้ เี อกภาพ เพอ่ื การบรหิ ารราชการท่ดี ีบน หลกั ของธรรมมาภบิ าล มปี ระสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลและคล่องตัวมากยิ่งขึ้น 6. ยกระดับการบริหารและการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรให้มคี วามรู้ ทกั ษะ สมรรถนะ คุณธรรม และจรยิ ธรรมท่ดี ี เพ่อื เพมิ่ ประสิทธภิ าพของการให้บริการทางการศึกษาและก ารเรียนรู้ทีม่ ีคณุ ภาพ มากย่ิงขึ้น นโยบายและจดุ เน้นการดาเนินงานของ กศน.อาเภอทา่ มะกา ตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ได้กาหนดแผนแม่บทประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพคน ตลอดชว่ งชวี ติ โดยมแี ผนย่อยทเ่ี กย่ี วข้องกบั การใช้การศึกษาเปน็ เคร่อื งมอื ในการขับเคลื่อนไดแ้ ก่ การพฒั นา ศกั ยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต ทีม่ ุง่ เน้นการสรา้ งสภาพแวดล้อมที่เอ้อื ตอ่ การพัฒนา และเสริมสรา้ งศกั ยภาพมนษุ ย์ การพัฒนาเดก็ ตั้งแตช่ ่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน /วยั รุ่น การพัฒนาและยกระดบั ศกั ยภาพวยั แรงงาน รวมถึงการสง่ เสริมศักยภาพวยั ผู้สูงอายุ การพัฒนาการเรียนรู้ ทีต่ อบสนองต่อการ เปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 และพหุปญั ญาของมนษุ ยท์ ่หี ลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏิรปู ประเทศด้าน การศึกษา นโยบายรฐั บาลทัง้ ในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรู้ และการพัฒนาศกั ยภาพ คนตลอดชว่ งชีวติ และนโยบายเรง่ ดว่ นเร่อื ง การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นโยบายและจุดเน้นการ

24 ดาเนนิ งานสานักงาน กศน .ประจาปี 2565 ตลอดจนแผนพฒั นาประเทศอ่ืนๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เช่น แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 12 (พ.ศ.2560-2568) โดยคาดหวังว่าการพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ ง ชวี ิตจะได้รับการพฒั นาการเรียนรู้ ให้เปน็ คนดี คนเก่งมคี ุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศสู่ความมน่ั คง ม่งั ค่งั และย่งั ยนื กศน.อาเภอท่ามะกา เปน็ สถานศกึ ษาทีม่ ภี ารกิจในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของการพฒั นาคนตลอดช่วงชวี ิต ไดม้ ุ่งม่ันขบั เคล่ือนภารกจิ หลักตาม แผนพัฒนาประเทศ และนโยบาย และจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคานึงถึงหลกั การบรหิ ารจัดการท้ังใน เร่ืองหลกั ธรรมาภิบาล หลักการกระจายอานาจ การใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร การ ม่งุ เนน้ ผลสัมฤทธ์ิ และปฏิบตั กิ ารด้านขอ้ มลู ขา่ วสาร การ สรา้ งบรรยากาศในการทางานและการเรียนรู้ ตลอดจนการใช้ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอย่างมีคณุ ภาพ โดยเนน้ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษานอก ระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน การศึกษาต่อเนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใน 4 ประเด็นใหญ่ ได้แก่ การจดั การเรียนรู้คุณภาพ การสรา้ งสมรรถนะ และทักษะคณุ ภาพ องคก์ ร สถานศึกษา และแหล่งเรยี นรู้ คุณภาพและการบริหารจัดการคุณภาพ อนั จะนาไปสู่การสร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา การ ยกระดับคุณภาพและเพ่ิมประสิทธภิ าพการใหบ้ ริการสาหรับกลมุ่ เปา้ หมายทุกกลุม่ และสร้างความพึงพอใจ ใหก้ บั ผูเ้ รยี น ผู้รบั บรกิ าร หลกั การ กศน.เพือ่ ประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” ซง่ึ ไดก้ าหนดนโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ2565 ดงั นี้ 1.ด้านการจัดการเรยี นร้คู ณุ ภาพ 1.1 น้อมนาพระบรมราโชบายสกู่ ารปฏิบตั ิรวมท้ังสง่ เสริมและสนบั สนุนการดาเนนิ งาน โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริทุกโครงการ และโครงการอันเก่ียวเนื่องจากราชวงศ์ 1.2 ขบั เคล่อื นการจดั การเรียนร้ทู ่สี นองตอบยทุ ธศาสตร์ชาติและนโยบายและจดุ เน้นการ ดาเนินงานของสานักงาน กศน.และกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1.3 สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาเพ่ือเสรมิ สร้างความม่นั คง การสร้างความเขา้ ใจทถี่ ูกต้องในการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การเรียนรูท้ ปี่ ลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดมน่ั ในสถาบนั หลกั ของชาติ รวมถึงการมจี ิตอาสา ผ่านกจิ กรรมต่างๆ 1.4 ปรบั ปรงุ หลกั สูตรทกุ ระดบั ทกุ ประเภทใหส้ อดรบั กบั การพฒั นาคน ทศิ ทางการพฒั นา ประเทศ สอดคล้องกบั บรบิ ทที่เปลยี่ นแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ผู้รบั บริการ รวมถึง ปรบั ลด ความหลากหลายและความซา้ ซอ้ นของหลกั สตู ร เช่น หลกั สูตรการศกึ ษาสาหรบั กล่มุ เป้าหมายบนพื้นท่ี สูง และพืน้ ท่ชี ายแดน รวมท้ังกล่มุ ชาตพิ ันธ์ุต่างๆ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วดั ผลและประเมินผลโดยเน้นการใช้เทคโนโลยเี ปน็ เคร่ืองมอื ให้ผเู้ รยี น สามารถเขา้ ถงึ การประเมนิ ผลการเรยี นรไู้ ดต้ ามความต้องการ เพอื่ การสร้างโอกาสในการเรียนรใู้ ห้ความสาคัญ กับการเทียบระดบั การศึกษาและการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเ มนิ สมรรถนะ ผู้เรยี น ให้ตอบโจทย์การประเมนิ ในระดับประเทศและระดบั สากล 1.6 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยใี นการจดั หลกั สูตรการเรียนรใู้ นระบบออนไลนด์ ว้ ยตนเองครบ วงจร ตั้งแตก่ ารลงทะเบยี นจนการประเมนิ ผลเม่ือจบหลกั สตู ร ทง้ั การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน การศกึ ษาตอ่ เ นื่อง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั เพอ่ื เปน็ การสรา้ งและขยายโอกาสในการเรียนรใู้ ห้กบั กลมุ่ เปา้ หมายทสี่ ามารถเรียนรู้ได้สะดวก และตอบโจทย์ความตอ้ งการของผู้เรียนไดอ้ ย่างหลากหลาย

25 1.7 พฒั นา Digital Learning Platform แพลตฟอรม์ การเรียนรขู้ องสานักงาน กศน . ตลอดจนพัฒนาสือ่ สาร การเรยี นรูท้ ้ังในรปู แบบออนไลนแ์ ละออฟไลน์ และให้มีคลงั สื่อการเรียนรู้ ง่ายต่อการ สืบค้นและนาไปใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ได้อยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมาย 1.8 พฒั นาระบบนิเทศการศกึ ษา การกากับ ตดิ ตาม ทั้งในระบบ On-Site และ Online รวมทงั้ ส่งเสริมการวจิ ัยเพื่อเปน็ ฐานในการพัฒนาการดาเนินงานการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั 2. ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวิตท่เี น้นการพัฒนาทักษะทจ่ี าเป็นสาหรับแต่ละช่วงวัย และการจัดการศึกษาและการเรียนรทู้ เ่ี หมาะสมกบั แตล่ ะกล่มุ เปา้ หมายและบรบิ ทพนื้ ท่ี 2.2 พัฒนาหลักสตู รอาชีพระยะสน้ั ที่เนน้ New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกบั บรบิ ทพนื้ ที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลมุ่ อาชีพใหมท่ ่รี องรับ DisruptiveTechnology 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้า บรกิ ารจากโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน ทเ่ี นน้ “สง่ เสริม ความรู้ สร้างอาชพี เพ่มิ รายได้ และมคี ณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี” ให้มคี ณุ ภาพมาตรฐานเป็นทีย่ อมรบั ของตลาด ตอ่ ยอด ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน เพอ่ื สรา้ งมลู ค่าเพม่ิ พฒั นาสู่วิสาหกจิ ชมุ ชน ตลอดจนเพ่ิมชอ่ งทางประชาสมั พันธแ์ ละ ช่องทางการจาหนา่ ย 2.4 ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาของผสู้ ูงอายุเพ่อื ใหเ้ ป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดารงชีวิตทเ่ี หมาะกับช่วงวัย 2.5 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาทพ่ี ัฒนาทกั ษะที่จาเป็นสาหรบั กลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ เชน่ ผพู้ ิการ ออทิสตกิ เด็กเร่ร่อน และผู้ดอ้ ยโอกาสอื่นๆ 2.6 ส่งเสรมิ การพฒั นาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน .และผู้เรียนเพ่อื รองรับการพัฒนาประเทศ 2.7 ส่งเสริมการสรา้ งนวัตกรรมของผู้เรียน กศน. 2.8 สร้างอาสาสมัคร กศน.เพื่อเป็นเครอื ขา่ ยในการสง่ เสรมิ สนับสนุนการจดั การศึกษาตลอด ชวี ิตรองรับการพัฒนาประเทศ 2.9 ส่งเสรมิ การสรา้ งและพฒั นานวตั กรรมของบุคลากร กศน .รวมทง้ั รวบรวมและเผยแพร่ เพื่อให้หน่วยงาน/สถานศึกษา นาไปใชใ้ นการพัฒนากระบวนการเรียนรรู้ ว่ มกนั 3. ด้านองคก์ ร สถานศึกษาและแหล่งเรียนรคู้ ณุ ภาพ 3.1 ยกระดับมาตรฐาน กศน .ตาบลและศูนย์การเรยี นร้ชู ุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ ห ลวง (ศศช.)” ใหเ้ ปน็ พน้ื ที่การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ที่สาคัญของชุมชน 3.2 ปรับรูปแบบกิจกรรมในหอ้ งสมุดประชาชน เนน้ Library Delivery เพอ่ื เพิม่ อตั รการอา่ น และการรหู้ นังสือของประชาชน 3.3 ประสานการจดั กจิ กรรมและการใหบ้ รกิ ารการศึกษารว่ มกบั ศูนยว์ ิทยาศาสตรจ์ งั หวัด กาญจนบุรี โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เคร่ืองมอื นาวทิ ยาศาสตรส์ ชู่ วี ติ ประจาวันในทุกครอบครัว 3.4 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การสร้างพนื้ ทก่ี ารเรียนร้ใู นรูปแบบ Public Learning Space/Co- learning Space เพ่ือการสร้างนิเวศการเรียนรูใ้ ห้เกดิ ข้นึ สังคม

26 4. ด้านการบริหารคณุ ภาพ 4.1 การพัฒนาบุคลากรทกุ ระดบั ให้มคี วามรแู้ ละทกั ษะตามมาตรฐานตาแหนง่ ให้ตรงกับสาย งาน และทกั ษะทจ่ี าเปน็ ในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ 4.2 ปรบั ปรงุ ระบบการจัดสรรทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษาใหม้ ีความครอบคลมุ เหมาะสม 4.3 ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษาเพื่อการบริหารจัดการอย่ างเป็นระบบ เช่น ขอ้ มูล การรายงานผลการดาเนนิ งาน ขอ้ มลู เด็กตกหลน่ จากการศึกษาในระบบ เดก็ เรร่ อ่ น ผู้พิการ 4.4 สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นเคร่ืองมือในการบริหารจัดการอย่างเต็มรปู แบบ 4.5 ส่งเสริมพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประ เมนิ คุณภาพ และความโปรง่ ใสการดาเนินงานของภาครฐั (ITA) 4.6 เสรมิ สรา้ งขวัญและกาลงั ใจให้กบั ขา้ ราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบตา่ งๆ เช่น ประกาศเกยี รติคณุ การมอบโล่/วฒุ บิ ัตร 4.7 สง่ เสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคสว่ น เพือ่ สรา้ งความพร้อมในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตสาหรบั ประชาชน ทิศทางการดาเนนิ งาน กศน.อาเภอทา่ มะกา กศน .อาเภอท่ามะกา ไดก้ าหนดทศิ ทางการดาเนินงานปี 2565 โดยใชก้ ารวเิ คราะห์ สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกาหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดลอ้ มภายใน หนว่ ยงาน รวมทงั้ โอกาสและอปุ สรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงาน อันเป็นปัจจัยตอ่ การดาเนินงาน ของหน่วยงาน เพอื่ นาผลไปใชใ้ นการกาหนดทศิ ทางการดาเนนิ งานของหน่วยงานซึ่งได้ผลการประเมนิ สถานการณว์ ิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มและศักยภาพพร้อมกาหนดเป้าหมายการดาเนนิ งานของหน่วยงาน ดังนี้ 1. การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) 2. ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษาของ กศน.อาเภอท่ามะกา การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) จุดแข็ง จดุ ออ่ น 1. มีโครงสร้างการบรหิ ารงานและการมอบหมาย 1. บุคลากร/ครผู ู้สอน จบการศึกษาไม่ตรงสาขาใน งานท่ี ชดั เจน การ ปฏบิ ตั ิงาน ขาดความรู้/เชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น 2. มีการส่งเสริมสนับสนุนและอบรมพฒั นาบคุ ลากร 2. บคุ ลากรขาดขวญั และกาลงั ใจในการปฏบิ ัตงิ าน อย่างต่อเนอ่ื ง และ ขาดความมน่ั คงในอาชพี 3. มีการนเิ ทศติดตามและพฒั นางาน 4. งบประมาณในการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มี 4. มกี ารสารวจกลุม่ เปา้ หมายเพื่อจัดการเรียน นอ้ ย การสอน 5. มีบริการจดุ เชอื่ มโยง ภาคเี ครือขา่ ย และ ให้บริการ เชิงรุกถงึ กลมุ่ เป้าหมาย ตอบสนองต่อ ความตอ้ งการ ของประชาชน 6. บุคลากรมีความรู้ความสามารถทีห่ ลากหลาย โดยเฉพาะดา้ นเทคโนโลยี ยดึ มนั่ ในจรรยาบรรณ

27 วชิ าชีพครู มีความรับผิดชอบ เสียสละ พร้อม จดุ อ่อน ปฏิบัตงิ านตามนโยบายครอบคลมุ ทกุ พ้ืนที่ และ ไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ภาคี เครอื ข่าย ยอมรบั ในศักยภาพ 7. มอี าคารสถานที่ที่เหมาะสม เปน็ สดั ส่วน 8. ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ปรชั ญาคิดเปน็ 9. มีการบรหิ ารจัดการท่เี ปน็ ระบบและตรวจสอบได้ เช่น ระบบประกนั คณุ ภาพ 10. มกี ารทางานเป็นทมี จุดแขง็ 11.มวี ิสัยทศั น์ท่ีชัดเจน อุปสรรค 12.คณะกรรมการสถานศกึ ษามีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา โอกาส 1. มภี าคเี ครอื ข่ายทีเ่ ข้มแข็งและมีสว่ นรว่ มในการจัด 1. เกิดโรคระบาด โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 กิจกรรม (COVID-19) ส่งผลกระทบตอ่ การดาเนินงานอย่าง 2. มีอาสาสมัครในชุมชนท่ชี ่วยเหลอื การดาเนินงาน ต่อเน่ือง กศน. 2. สภาวะเศรษฐกจิ ของผ้เู รยี น/ผู้รบั บรกิ ารไม่เอ้อื 3. มกี ารผลติ สือ่ นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีท่ี ตอ่ การทากิจกรรมกล่มุ เปา้ หมายทเ่ี รียนกบั กศน. หลากหลายช่วยใน การจดั การเรยี นการสอน อพยพไปใช้แรงงานต่างถน่ิ 4.มีภูมิปญั ญาแหลง่ เรยี นรตู้ ามชมุ ชน 3. นโยบายส่วนกลางมกี ารเปลยี่ นแปลงบอ่ ยทาให้ การดาเนนิ งานไมต่ อ่ เนอื่ ง 4. กฎ ระเบยี บ วา่ ด้วยงาน กศน. ยงั ไมเ่ อือ้ ตอ่ การ จัด การศกึ ษาของ กศน. ส่งผลตอ่ การดาเนนิ งานใน ดา้ นอนื่ ๆ 5. ทักษะด้านฝีมอื แรงงาน การประกอบอาชีพยัง ต้อง มีการพฒั นาให้มีทักษะตรงกับความตอ้ งการ ของ ตลาดแรงงาน 6. ครุภณั ฑไ์ มเ่ พียงพอ ขาดงบประมาณในการจัดซอ้ื ส่อื เทคโนโลยี 7.ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประชาชนใน ชมุ ชนมคี วามหลากหลายทางวฒั นธรรม จากการประเมินสถานการณข์ องหน่วยงาน โดยการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) หนว่ ยงานควรเสริมสร้างการทางานเป็นทมี เพ่ิมประสทิ ธิภาพของบคุ ลากรในการปฏบิ ตั ิงานให้เป็นไป อย่างตอ่ เน่อื งและควรสรา้ งระบบการจดั การความรูข้ ององค์กรการพัฒนางานใหม้ คี ุณภาพและผลสมั ฤทธ์ยิ งิ่ ข้นึ

28 และพฒั นาคนโดยเฉพาะผปู้ ฏบิ ตั งิ าน โดยมีกระบวนการจัดการความรเู้ ปน็ เครอ่ื งมือ ควบคูก่ บั การให้ภาคี เครือข่ายมสี ่วนร่วมในการจดั กิจกรรม กศน.อาเภอทา่ มะกา กาหนดทศิ ทางการดาเนินงานของหนว่ ยงาน ได้แก่ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ ตวั ช้ีวัด ความสาเรจ็ และกลยทุ ธ์ ดงั น้ี ปรัชญา เรยี นร้ตู ลอดชวี ติ คดิ เปน็ เนน้ คุณธรรม อตั ลักษณ์สถานศกึ ษา ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม วิสยั ทศั น์ “ มงุ่ มั่นจดั กิจกรรมให้ประชาชนไดร้ ับโอกาสการศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อย่างมี คุณภาพ สามารถดารงชวี ติ ท่เี หมาะสมกบั ชว่ งวัย บนพน้ื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอื่ ใหเ้ กดิ สังคมฐานความรคู้ ู่คณุ ธรรม” พันธกิจ 1. จัดและสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอั ธยาศยั ที่มคี ณุ ภาพ สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกจิ และสงั คม เพื่อยกระดับการศกึ ษาและ พัฒนาสมรรถนะ ทกั ษะการเรยี นรขู้ องประชาชนกลมุ่ เป้าหมายใหเ้ หมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั ให้พรอ้ มรบั การ เปลีย่ นแปลงและการปรับตวั ในการดารงชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กา้ วสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชวี ิต อยา่ งย่ังยืน 2. พฒั นาหลกั สตู ร รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สือ่ และนวัติกรรมเทคโนโลยีทาง การศึกษา การวัดและประเมนิ ผลในทุกรปู แบบใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจดั การ เรยี นร้แู ละบริบทของหนว่ ยงานของสถานศกึ ษา 3. สง่ เสรมิ และพฒั นาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพม่ิ ชอ่ งทาง และโอกาส การเรียนรู้ รวมถึงการเพิม่ ประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ใหก้ ับประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายอย่างท่ัวถงึ 4. ส่งเสริมสนับสนนุ แสวงหาและประสานความร่วมมือเชงิ รุกกบั ภาคเี ครือข่าย ใหเ้ ขา้ มามี ส่วนรว่ ม ในการสนับสนุนและจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ใน รูปแบบต่างๆ ใหก้ ับประชาชน 5. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภายในองค์กรให้มเี อกภาพ เพอ่ื การบรหิ ารราชการทีด่ บี น หลักของธรรมมาภิบาล มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและคลอ่ งตวั มากย่งิ ข้ึน 6. ยกระดบั การบรหิ ารและการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ สมรรถนะ คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมที่ดี เพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพของการใหบ้ รกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรทู้ ม่ี คี ุณภาพ มากยงิ่ ขนึ้

29 จดุ แข็ง จดุ ออ่ น 1. มโี ครงสรา้ งการบริหารงานและการมอบหมาย 1. อตั รากาลงั ของหนว่ ยงานและสถานศึกษา ไม่ งานท่ี ชดั เจน เปน็ ไป ตามโครงสร้าง ทาให้การบรรจแุ ต่งต้งั 2. มีการสง่ เสรมิ สนบั สนุนและอบรมพัฒนาบุคลากร บุคลากรไม่ เพยี งพอตามกรอบอตั รากาลังสง่ ผลให้ อยา่ งตอ่ เนื่อง การ ปฏบิ ตั งิ านไมต่ ่อเน่ือง 3. มีการนิเทศติดตามและพัฒนางาน 2. บุคลากร/ครูผู้สอน จบการศึกษาไม่ตรงสาขาใน 4. มีการสารวจกลุ่มเป้าหมายเพื่อจดั การเรียน การ ปฏบิ ัติงาน ขาดความรู้/เชี่ยวชาญเฉพาะดา้ น การสอน 3. บคุ ลากรขาดขวัญและกาลงั ใจในการปฏิบัตงิ าน 5. มีบริการจุดเชื่อมโยง ภาคเี ครือข่าย และ และ ขาดความมนั่ คงในอาชีพ ให้บริการ เชิงรุกถึงกลมุ่ เป้าหมาย ตอบสนองต่อ 4. งบประมาณในการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั มี ความต้องการ ของประชาชน น้อย โดยเฉพาะห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั 6. บุคลากรมีความร้คู วามสามารถทีห่ ลากหลาย โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี ยดึ มนั่ ในจรรยาบรรณ วชิ าชพี ครู มีความรบั ผิดชอบ เสียสละ พรอ้ ม ปฏิบัตงิ านตามนโยบายครอบคลมุ ทุก พืน้ ท่ี และ ได้รบั การพฒั นาอย่างต่อ เนอ่ื ง ภาคี เครอื ขา่ ย ยอมรบั ในศกั ยภาพ 7. มรี ะบบเบิกจ่ายทม่ี ีประสิทธภิ าพ มคี วาม น่าเช่อื ถอื โดยใชร้ ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในการ สนบั สนนุ การดาเนินงานและมรี ะเบยี บกฎเกณฑ์ ค่มู ือ แบบฟอร์มการเบกิ จา่ ยทชี่ ดั เจน โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าลและมีภาคเี ครอื ขา่ ยใหก้ ารสนบั สนนุ การ ดาเนินงานของ กศน. 8. มอี าคารสถานทที่ ี่เหมาะสม เปน็ สัดส่วน 9. ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และ ปรชั ญาคดิ เปน็ 10. มีการบรหิ ารจดั การทเ่ี ปน็ ระบบและตรวจสอบ ได้ เชน่ ระบบประกันคณุ ภาพ 11. มกี ารทางานเป็นทมี โอกาส อุปสรรค 1. มีภาคีเครือข่ายทีเ่ ข้มแข็งและมีสว่ นร่วมในการจดั 1. เกดิ โรคระบาด โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 กิจกรรม (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อการดาเนนิ งานอยา่ ง 2. มีอาสาสมคั รในชุมชนที่ชว่ ยเหลอื การดาเนินงาน ต่อเน่อื ง กศน. 2. สภาวะเศรษฐกิจของผเู้ รียน /ผรู้ บั บริการไมเ่ ออื้ 3. มกี ารผลิตสื่อ นวตั กรรมดา้ นเทคโนโลยีท่ี ตอ่ การทากิจกรรมกลุ่มเปา้ หมายทีเ่ รียนกบั กศน . หลากหลายช่วยใน การจดั การเรียนการสอน อพยพไปใช้แรงงานตา่ งถิน่ 3. นโยบายสว่ นกลางมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยทาให้

30 การดาเนินงานไมต่ อ่ เนื่อง 4. กฎ ระเบยี บ วา่ ด้วยงาน กศน . ยังไม่เอ้อื ต่อการ จัด การศึกษาของ กศน . ส่งผลต่อการดาเนินงานใน ด้านอื่นๆ 5. ทักษะดา้ นฝีมอื แรงงาน การประกอบอาชพี ยงั ต้อง มกี ารพัฒนาให้มีทกั ษะตร งกบั ความต้องการ ของ ตลาดแรงงาน 6. ครุภณั ฑ์ไมเ่ พยี งพอ ขาดงบประมาณในการจัดซอ้ื สอื่ เทคโนโลยี

31 ๓.๒ สรุปสภาพปญั หาความตอ้ งการ สาเหตุ และแนวทางแก้ไข สภาพปญั หา/ความต้องการ สาเหตุ แนวทางแก้ไข/พฒั นา 1. ประชาชนในตาบลขาดความ ขอ้ อ้างในดา้ นเวลา การประกอบ 1. มีการประชาสมั พันธ์เพอื่ ให้ ตระหนัก และไมค่ ่อยใหค้ วามสนใจ อาชพี ประชาชนตระหนักถึงความสาคัญ ดา้ นการศึกษาเทา่ ท่ีควร ของการจดั การศึกษาโดยการออก หน่วยประชาสมั พันธ์เคล่ือนที่ รับ สมัครนักศึกษาครอบคลมุ ทกุ พน้ื ท่ี 2. ประสานความรว่ มมือกับผ้นู า ทอ้ งถิน่ และทอ้ งทีใ่ นการ ประชาสัมพนั ธ์การรับสมัคร นกั เรียน 3. ปัญหาดา้ นการประกอบอาชพี เกดิ ภาวะโรคระบาดโรคติดเชือ้ ไวรสั 3. จัดกิจกรรมโครงการศนู ยฝ์ กึ ของประชาชน COVID-19 ส่งผลกระทบทาให้ อาชีพชุมชน เพอื่ ฝกึ อาชพี ระยะสั้น -ประชาชนสว่ นใหญ่ในตาบล ประชาชนบางสว่ นตกงาน ไมม่ ีงาน ใหผ้ ้ทู ส่ี นใจเรยี น หวายเหนยี วสว่ นใหญป่ ระกอบ ทา รายได้ไม่เพียงพอในการดารง อาชพี โรงงานอตุ สาหกรร/มทาไร/่ ชพี ทาสวน/คา้ ขาย 4. จานวนผสู้ งู อายุในชมุ ชนมี ขาดความรู้ความเข้าใจในเรือ่ งการ 7. จดั กิจกรรมการจดั การศึกษาเพอ่ื จานวนมาก และขาดการตะหนกั รู้ ดูแลสขุ ภาพอย่างถูกวิธี พฒั นาทกั ษะชีวติ ท่เี ก่ยี วข้องการ เรอื่ งการดูแลตวั เอง การดแู ลรักษาสขุ ภาพสาหรบั ผู้สูง วยั 5. ประชาชนในพื้นท่ีประกอบ ขาดความตะหนัก และขาดความรู้ อาชีพทาไร/่ ทาสวน/ ขาดความรู้ใน ความเข้าใจในเรือ่ งของการทา 8. จัดกิจกรรมตามหลกั ปรัชญาของ เร่ืองของการเกษตรอินทรยี ์ การเกษตรอินทรีย์ และปุ๋ยชีวภาพ เศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรม เน่อื งจากยงั มีการใช้สารเคมีทีส่ ง่ ผล พฒั นาสงั คมและชมุ ชน ทเี่ ก่ียวข้อง เสียตอ่ สขุ ภาพในชีวติ ประจาเป็น เก่ยี วการการทาการเกษตรแบบ จานวนมาก ผสมผสานการทาปยุ๋ ชวี ภาพ และ 6. ประชากรผูส้ งู อายุในตาบลสว่ น เป็นไปตามชว่ งวัย โคก หนอง นา โมเดล ใหญ่ ติดสงั คม ติดเพื่อน และมี ผู้สงู อายบุ างกลมุ่ ทีเ่ กิดอาการลืม 10. จดั กิจกรรมการจดั การศกึ ษา หนังสือ เนื่องจากไมไ่ ดอ้ า่ นและ ตามอัธยาศยั กิจกรรมนนั ทนาการ เขยี นเปน็ เวลานาน กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น สาหรบั ผูส้ ูงอายุ

บทท่ี 4 รายละเอียดแผนปฏิบตั ิการ กศน.ตาบลอโุ ลกสห่ี ม่นื 32 4.๑ ตารางบญั ชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ - ลาดับที่ ช่ือโครงการ - 1. สง่ เสริมการรูห้ นังสอื 2. การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานนอกระบบ 1,600 3. การศึกษาศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน (กลมุ่ สนใจ ๓-๓๐ ชม.) 1,600 4. การศึกษาศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน (กล่มุ สนใจ ๓-๓๐ ชม.) 7,900 5. การศกึ ษาศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน(อาชพี ระยะสน้ั ๓๑ ชม.ขนึ้ ไป) 550 6. การศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชีวติ 1,285 7. การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชมุ ชน 1,330 8. การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 9. การศกึ ษาตามอัธยาศยั รูปแบบห้องสมดุ ประชาชนอาเภอ - 10. อ่นื ๆ - รวม รวม ...............9 ............. โครงการ งบประมาณท้งั ส้นิ ...........14,265 .......................... บาท งบดาเนนิ งาน ...................11,100........................... บาท งบรายจา่ ยอน่ื ..................3,165 ............................ บาท งบอุดหนนุ .................................................................บาท หมายเหตุ ตารางบญั ชีใชต้ ารางตามแบบ Microsoft Excel

33 4.๒ โครงการตามแผนการจดั สรรงบประมาณ 1) โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานนอกระบบ 1. โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์/นโยบาย/จดุ เนน้ จดุ เน้นท่ี 1. ด้านการจดั การเรียนรูค้ ุณภาพ ข้อ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วดั ผล และประเมินผล โดยเน้นการใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นเคร่ืองมอื ให้ ผเู้ รียน สามารถเข้าถงึ การประเมินผลการเรียนรไู้ ดต้ ามความต้องการ เพือ่ การสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ ความสาคัญกับ การเทยี บระดบั การศกึ ษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการ ประเมินสมรรถนะผเู้ รียน ให้ตอบโจทย์การประเมนิ ในระดับประเทศและระดบั สากล เช่น การประเมิ น สมรรถภาพผ้ใู หญ่ ตลอดจนกระจายอานาจ ไปยงั พนื้ ท่ีในการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ข้อ 1.6 สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยใี นการจดั หลกั สตู รการเรยี นรใู้ นระบบออนไลนด์ ้วยตนเองครบ วงจร ต้งั แต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลกั สตู ร ทงั้ การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน การศึกษา ต่อเนือ่ ง และการศึกษาตามอัธยาศยั เพ่อื เป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรยี นรใู้ ห้กบั กลมุ่ เปา้ หมายท่สี ามารถเรียนรู้ ได้สะดวก และตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของผู้เรยี น ขอ้ 1.7 พฒั นา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรยี นรู้ของสานักงาน กศน . ตลอดจน พัฒนาสอื่ การเรียนรทู้ ้ังในรูปแบบออนไลนแ์ ละออฟไลน์ และให้มคี ลังสื่อการเรียนร้ทู ่ีเปน็ สือ่ ท่ีถกู ต้อง ตามกฎหมาย งา่ ยตอ่ การสบื คน้ และนาไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ ขอ้ 1.8 เรง่ ดาเนนิ การเรอ่ื ง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอน หน่วยกิต เพ่ือการสร้างโอกาสในการศกึ ษา ข้อ 1.9 พฒั นาระบบนเิ ทศการศึกษา การกากบั ตดิ ตาม ทง้ั ในระบบ On-Site และ Online รวมทงั้ สง่ เสรมิ การวิจยั เพ่ือเปน็ ฐานในการพฒั นาการดาเนนิ งานการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จดุ เน้นท่ี 2 ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ข้อ 2.1 สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาตลอดชีวิตทเี่ น้นการพัฒนาทักษะท่ีจาเป็นสาหรับแตล่ ะช่วงวัย และการจัดการศึกษาและการเรยี นร้ทู ่เี หมาะสมกับแตล่ ะกลมุ่ เปา้ หมายและบรบิ ทพนื้ ที่ ข้อ 2.7 สง่ เสรมิ การสร้างนวตั กรรมของผเู้ รยี น กศน. 3. หลักการและเหตผุ ล การศึกษาทาให้ประชาชนไดร้ หู้ นังสอื ได้มีการพัฒนาตวั เองให้เปน็ คนท่มี คี วามคดิ กว้างไกลจากเดมิ รจู้ กั ใช้ประโยชน์ของแหลง่ การเรียนรูต้ า่ ง ๆ ทีม่ ใี นท้องถิน่ ตลอดจนมีทักษะการอา่ น การคดิ การวิเคราะห์ และการเขียนไดด้ ขี น้ึ อกี ท้งั เปน็ การปลกู ฝั งใหผ้ ู้เรียนสามารถเรียนร้แู ละรจู้ กั ทีพ่ ัฒนาตัวเอง เห็นคณุ คา่ ใน ตัวเองเขา้ ใจตวั เองและเห็นใจผู้อ่นื สามารถแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ กศน. ตาบลหวายเหนยี ว ไดจ้ ดั การเรยี นการสอนท้ังใน ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษา ตอนปลาย เพอื่ เปดิ โอกาสให้ กับผ้ทู ีพ่ ลาดโอกาสทางการศึกษา ได้รบั การศกึ ษาอย่ างท่ัวถึง ซง่ึ น่าจะเปน็ กลไก สาคัญในการทจ่ี ะพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาใหม้ ีความรู้เพ่ิมมากขนึ้ กวา่ เดิม 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพ่อื ใหป้ ระชาชนไดร้ ับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานทจ่ี าเป็นตอ่ ชีวิตประจาวนั 4.2 เพอ่ื ใหป้ ระชาชนได้รับการศกึ ษาอย่างตอ่ เน่อื ง

34 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 นักศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา จานวน 1 คน นักศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 22 คน นักศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 18 คน รวม จานวน 40 คน 5.2 เชิงคุณภาพ ร้อยละ 75 ของผ้เู รยี นทีผ่ า่ นกระบวนการเรียนรู้ในระดับต่าง ๆ มคี วามรู้พ้ืนฐานสาหรบั การ ดารงชีวิตและสามารถนาความร้ทู ่ีไดไ้ ปปรบั ปรงุ คณุ ภาพชวี ิตให้ดีขน้ึ 6. วธิ ดี าเนนิ การ กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดาเนนิ การ 1. ขั้นวางแผน 1. เพือ่ เตรียมความ - ครู กศน.ตาบล 1 คน ต.อโุ ลกสี่หมืน่ 1-30 - (Plan) พร้อมในการรับ - ประชาชนใน 41 คน อ.ท่ามะกา ตลุ าคม 1.1 วางแผน สมัครนักศึกษา พื้นทีต่ าบลหวาย จ.กาญจนบุรี 2564 ปฏิบตั งิ าน 2. เพ่อื เหนยี ว 1.2 ประชา ประชาสมั พนั ธก์ าร สัมพันธ์รับสมคั ร รับสมคั รนกั ศกึ ษา นักศึกษา 2. ขน้ั ดาเนนิ งาน 1. เพอ่ื รับสมคั ร - ครู กศน.ตาบล 1 คน ต.อุโลกสีห่ มื่น 1-30 - (Do) นักศึกษาการศึกษา - ประชาชนใน 41 คน อ.ทา่ มะกา ตลุ าคม 2.1 ลงพื้นท่ีรบั ข้นั พื้นฐานนอก พ้นื ที่ตาบลหวาย จ.กาญจนบรุ ี 2564 สมัครนักศึกษา ระบบ ประจาปี เหนยี ว การศึกษา 2565 3. ขน้ั ตรวจสอบ 1. เพือ่ ตรวจสอบ - ครู กศน.ตาบล 1 คน กศน.ตาบล 1-30 - อุโลกส่ีหมืน่ ตลุ าคม - (Check) หลักฐานการสมคั ร หมทู่ ่ี 4 2564 ต.อุโลกสี่หมื่น 3.1 รายงาน เรยี น อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบุรี ยอดนกั ศึกษา/ใบ 1 คน กศน.ตาบล 1-30 สมคั ร กบั ฝ่าย อุโลกส่หี มนื่ ตุลาคม หมูท่ ่ี 4 2564 ทะเบยี น ต.อุโลกสีห่ มน่ื อ.ท่ามะกา 4. ขน้ั ปรบั ปรุง 1.เพือ่ สง่ ฝ่าย - ครู กศน.ตาบล จ.กาญจนบรุ ี แก้ไข (Action) ทะเบียนนาข้อมลู 4.1 ตดิ ตาม นกั ศกึ ษาเข้าสูร่ ะบบ เอกสารนักศกึ ษาที่ ต่อไป ยงั ส่งไมค่ รบ

35 7. งบประมาณ งบประมาณประจาปี 2565 ของสานักงาน กศน.จังหวดั กาญจนบุรี แผนงบประมาณ ขยาย โอกาสและพัฒนาการศกึ ษา ผลผลิตท่ี 4 ผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ งบอุดหนุน 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ รวม แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กิจกรรมหลกั งบประมาณ ไตรมาส 1 (ม.ค.– ม.ี ค. (เม.ย.–ม.ิ ย. (ก.ค.–ก.ย. (บาท) (ต.ค.–ธ.ค.64) 65) 65) 65) 1. ประชาสัมพนั ธ์รบั สมัครนกั ศึกษา √ √ 2. จัดกจิ กรรมการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน - √ √ √√ นอกระบบ รวม - - - - - 9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ 9.1 นางสาวนาทตยิ า ผูช้ ่วย ครกู ศน.ตาบลอโุ ลกสห่ี ม่นื 10. เครือข่าย 10.1 อบต/เทศบาลตาบลอโุ ลกสห่ี ม่ืน 10.2 ผู้นาชมุ ชนตาบลอุโลกสหี่ มืน่ 10.3 วดั ตาบลอโุ ลกส่ีหม่นื 10.4 รพ.สต.บ้านดอนตาลเส้ยี น 11. โครงการท่ีเกยี่ วข้อง 11.1 โครงการส่งเสรมิ การรู้หนังสอื 11.2 โครงการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ 11.3 โครงการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ติ 11.4 โครงการจัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชุมชน 12. ผลลัพธ์ 12.1 ผ้เู รียนสามารถศึกษาตอ่ ในระดับสูงขึ้น มีความภาคภมู ิใจและเช่ือมั่นใจตนเอง 12.2 ผเู้ รียนนาความร้ทู ่ไี ดร้ ับปรบั ปรงุ คุณภาพชีวิตและยกระดบั ความรขู้ องตนเองให้สูงขนึ้ 12.3 ผ้เู รยี นได้รับการยอมรบั ของบุคคลในครอบครัว และสงั คม 13. ตัวช้วี ัดผลสาเรจ็ โครงการ 13.1 ตัวชว้ี ัดผลผลติ (Outputs) นกั ศึกษาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน จบการศึกษา รอ้ ยละ 75 โดยประมาณ 13.2 ตัวช้วี ัดผลลัพธ์ (Outcomes) ได้รบั ไปพัฒนางานนคักดิศเึกปษ็นารท้อจ่ี ยบลกะา4รศ0ึกแษลาะในนราะไปดับศึกมษัธยา2มต7ศ่อรกึ ะษดาับตสอูงนขต้ึน้นคิดแเลปะน็ มรัธ้อยยมลศะึกษ6า0ตอนปลาย นาความร้ทู ่ี 14. การประเมินผลโครงการ 14.1 การสงั เกตตดิ ตาม และซักถาม 14.2 แบบประเมินความพึงพอใจ

36 1) ช่อื โครงการ ศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน (การศึกษาแบบพฒั นาอาชพี ระยะสั้น กลุม่ สนใจ ) วิชาการทาพวงมาลยั จากผา้ ขาวมา้ จานวน 3 ช่ัวโมง 2. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เน้นการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน.ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2.1 สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาติ พ .ศ. 2561 - 2580 ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ช่วงวยั แรงงาน ข้อท่ี1 จัดการศกึ ษาอาชพี เพือ่ การมีงานทาท่ีสอดคลอ้ งกับศกั ยภาพของชมุ ชน และความตอ้ งการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพไดจ้ ริง 2.2 สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งานสานักงาน กศน . ประจาปงี บประมาณ พ .ศ. 2565 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ข้อที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชพี ระยะสนั้ ทเ่ี น้น New skill Up skill และ Re skill ทสี่ อดคล้องกับบริบท พ้นื ที่ ความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย ความ ต้องการของตลาดแรงงาน และกล่มุ อาชีพใหมท่ ร่ี องรบั Disruptive Technology และขอ้ ท่ี 2.3 ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์ สนิ ค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน ทีเ่ น้น “สง่ เสริมความรู้ สร้างอาชี พ เพม่ิ รายได้ และ มคี ณุ ภาพชีวิตที่ดี ” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เปน็ ทยี่ อมรบั ของตลาด ตอ่ ยอดภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน เพือ่ สรา้ ง มูลค่าเพ่ิม พฒั นาสู่วิสาหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพ่มิ ชอ่ งทางประชาสัมพันธ์และช่องทางการจาหน่าย 3. หลักการและเหตผุ ล การจดั การศกึ ษาอาชพี เป็นกจิ กรรมการศึ กษานอกโรงเรียนรปู แบบหนึ่งท่ีมุ่งเน้นสนบั สนุนให้ ประชาชนไดป้ ระกอบอาชีพ มงี านทา ไม่ว่าจะเป็นการประกอบอาชีพอสิ ระ หรือการพัฒนาฝีมือ แรงงานเพือ่ เขา้ ส่ตู ลาดแรงงาน หรอื เปน็ การส่งเสริมคุณภาพชีวิต ใหม้ ีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบ อาชีพ เปน็ การแกป้ ญั ห าการวา่ งงานและสง่ เสริมความเขม้ แขง็ แกเ่ ศรษฐกจิ ชุมชน โดยเน้น การบูรณาการให้ สอดคลอ้ ง กับศกั ยภาพด้านตา่ ง ๆ โดยมุง่ เน้นพฒั นาคนไทยให้ได้รบั การศึกษาแบบพฒั นาอาชพี และการมงี าน ทาอยา่ งมคี ณุ ภาพ ทั่วถงึ เท่าเทยี มกนั สามารถสร้างรายได้ท่มี น่ั คงจากการสารวจความต้องการด้าน อาชพี และความเหมาะสมกบั สภาพพ้ืนท่แี ละความพรอ้ มของชุมชน โดยเพิ่มคุณภาพประชาชนใหค้ วามรู้ ความสามารถในการพฒั นาชวี ติ ความเป็นอยู่ของตนเองและครอบครัวใหด้ ขี ้นึ กศน.ตาบลอโุ ลกสหี่ มื่น ในฐานะเปน็ หนว่ ยงานท่มี ีความรบั ผดิ ชอบ การจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน ให้กบั ประชาชนในตาบล ในรูปแบบตา่ ง ๆ อาทิ การจดั กลุ่มการพฒั นาอาชีพ การจดั วชิ าชพี หลกั สูตรตา่ ง ๆ ให้ ตอบสนองนโยบายสานกั บรหิ ารงานการศึกษานอกโรงเรยี น และให้สอดคล้องกบั สภาวะเศร ษฐกจิ และความ ตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ท่ีตาบลอโุ ลกสี่หมนื่ จงึ ไดจ้ ัดโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน (การศึกษาแบบพัฒนา อาชีพระยะสน้ั กลุ่มสนใจ) วชิ าการทาพวงมาลัยจากผา้ ขาวมา้ จานวน 3 ช่ัวโมงขนึ้ เพื่อให้ความร้แู ละสง่ เสรมิ ให้ประชาชนมที กั ษะ ความรู้ ความสามารถ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตไดต้ ามศกั ยภาพ 4. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 4.1 เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมมคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจในการทาพวงมาลยั ผ้าขาวมา้ 4.2 เพ่อื ให้ผ้เู ข้ารับการอบรมนาความร้ไู ปใช้ในการพวงมาลยั ผ้าขาวมา้ และสามารถสร้างอาชพี ได้ 5. เปา้ หมาย จานวน 6 คน 5.1 เชงิ ปริมาณ ประชาชนทัว่ ไปในตาบลอุโลกสีห่ มนื่ 5.2 เชงิ คณุ ภาพ

37 5.2.1 ผู้รับการฝึกอาชพี มคี วามรู้และความเขา้ ใจเกี่ยวกบั วิชาการทาพวงมาลยั จากผา้ ขาวมา้ 5.2.2 ผรู้ บั การฝึกอาชีพสามารถสรา้ งเปน็ อาชพี เสริม/อาชพี หลักสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนได้ 6. วธิ ีดาเนินงาน กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้ืนที่ ระยะเวลา งบประ 23 คน ดาเนินการ มาณ 1. ขน้ั วางแผน (Plan) 1.เพ่อื เตรียมความ - ผอ.กศน. ธนั วาคม 1.1 วางแผนปฏิบตั ิงาน พร้อมในการจดั ทา - ครู กศน. กศน.อาเภอ 2564 - 1.2 แต่งต้ังคณะทางาน โครงการ อาเภอท่ามะกา ท่ามะกา 1.3 จดั ทาโครงการและขอ 2.เพอ่ื จดั ทาโครงการ อนุมัติโครงการ 1.4 ประชาสมั พนั ธโ์ ครงการ 2. ขั้นดาเนินงาน (Do) 1. เพื่อให้มที ักษะ - ประชาชน 6 คน ณ กศน.ตาบล 17 มกราคม 1,600 2.1 ดาเนนิ จดั โครงการศูนย์ฝึก ความรู้ในเรือ่ งการ ในตาบลอโุ ลกสี่ อโุ ลกสหี่ มน่ื 2565 อาชีพชุมชน (การ ศกึ ษาแบบ หมน่ื หมทู่ ่ี 7 บา้ น พัฒนาอาชพี ระยะสนั้ กลุ่ม ประกอบอาชีพและ สนใจ) วิชา การทาพวงมาลยั สามารถเลอื กเปน็ แจงงาม จากผ้า ขาวม้า จานวน 3 อาชีพเสริมได้ ต.อโุ ลกส่ีหมนื่ ชัว่ โมง 2. เพื่อใหป้ ระชาชนใน อ.ทา่ มะกา ชุมชนรจู้ กั การใช้เวลา จ.กาญจนบรุ ี วา่ งให้เปน็ ประโยชน์ 3. ข้ันตรวจสอบ (Check) 1. เพือ่ ประเมนิ ความ - ผอ.กศน. 7 คน ณ กศน.ตาบล 17 มกราคม - 3.1 การประเมนิ ผลกอ่ นดาเนนิ เป็นไปไดข้ องโครงการ - ครู กศน. อโุ ลกสีห่ มืน่ 2565 โครงการ 2. เพื่อประเมินความ อาเภอท่ามะกา หมทู่ ี่ 7 บา้ น 3.2 การประเมนิ ระหวา่ งดาเนิน กา้ วหน้าของโครงการ - ผ้เู ข้าร่วม โครงการ 6 คน แจงงาม 3.3 การประเมินเมือ่ เสรจ็ สน้ิ 3. เพือ่ ประเมิน โครงการ ต.อโุ ลกสี่หม่ืน โครงการ ผลสาเรจ็ ของโครงการ อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบุรี 4. ขน้ั ปรับปรุงแกไ้ ข (Action) เพ่อื ปรับปรุง แก้ไข - ผอ.กศน. 7 คน กศน.อาเภอ มกราคม - 4.1 รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ และพัฒนาการดาเนิน - ครู กศน. ทา่ มะกา 2565 ข้อมูล สรปุ และจดั ทารายงาน โครงการ อาเภอทา่ มะกา การประเมนิ โครงการ 4.2 ประชุมคณะทางานเพื่อ นาเสนอข้อมลู จากรายงานการ ประเมินโครงการไปใชป้ รับปรุง แกไ้ ข และพฒั นาการดาเนิน โครงการ 7. งบประมาณ

38 งบประมาณประจาปี 2565 โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์เพอ่ื สนบั สนนุ ดา้ น การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ โครงการขับเคล่อื นการพัฒนาการศึกษาท่ยี ่ังยนื กิจกรรม ส่งเสริมศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนงบรายจ่ายอน่ื จานวนเงนิ 1,600 บาท (หนึ่งพนั หกร้อยบาทถว้ น ) แบ่งเปน็ คา่ ใชจ้ ่ายดงั นี้ - ค่าตอบแทนวทิ ยากร 3 ชัว่ โมง x 200 บาท จานวน 600 บาท - ค่าวัสดฝุ ึกในโครงการ จานวน 1,000 บาท รวม 1,600 บาท หมายเหตุขอถัวจา่ ยตามรายการท่จี า่ ยจรงิ 8. แผนการเบิกจา่ ยงบประมาณ กิจกรรมหลัก รวม แผนการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณ 1.ดาเนินการโครงการศนู ยฝ์ ึก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 อาชพี ชุมชน ศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน (บาท) (ต.ค.–ธ.ค.64) (การศึกษาแบบพัฒนาอาชีพ (ม.ค.– มี.ค. 65) (เม.ย.–มิ.ย. 65) (ก.ค.–ก.ย. 65) ระยะสน้ั กล่มุ สนใจ) วิชาการทา 1,600 พวงมาลยั จากผา้ ขาวม้า จานวน 1,600 - 3 ชัว่ โมง 1,600 -- รวม - 1,600 - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ ครู กศน.ตาบลอุโลกสี่หม่นื 9.1 นางสาวนาทติยา ผชู้ ว่ ย ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน 9.2 นางดาวใจ ฟักเขียว 10. ภาคเี ครอื ข่าย 10.1 องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลอุโลกสีห่ มืน่ 10.2 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นอโุ ลกสหี่ ม่ืน 11. ความสมั พันธ์กับโครงการอน่ื 11.1 โครงการจดั การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 11.2 โครงการศูนยก์ ารเรยี นรู้ตลอดชีวิต 12. ผลลัพธ์ ผรู้ ับการอบรมมคี วามรู้และความเขา้ ใจเก่ยี วกบั อาชพี และนาความรไู้ ปใชใ้ นการสรา้ งอาชพี ได้ 13. ดัชนีชีว้ ดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ (Outputs) รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ข้ารบั การอบรมมคี วามร้แู ละความเข้าใจในวชิ าการทาพวงมาลยั จาก ผา้ ขาวม้า 13.2 ตัวชว้ี ดั ผลลัพธ์ (Outcomes)

39 ร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ รบั การอบรมนาความร้ไู ปใช้ในการสรา้ งอาชีพได้ 14. การประเมนิ ผลโครงการ 14.1 ประเมนิ กอ่ นดาเนนิ โครงการเพอ่ื ศกึ ษาความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ 14.2 ประเมินระหว่างดาเนนิ โครงการเพ่ือศึกษาความกา้ วหนา้ ของโครงการ 14.3 ประเมินหลงั เสร็จสิน้ โครงการเพอ่ื ศกึ ษาความสาเรจ็ ของโครงการ

40 1. ชือ่ โครงการ ศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน (การศึกษาแบบพฒั นาอาชพี ระยะสัน้ กลุ่มสนใจ ) วิชาการทาพวงมาลยั จากผา้ ขาวม้า จานวน 3 ช่ัวโมง 2. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานกั งาน กศน.ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ .ศ. 2561 - 2580 ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ ชว่ งวยั แรงงาน ขอ้ ที่1 จัดการศกึ ษาอาชพี เพ่อื การมีงานทาท่ีสอดคลอ้ งกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด ใหป้ ระชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้จริง 2.2 สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งานสานักงาน กศน . ประจาปี งบประมาณ พ .ศ. 2565 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ ขอ้ ท่ี 2.2 พฒั นาหลักสตู รอาชีพ ระยะสั้นทีเ่ นน้ New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกบั บรบิ ท พื้นที่ ความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และกล่มุ อาชีพใหม่ที่ รองรับ Disruptive Technology และข้อที่ 2.3 ยกระดบั ผลิตภัณฑ์ สนิ ค้า บรกิ ารจากโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน ทเี่ นน้ “สง่ เสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่ม รายได้ และมคี ณุ ภาพชวี ิตที่ดี ” ใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐาน เป็นทยี่ อมรับของตลาด ต่อยอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เพื่อ สร้างมูลคา่ เพมิ่ พฒั นาส่วู ิสาหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพิ่มชอ่ งทางประชาสัมพนั ธแ์ ละชอ่ งทางการจาหน่าย 3. หลักการและเหตผุ ล การจัดการศกึ ษาอาชีพ เป็นกิจกรรมการศกึ ษานอกโรงเรียนรูปแบบหน่ึงที่มงุ่ เน้นสนับสนนุ ให้ ประชาชนได้ประกอบอาชีพ มีงานทา ไม่วา่ จะเปน็ การประกอบอาชีพอสิ ระ หรอื การพฒั นาฝีมือ แรงงานเพ่อื เข้าสู่ตลาดแรงงาน หรอื เป็นการส่งเสริมคณุ ภาพชีวิต ให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบ อาชพี เปน็ การแก้ปญั หาการว่างงานและสง่ เสริมความเขม้ แขง็ แก่เศรษฐกิจชุมชน โดยเนน้ การบรู ณาการให้ สอดคลอ้ ง กบั ศักยภาพด้านต่าง ๆ โดยมงุ่ เน้นพัฒนาคนไทยให้ไดร้ บั การศกึ ษาแบบพฒั นาอาชพี และการมงี าน ทาอยา่ งมีคุณภาพ ทั่วถึง เทา่ เทียมกัน สามารถสร้างรายได้ท่มี ่ันคงจากการสารวจความต้องการดา้ นอาชีพ และความเหมาะสมกบั สภาพพน้ื ที่และความพรอ้ มของชุมชน โดยเพมิ่ คุณภาพประชาชนให้ความรู้ ความสามารถในการพัฒนาชวี ติ ความเป็นอยูข่ องตนเองและครอบครวั ใหด้ ีขึ้น กศน.ตาบลอุโลกสห่ี ม่นื ในฐานะเป็นหน่วยงานที่มีความรับผดิ ชอบ การจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น ให้กบั ประชาชนในตาบล ในรูปแบบตา่ ง ๆ อาทิ การจัดกลุ่มการพัฒนาอาชพี การจดั วชิ าชพี หลกั สตู รต่าง ๆ ให้ ตอบสนองนโยบายสานกั บริ หารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น และใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาวะเศรษฐกจิ และความ ตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ท่ตี าบลอุโลกสี่หมน่ื จงึ ไดจ้ ดั โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน (การศึกษาแบบพัฒนา อาชีพระยะส้นั กลุ่มสนใจ) วิชาการทาพวงมาลยั จากผ้าขาวมา้ จานวน 3 ชวั่ โมงข้ึน เพื่อให้ความร้แู ละ สง่ เสรมิ ให้ประชาชนมที ักษะ ความรู้ ความสามารถ และพัฒนาคุณภาพชีวติ ไดต้ ามศักยภาพ 4. วัตถุประสงคข์ องโครงการ 4.1 เพ่อื ให้ผ้เู ข้ารบั การอบรมมคี วามรแู้ ละความเข้าใจในการทาพวงมาลัยผา้ ขาวมา้ 4.2 เพอื่ ให้ผเู้ ขา้ รับการอบรมนาความรู้ไปใช้ในการพวงมาลัยผ้าขาวมา้ และสามารถสรา้ งอาชีพได้ 5. เปา้ หมาย จานวน 6 คน 5.1 เชิงปริมาณ ประชาชนท่ัวไปในตาบลอโุ ลกสห่ี มื่น

41 5.2 เชงิ คุณภาพ 5.2.1 ผรู้ บั การฝึกอาชีพมคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกบั วิชาการทาพวงมาลัยจากผา้ ขาวม้า 5.2.2 ผูร้ บั การฝึกอาชพี สามารถสรา้ งเป็นอาชพี เสริม/อาชพี หลักสรา้ งรายได้ให้กบั ครัวเรอื นได้ 6. วิธดี าเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เป้าหมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประ ดาเนินการ มาณ 1. ข้นั วางแผน (Plan) 1.เพือ่ เตรียมความพร้อม - ผอ.กศน. 23 คน ธันวาคม 1.1 วางแผนปฏิบตั ิงาน ในการจดั ทาโครงการ - ครู กศน. กศน.อาเภอ 2564 - 1.2 แตง่ ตัง้ คณะทางาน 2.เพื่อจดั ทาโครงการ อาเภอทา่ มะกา ทา่ มะกา 1.3 จัดทาโครงการและขอ อนุมตั ิโครงการ 1.4 ประชาสัมพันธ์โครงการ 2. ขั้นดาเนินงาน (Do) 1. เพ่ือใหม้ ที ักษะความรู้ - ประชาชน 6 คน ณ กศน.ตาบล 18 มกราคม 1,600 2.1 ดาเนนิ จัดโครงการศนู ย์ ในเร่อื งการประกอบ ในตาบลอโุ ลกสี่ อุโลกสหี่ มน่ื 2565 ฝกึ อาชพี ชมุ ชน (การ ศึกษา อาชีพและสามารถเลือก หมื่น หมู่ท่ี 7 บา้ น แบบพัฒนาอาชีพระยะส้นั กลุ่มสนใจ) วชิ า การทา เปน็ อาชพี เสรมิ ได้ แจงงาม พวงมาลยั จากผ้า ขาวม้า ต.อโุ ลกสห่ี มื่น จานวน 3 ชวั่ โมง 2. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนใน อ.ท่ามะกา ชมุ ชนรู้จักการใชเ้ วลาว่าง จ.กาญจนบุรี ให้เป็นประโยชน์ 3. ขนั้ ตรวจสอบ (Check) 1. เพอ่ื ประเมินความ - ผอ.กศน. 7 คน ณ กศน.ตาบล 18 มกราคม - 3.1 การประเมนิ ผลก่อน เป็นไปได้ของโครงการ - ครู กศน. ดาเนินโครงการ อโุ ลกสี่หมื่น 2565 2. เพอ่ื ประเมนิ ความ อาเภอท่ามะกา หมู่ที่ 7 บา้ น 3.2 การประเมนิ ระหวา่ ง กา้ วหนา้ ของโครงการ - ผเู้ ขา้ ร่วม ดาเนินโครงการ 6 คน แจงงาม 3.3 การประเมินเม่ือเสร็จสน้ิ โครงการ 3. เพือ่ ประเมนิ ผลสาเร็จ โครงการ ต.อโุ ลกส่หี มนื่ ของโครงการ อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบุรี 4. ขั้นปรับปรุงแกไ้ ข เพ่ือปรับปรงุ แก้ไข และ - ผอ.กศน. 7 คน กศน.อาเภอ มกราคม - (Action) พัฒนาการดาเนิน - ครู กศน. ท่ามะกา 2565 4.1 รวบรวมข้อมลู วเิ คราะห์ โครงการ อาเภอทา่ มะกา ข้อมูล สรปุ และจัดทารายงาน การประเมนิ โครงการ 4.2 ประชุมคณะทางานเพ่อื นาเสนอขอ้ มลู จากรายงาน การประเมนิ โครงการไปใช้ ปรับปรุง แกไ้ ข และ พัฒนาการดาเนินโครงการ

42 7. งบประมาณ งบประมาณประจาปี 2565 โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน แผนงาน : ยุทธศาสตรเ์ พื่อสนบั สนนุ ด้าน การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขบั เคลือ่ นการพฒั นาการศกึ ษาทย่ี ่ังยืน กิจกรรม สง่ เสรมิ ศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชนงบรายจ่ายอ่นื จานวนเงิน 1,600 บาท (หนึ่งพันหกร้อยบาทถ้วน ) แบง่ เปน็ คา่ ใช้จ่ายดงั นี้ - ค่าตอบแทนวทิ ยากร 3 ชั่วโมง x 200 บาท จานวน 600 บาท - คา่ วัสดุฝึกในโครงการ จานวน 1,000 บาท รวม 1,600 บาท หมายเหตุขอถวั จ่ายตามรายการท่ีจา่ ยจริง 8. แผนการเบิกจ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลกั รวม แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ งบประมาณ 1.ดาเนินการโครงการศนู ยฝ์ ึก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 อาชพี ชมุ ชน ศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน (บาท) (ต.ค.–ธ.ค.64) (การศึกษาแบบพฒั นาอาชีพ (ม.ค.– มี.ค. 65) (เม.ย.–มิ.ย. 65) (ก.ค.–ก.ย. 65) ระยะสน้ั กลมุ่ สนใจ) วิชาการทา 1,600 พวงมาลยั จากผา้ ขาวม้า จานวน 1,600 - 3 ชัว่ โมง 1,600 -- รวม - 1,600 - - 9. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ครู กศน.ตาบลอุโลกสหี่ ม่นื 9.1 นางสาวนาทติยา ผชู้ ่วย ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น 9.2 นางดาวใจ ฟักเขียว 10. ภาคีเครอื ขา่ ย 10.1 องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลอโุ ลกสี่หมน่ื 10.2 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นอโุ ลกส่หี ม่นื 11. ความสมั พันธก์ บั โครงการอื่น 11.1 โครงการจดั การศกึ ษาต่อเนอื่ ง 11.2 โครงการศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ลอดชีวติ 12. ผลลพั ธ์ ผรู้ ับการอบรมมีความรแู้ ละความเข้าใจเก่ยี วกบั อาชพี และนาความรูไ้ ปใช้ในการสร้างอาชพี ได้ 13. ดัชนีช้วี ดั ผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Outputs) รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ขา้ รับการอบรมมคี วามรู้และความเขา้ ใจใน วิชาการทาพวงมาลยั จาก ผา้ ขาวมา้

43 13.2 ตัวชว้ี ัดผลลพั ธ์ (Outcomes) ร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ รับการอบรมนาความรไู้ ปใช้ในการสร้างอาชีพได้ 14. การประเมินผลโครงการ 14.1 ประเมนิ ก่อนดาเนนิ โครงการเพือ่ ศกึ ษาความเป็นไปไดข้ องโครงการ 14.2 ประเมินระหว่างดาเนนิ โครงการเพอ่ื ศกึ ษาความก้าวหน้าของโครงการ 14.3 ประเมนิ หลงั เสร็จส้ินโครงการเพอ่ื ศึกษาความสาเรจ็ ของโครงการ

44 1. ชอ่ื โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน (การศึกษาแบบชัน้ เรียนวชิ าชีพ 31 ชวั่ โมงข้ึนไป) วิชา การทาแจกนั ดอกบัวจากดินไทย จานวน 31 ชวั่ โมง 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงาน สานกั งาน กศน.ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2.1 สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรช์ าติ พ .ศ.2561-2580 ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพ ทรัพยากรมนษุ ย์ ชว่ งวัยแรงงาน ข้อท่ี1 จัดการศกึ ษาอาชีพเพอื่ การมีงานทาทีส่ อดคล้องกบั ศักยภาพของชมุ ชน และความตอ้ งการของตลาด ใหป้ ระชาชนสามารถนาไปประกอบอาชพี ได้จริง 2.2 สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน . ประจาปีงบประมาณ พ .ศ. 2565 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทกั ษ ะคณุ ภาพ ข้อที่ 2.2 พัฒนาหลกั สตู รอาชีพ ระยะสน้ั ท่ีเน้น New skill Up skill และ Re skill ทีส่ อดคลอ้ งกบั บริบท พน้ื ท่ี ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และกลมุ่ อาชีพใหม่ทร่ี องรบั Disruptive Technology และข้อที่ 2.3 ยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์ สนิ คา้ บ ริการจากโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน ทเี่ น้น “สง่ เสรมิ ความรู้ สร้างอาชพี เพ่มิ รายได้ และมคี ุณภาพชีวิตท่ีดี ” ให้มีคณุ ภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ตอ่ ยอดภูมิปัญญาท้องถ่นิ เพอื่ สร้างมลู คา่ เพ่ิม พัฒนาสวู่ สิ าหกิจชมุ ชน ตลอดจนเพมิ่ ชอ่ งทางประชาสัมพนั ธแ์ ละช่องทางการจาหน่าย 3. หลักการและเหตุผล การจดั การศกึ ษาอาชพี เป็นกจิ กรรมการศกึ ษานอกโรงเรยี นรูปแบบหน่ึงท่มี ุ่งเนน้ สนบั สนุนให้ ประชาชนไดป้ ระกอบอาชพี มงี านทาไมว่ า่ จะเป็นการประกอบอาชีพอสิ ระ หรือการพัฒนาฝีมอื แรงงานเพื่อเข้า สู่ตลาดแรงงานหรือเป็นการสง่ เสริมคุณภาพชีวติ ให้ มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชพี เป็นการแกป้ ญั หาการว่างงานและสง่ เสริมความเขม้ แข็งแก่เศรษฐกจิ ชมุ ชน เนน้ การบูรณาการให้สอดคล้องกบั ศกั ยภาพด้านต่างๆ โดยมงุ่ เน้นพฒั นาคนไทย ใหไ้ ดร้ ับการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพและการมีงานทาอย่างมี คุณภาพทวั่ ถึง เทา่ เทยี มกนั สามารถสร้างรายได้ ท่มี ่ันคง จากการสารวจความต้องการด้านอาชพี และความ เหมาะสมกบั สภาพพนื้ ที่และความพร้อมของชุมชน โดยเพิ่มคุณภาพประชาชน ใหค้ วามรู้ความสามารถในการ พฒั นาชวี ติ ความเป็นอยขู่ องตนเองและครอบครัวใหด้ ขี นึ้ กศน.ตาบลอโุ ลกสห่ี ม่ืน ในฐานะเป็นศูนยก์ ารเรยี นรู้ มหี น้าที่จดั กระบวนการเรียนรู้ สนับสนนุ ส่งเสรมิ ใหก้ ับประชาชนในตาบลอุโลกสี่หมื่น ในรูปแบบต่างๆ อาทิ การจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาอาชพี การจัดหลกั สูตร วิชาชพี ต่างๆ ใหต้ อบสนองกบั นโยบายสานักงานกศน .และให้สอดคลอ้ งกับสภาวะเหตุการณป์ จั จบุ นั เศรษฐกิจ และสงั คม จงึ ได้ดา เนนิ การจดั โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน (การศึกษาแบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ 31 ชวั่ โมงขึน้ ไป) วชิ า การทาแจกันดอกบัวจากดินไทย ตามความต้องการของประชาชนในพ้ืนทต่ี าบลอโุ ลกสหี่ ม่นื วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี น มีความรู้ ความเข้าใจและมที ักษะฝีมือ สามารถนาไปพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไดต้ ามศกั ยภาพ ทาใหผ้ เู้ รียนมอี าชีพทางเลือกสรา้ งรายได้เสรมิ ใหก้ บั ตนเองและครอบครวั ได้ 4. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 4.1 เพือ่ ให้ผเู้ รยี น มีความรู้และมที ักษะฝมี ือการทาแจกนั ดอกบัวจากดินไทย 4.2 เพ่อื ให้ผู้เรียน นาความรู้ทีไ่ ด้รับไปปรับใชใ้ น ชวี ิตประจาวนั และนาไปเปน็ อาชพี ทางเลอื ก สรา้ ง รายได้เสรมิ ใหก้ บั ตนเองและครอบครัวได้

45 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปรมิ าณ ประชาชนท่วั ไปในตาบลอุโลกส่ีหม่ืน จานวน 11 คน 5.2 เชิงคณุ ภาพ 5.2.1 ผู้เรยี นฝกึ อาชีพ มีความรแู้ ละความเข้าใจเก่ยี วกับการทาแจกันดอกบัวจากดินไทย 5.2.2 ผูเ้ รียนฝกึ อาชีพ นาทักษะความรู้ไปทาแจกนั ดอกบวั จากดนิ ไทยมีอาชีพเสริม เพม่ิ รายได้ 6. วธิ ีดาเนินงาน กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เป้าหมาย พื้นท่ี ระยะเวลา งบ ดาเนนิ การ ประมาณ 1. ข้ันวางแผน (Plan) 1. เพอื่ เตรียมความพรอ้ ม - ผอ.กศน. 23 คน 16 1.1 วางแผนปฏิบตั ิงาน ในการจดั ทาโครงการ - ครู กศน. กศน.อาเภอ ธนั วาคม - 1.2 แต่งต้งั คณะทางาน 2. เพ่อื จัดทาโครงการ อาเภอทา่ มะกา ทา่ มะกา 2564 1.3 จัดทาโครงการ และ ขออนมุ ัตโิ ครงการ 1.4 ประชาสมั พนั ธโ์ ครงการ 2. ข้ันดาเนินงาน (Do) 1. มคี วามรแู้ ละทกั ษะการ - ประชาชน 11 คน ณ กศน.ตาบล ระหวา่ งวันท่ี 7,900 - 2.1 จัดโครงการศนู ย์ฝกึ การทาแจกนั ดอกบวั จาก ในตาบลอุโลกสี่ อุโลกส่หี ม่ืน 8 - 16 - อาชีพชุมชน (การศึกษาแบบ ดนิ ไทย หมน่ื หมู่ท่ี 7 บา้ น มกราคม ช้ันเรยี นวชิ าชีพ 31 ช่วั โมง 2. นาความรู้ท่ีได้รับไปปรับ แจงงาม 2565 ขน้ึ ไป) วชิ า การทาแจกนั ใชใ้ นชวี ิตประจาวันและนา ต.อุโลกสห่ี มืน่ ดอกบวั จากดินไทย จานวน ไปเป็นอาชีพทางเลือก อ.ท่ามะกา 31 ช.ม. รายไดเ้ สริมให้กบั ตนเองและ จ.กาญจนบรุ ี ครอบครวั ได้ 3. ขนั้ ตรวจสอบ (Check) 1. เพอ่ื ประเมนิ ความ - ผอ.กศน. 5 คน ณ กศน.ตาบล ระหวา่ งวนั ท่ี 3.1 การประเมินผลกอ่ น เป็นไปไดข้ องโครงการ - ครู กศน. อโุ ลกสีห่ มน่ื 8 - 16 ดาเนนิ โครงการ 2. เพื่อประเมนิ ความ อาเภอทา่ มะกา หมทู่ ่ี 7 บ้าน มกราคม 3.2 การประเมนิ ระหว่าง ก้าวหน้าของโครงการ - ผเู้ ขา้ รว่ ม 11 คน แจงงาม 2565 ดาเนินโครงการ 3. เพ่ือประเมนิ ผลสาเรจ็ โครงการ ต.อโุ ลกสห่ี มนื่ 3.3 การประเมนิ เมอ่ื เสร็จ ของโครงการ อ.ท่ามะกา สิน้ โครงการ จ.กาญจนบรุ ี 4. ขัน้ ปรบั ปรุงแก้ไข 1. เพ่อื ปรบั ปรุง แกไ้ ขและ - ผอ.กศน. 5 คน กศน.อาเภอ 25 (Action) พฒั นาโครงการ - ครู กศน. ทา่ มะกา มกราคม 4.1 รวบรวมข้อมูล อาเภอท่ามะกา 2565 วเิ คราะห์ขอ้ มลู สรุปและ จัดทารายงานการประเมิน โครงการ

46 กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เปา้ หมาย พ้นื ที่ ระยะเวลา งบ ดาเนินการ ประมาณ 4.2 ประชมุ คณะทางาน เพ่อื นาเสนอขอ้ มูลจาก รายงานการประเมนิ โครงการไปใชป้ รบั ปรงุ แก้ไข และพฒั นาโครงการ 7. งบประมาณ งบประมาณประจาปี 2565 โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน (การศึกษาแบบชั้นเรยี นวิชาชีพ 31 ช่วั โมงขนึ้ ไป ) แผนงาน : ยุทธศาสตรเ์ พือ่ สนบั สนนุ ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ โครงการขับเคล่ือนการพฒั นาการศกึ ษาที่ย่งั ยืน กิจกรรมส่งเสริมศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน งบรายจา่ ยอน่ื จานวนเงนิ 7,900 บาท (เจด็ พันเก้ารอ้ ยบาทถว้ น) แบง่ เป็นคา่ ใชจ้ ่ายดงั นี้ - คา่ ตอบแทนวทิ ยากร 31 ชั่วโมง x 200 บาท จานวน 6,200 บาท - คา่ วสั ดฝุ ึกในโครงการ จานวน 1,700 บาท รวม 7,900 บาท หมายเหตุ ขอถัวจ่ายตามรายการทจ่ี ่ายจรงิ 8. แผนการเบกิ จา่ ยงบประมาณ รวม แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลกั งบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.–ธ.ค.64) (ม.ค.– ม.ี ค. 65) (เม.ย.–ม.ิ ย. 65) (ก.ค.–ก.ย. 65) (บาท) - - 1. ดาเนินการจดั โครงการ - - สง่ เสริมศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน หลกั สูตรพฒั นาอาชีพ จานวน 7,900 7,900 - 31 ช่วั โมง วิชา การทาแจกัน ดอกบัวจากดนิ ไทย รวม 7,900 7,900 - 9. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ ครู กศน.ตาบลอโุ ลกสห่ี มื่น 9.1 นางสาวนาทติยา ผชู้ ว่ ย ครูอาสาสมคั รฯ 9.2 นางดาวใจ ฟกั เขียว 10. ภาคเี ครือข่าย 10.1 องค์การบริหารส่วนตาบลอโุ ลกสี่หมนื่ 10.2 โรงเรยี นผูส้ งู อายตุ าบลอโุ ลกส่ีหมื่น 10.3 รพ.สตบา้ นดอนตาลเสย้ี น ตาบลอโุ ลกส่หี มื่น.3 วดั เขาใหญ่ 11. ความสมั พันธ์กับโครงการอน่ื 11.1 การจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook