Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการประเมินพัฒนาการ ปีการศึกษา 2563

รายงานผลการประเมินพัฒนาการ ปีการศึกษา 2563

Published by Kingkaew ratcha-in, 2021-07-13 07:55:23

Description: รายงานผลการประเมินพัฒนาการ ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

1

ก คำนำ สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหารตระหนักถงึ ความสำคัญของการจัดการศึกษา ปฐมวยั จึงจดั ใหมีการประเมินพัฒนาการนักเรียนทจี่ บหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2 5 6 0 ปก ารศึกษา 2563 เพอื่ เปน การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพของนกั เรียนวา บรรลตุ ามจดุ หมายและมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงคท่ีกำหนดในหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 หรือไมอ ยางไร ภายใน เอกสารเปนการรายงานคุณภาพพัฒนาการของนักเรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษามุกดาหารจะนำผลไปใชเปน ขอมูลในการวางแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาปฐมวัย และเปนประโยชนตอสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของสำหรับใชในการดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนา การศกึ ษาปฐมวยั ตอ ไป สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษามุกดาหาร ขอขอบคุณศึกษานิเทศก ผบู ริหารสถานศกึ ษา ครูผูสอนปฐมวัยทุกทาน ที่ชวยดำเนินการประเมินพัฒนาการนักเรียนใหเปนไปดวยความเรียบรอย ตลอดจนจดั ทำรายงานเปนเอกสารทส่ี มบูรณ สามารถเผยแพรเพ่ือใหท ุกหนว ยงานนำไปใชใหเกิดประโยชน อยา งคมุ คา (นายวรรณสทิ ธ์ิ คำเพราะ) ผูอ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร

ข บทสรุปสำหรบั ผูบริหาร การประเมินพัฒนาการของนักเรียนทจี่ บหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ปการศึกษา 2563 สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษามกุ ดาหาร ในปการศึกษา 2563 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดพัฒนาเครื่องมือสำหรับใช ประเมินพัฒนาการของนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร จึงดำเนินการโครงการพฒั นายกระดับคุณภาพการจัด การศึกษาปฐมวัย ประจำปงบประมาณ 2594 โดยมีกิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่จบ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 ใน ระดับชั้นอนุบาลปที่ 3 มีจำนวน นักเรียนที่รับการประเมิน จำนวน 3,061 คน จากโรงเรียนในสังกัด จำนวน 240 โรงเรียน เปนโรงเรียน ขนาดใหญ จำนวน 2 โรงเรียน โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 96 โรงเรียน และโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 142 โรงเรียน เพ่อื ตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพของนกั เรยี นตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคท่ีกำหนด ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 และนำผลการประเมนิ พัฒนาการมาเปน ขอมลู สารสนเทศ สำหรับวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย และเปนประโยชนตอสถานศึกษาและหนวยงาน ที่เก่ียวขอ งสำหรบั ใชใ นการดำเนินการเก่ียวกบั การพฒั นาการศึกษาปฐมวยั ตอไป ผลการประเมนิ พัฒนาการของนกั เรียนที่จบหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ปการศึกษา 2563 ดังน้ี 1. ผลการประเมนิ พัฒนาการ ระดับเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา ผลการประเมนิ พฒั นาการในภาพรวมทกุ ดา น ระดบั เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา นกั เรียนสวนใหญ มีพัฒนาการอยูในระดับดีสงู สุด คิดเปน รอ ยละ 86.95 สว นทเี่ หลืออยใู นระดับพอใช รอยละ 12.05 และระดับปรับปรุง รอยละ 1.00 เมื่อจำแนกตามระดับคุณภาพรายพัฒนาการ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา นักเรียนสวนใหญมีพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ในระดับดีสูงสดุ รอยละ 89.65 รองลงมาคือ พัฒนาการ ดา นสังคม รอ ยละ 89.35 พัฒนาการดานรางกาย รอยละ 89.21 และพัฒนาการดานสตปิ ญ ญา รอ ยละ 77.59 ตามลำดับ 2. ผลการประเมนิ พัฒนาการ จำแนกตามขนาดโรงเรยี น นกั เรยี นสว นใหญในโรงเรยี นทกุ ขนาด มีพัฒนาการอยใู นระดับดีทุกดา น โดยนกั เรียนในโรงเรียน ขนาดใหญม ีรอยละพัฒนาการระดับดี ดา นรา งกายสงู สุด รองลงมาคือ ดา นสงั คม ดา นอารมณ จติ ใจ และ ดา นสตปิ ญญา ตามลำดบั และโรงเรียนขนาดกลางมีรอยละพฒั นาการระดับดี ดา นรางกายสงู สดุ รองลงมา คอื ดา นอารมณ จิตใจ ดานสังคม และดา นสติปญญา ตามลำดบั สวนนักเรยี นในโรงเรียนขนาดเล็กมรี อยละ พฒั นาการระดบั ดี ดา นอารมณ จิตใจ สูงสดุ รองลงมาคือ ดานสังคม ดา นรา งกาย และดานสตปิ ญญา ตามลำดับ

ค นกั เรยี นในโรงเรียนขนาดเล็ก มพี ฒั นาการดานอารมณ จิตใจ ในระดบั ดสี งู สดุ รอยละ 92.22 รองลงมาคือพัฒนาการดา นสังคม รอ ยละ 91.81 พัฒนาการดา นรางกาย รอยละ 84.56 และพฒั นาการ ดา นสตปิ ญญา รอยละ 76.40 ตามลำดบั นักเรยี นในโรงเรียนขนาดกลาง มีพฒั นาการดานรางกาย ในระดบั ดีสงู สุด รอยละ 91.09 รองลงมาคือ พฒั นาการดานอารมณ จติ ใจ รอยละ 90.44 พฒั นาการดานสังคม รอยละ 90.26 และ พฒั นาการดานสติปญ ญารอยละ 80.1- ตามลำดับ นกั เรียนในโรงเรียนขนาดใหญ มีพฒั นาการดานรา งกายในระดับดสี ูงสดุ รอยละ 96.90 รองลงมาคอื พัฒนาการดานสังคม รอ ยละ 96.07 พฒั นาการอารมณ จิตใจ รอ ยละ 95.58 และ พัฒนาการดา นสติปญญา รอยละ 90.29 ตามลำดบั 3. ผลการประเมินพัฒนาการ จำแนกตามมาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค ของหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 3.1 มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พึงประสงคข องหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 จำแนกตามรายมาตรฐาน ในภาพรวมนักเรียนสว นใหญมมี าตรฐานคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคอ ยใู นระดับดี ทุกมาตรฐาน โดยมาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะดนตรี และการเคลื่อนไหว มีรอยละ ของพัฒนาการระดับดสี ูงสุด รอยละ 92.17 รองลงมาคอื มาตรฐานท่ี 5 มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตใจ ที่ดีงาม รอยละ 90.38 และมาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รอยละ 90.06 ตามลำดับ โดยมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคที่มีรอยละของพัฒนาการ ระดับดีต่ำสุด คือ มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เปนพื้นฐานในการเรียนรู รอยละ 77.48 มาตรฐานที่ 9 ใชภาษาสื่อสารไดเหมาะสมกับวัย รอยละ 81.10 และมาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการ และความคิดสรางสรรค รอยละ 81.96 ตามลำดบั 3.1.1 มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคดานรางกาย รายตัวบงช้ี นักเรียนสวนใหญ มีพัฒนาการดานรางกาย รายตัวบงชี้อยูในระดับดีทุกขอ โดยตัวบงชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี มีรอยละของพัฒนาการระดับดีสูงสุด รอยละ 94.91 รองลงมาคือ ตัวบงชี้ที่ 1.3 รักษาความปลอดภัย ของตนเองและผูอื่น รอยละ 90.14 ตัวบงชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวรางกาย อยางคลองแคลว ประสานสัมพันธ และทรงตัวได รอยละ 89.42 ตามลำดับ โดยตัวบงชี้ที่มีรอยละของพัฒนาการระดับดีต่ำสุด คือ ตัวบงช้ี ท่ี 1.1 นำ้ หนักและสวนสูงตามเกณฑ รอยละ 78.74 3.1.2 มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคดานอารมณ จิตใจ รายตัวบงช้ี นักเรียนสวนใหญ มีพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ รายตัวบงชี้อยูในระดับดีทุกขอ โดยตัวบงชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจ และชวยเหลือแบงปน มีรอยละของพัฒนาการระดับดีสูงสุด รอยละ 92.36 รองลงมาคือ ตัวบงช้ี ที่ 4.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออกผานงานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว รอยละ 92.17 และ ตัวบงช้ี 5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผูอื่น รอยละ 91.97 ตามลำดับโดยตัวบงชี้ที่มีรอยละของพัฒนาการ ระดับดีต่ำสดุ คือ ตวั บง ชที้ ่ี 3.2 มคี วามรูสกึ ท่ีดีตอตนเองและผอู นื่ รอ ยละ 85.18

ง 3.1.3 มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคดานสังคม รายตัวบงช้ี นักเรียนสวนใหญ มพี ฒั นาการดา นดา นสงั คม รายตัวบงชอ้ี ยูในระดับดที ุกขอ โดยตวั บง ชีท้ ี่ 6.1 ชว ยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวัน มีรอยละของพัฒนาการระดับดีสูงสุด รอยละ 93.86 รองลงมาคือ ตัวบงชี้ที่ 7.1 ดูแล รกั ษาธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม รอยละ 91.90 และตัวบงชที้ ี่ 8.1 ยอมรบั ความเหมือนและความแตกตาง ระหวางบุคคล รอยละ 90.46 ตามลำดับ โดยตัวบงชี้ที่มีรอยละของพัฒนาการระดับดีต่ำสุด คือ ตัวบงช้ี ที่ 78.3 ปฏบิ ัติตนเบ้อื งตนในการเปน สมาชกิ ทดี่ ีของสังคม รอยละ 81.19 3.1.4 มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคดานสติปญญา รายตัวบงช้ี นักเรียนสวนใหญ มีพัฒนาการดานสติปญญา รายตัวบงชี้ อยูในระดับดีทุกขอ โดยตัวบงชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการ แสวงหาความรู รอ ยละของพฒั นาการระดับดีสูงสุด รอ ยละ 85.30 รองลงมาคอื ตวั บง ช้ีท่ี 12.1 มีเจตคติ ที่ดีตอการเรียนรู รอยละ 85.01 และตัวบงชี้ที่ 11.2 แสดงทาทาง/เคลื่อนไหวตามจินตนาการ อยางสรางสรรค รอยละ 84.61 ตามลำดับ โดยตัวบงชีท้ ีม่ ีรอยละของพัฒนาการระดับดตี ำ่ สุด คือ ตัวบงช้ี ท่ี 10.2 มคี วามสามารถในการคิดเชงิ เหตผุ ลรอ ยละ 74.94 ขอ เสนอแนะเชงิ นโยบายในการยกระดบั คณุ ภาพเดก็ จากการประเมินพฒั นาการนกั เรียนที่จบหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ๑. ระดบั สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา 1.1. ควรสรางความตระหนักและความรูความเขา ใจใหต รงกันในการดำเนินงานและภารกจิ ในการ จัดการศึกษาปฐมวัยใหโรงเรียน ในเร่ืองตอไปน้ี 1.1.1 การจดั ประสบการณพ ฒั นาเด็กปฐมวัยแบบองครวมอยา งเต็มศักยภาพ 1.1.2 การสง เสรมิ การเจรญิ เตบิ โต สุขอนามยั และการพัฒนาการทางรา งกายของเด็กปฐมวยั 1.1.3 การสง เสริมการใชภ าษาสอ่ื สารใหเหมาะสมตามวัย ตลอดจนการสง เสริมใหเ ดก็ ปฐมวัย มีจนิ ตนาการและความคดิ สรางสรรค 1.1.4 สงเสรมิ ใหผ ูบริหารโรงเรียนและครปู ฐมวยั ไดมีความรู และเห็นความสำคัญของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั โดยใหความสนใจและเอาใจใสอยางจริงจัง 1.1.5 สง เสรมิ ใหโ รงเรยี นนำนวัตกรรมทเ่ี ก่ียวของกบั การพฒั นาการศึกษาปฐมวยั มาใช โดยคำนงึ ถึงหลกั การจดั การศึกษาปฐมวยั และความเหมาะสมกับบริบทของสังคมท่ีแวดลอ มเด็ก 1.2 สง เสริม สนับสนุนการดำเนินงานการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในดานงบประมาณและส่อื การเรยี น การสอน 1.3 สงเสริม สนับสนุนจัดใหม ผี ูสอนปฐมวยั มที ักษะในการจัดประสบการณเรยี นรู 1.4 สง เสรมิ ใหผ บู ริหารโรงเรยี นไดเรียนรูการจดั การศึกษาปฐมวยั ทีถ่ ูกตองตามหลักการ 1.5 กำกบั ติดตาม การดำเนินงานการจดั การศึกษาปฐมวยั อยา งตอเนือ่ ง

จ ๒. ระดับโรงเรียน ควรสรางความตระหนักและความรูความเขาใจใหแ กครปู ฐมวยั ผปู กครองและผเู กย่ี วของ ในเรอ่ื งตอไปน้ี 2.1 การจัดประสบการณพฒั นาเด็กปฐมวยั แบบองคร วมอยา งเตม็ ศักยภาพโดยเนน การบูรณาการ การเรยี นรู 2.2 การสง เสริมสขุ อนามัยของเดก็ ไดแก การรกั ษาความสะอาดมือและเล็บมือ เทา และเล็บเทา ปาก ลน้ิ ฟน การลา งมอื หลังจากการใชห องนำ้ หอ งสวม เปนตน 2.3 สง เสริมการฝก ทักษะการสื่อสาร การคิดและการแสวงหาความรู การพฒั นาความคิดรวบยอด คดิ เชงิ เหตผุ ล สังเกต จำแนก เปรยี บเทียบ จดั หมวดหมู เรียงลำดับเหตุการณ แกปญหา และมติ ิสัมพนั ธ อยางตอเนื่อง 2.4 การสง เสริมจนิ ตนาการและความคิดสรางสรรค ควรใหเด็กไดพัฒนาความคิดริเรม่ิ สรางสรรค ไดถา ยทอดอารมณความรสู กึ และเหน็ ความสวยงามของสงิ่ ตางๆ รอบตัว โดยใชกิจกรรมสรา งสรรคและ ดนตรีเปนสอ่ื ใชการเคล่ือนไหวและจังหวะตามจินตนการ ใหป ระดษิ ฐสิง่ ตางๆ อยางอสิ ระตามความคดิ รเิ ริ่ม สรา งสรรคข องเด็ก 2.5 การใหโอกาสเด็กไดเลน ทำงานรว มกันเปนกลุม โดยเนนใหม ีการวางแผน เลือก ตัดสนิ ใจ และลงมือปฏิบัติ 2.6 การประเมนิ พฒั นาการเด็ก ควรดำเนนิ การอยางเปน ระบบและตอ เน่ือง ตลอดจนนำผล การประเมนิ มาใชในการจัดกิจกรรมหรอื ประสบการณ พัฒนาเด็กใหเต็มตามศกั ยภาพของแตละคน 2.7 สง เสริมใหพอ แม ผูป กครองมีสวนรว มในการเฝา ระวงั ภาวะทุพโภชนาการและภาวะ โภชนาการเกินเกณฑ 3. ระดับชั้นเรยี น 3.1 ครูผสู อนควรนำขอมลู ไปใชใ นการพฒั นาเด็กระดบั ช้นั เรยี น พัฒนาเดก็ เปนรายบุคคล รายมาตรฐานคณุ ลักษณะที่พึงประสงค และนำขอมูลไปใชใ นการวิจยั ในช้ันเรียน 3.2 ครคู วรนำผลการประเมินไปออกแบบการจัดประสบการณการเรียนรูหรือแสวงหานวตั กรรม ใหม ๆ เพ่ือยกระดับคุณภาพเด็ก โดยยึดมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค และออกแบบการประเมิน พฒั นาการโดยใชว ิธกี ารหลากหลาย ใชเครอื่ งมือทีม่ ีคุณภาพ และเนน การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง และฝก เด็กใหม ที ักษะการคิดพื้นฐาน

ฉ สารบญั หนา ก คำนำ ข บทสรปุ สำหรบั ผูบริหาร บทท่ี 1 บทนำ 1 1 ความเปนมาและความสำคญั 2 วตั ถุประสงค 2 ความสำคัญของการประเมิน 2 ขอบเขตการประเมนิ 4 นยิ ามศัพทเ ฉพาะ ประโยชนท่ีไดร ับ 5 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วของ 14 หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 16 พฒั นาการของเดก็ ปฐมวยั 17 การประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย งานวิจัยทเ่ี ก่ียวของ 19 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการ 19 กลุมเปาหมาย 22 ขอบเขตการประเมนิ 23 เคร่อื งมือท่ีใชในเก็บรวบรวมขอมูล 23 วิธดี ำเนินการ/การเก็บรวบรวมขอมูล การวเิ คราะหขอ มลู 24 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ตอนที่ 1 ผลการประเมินพฒั นาการของนกั เรยี นทีจ่ บหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย 25 พุทธศกั ราช 2560 ปการศึกษา 2563 ระดบั เขตพื้นท่ีการศึกษา 26 ตอนที่ 2 ผลการประเมินพฒั นาการของนกั เรียนที่จบหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั 30 พทุ ธศักราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 จำแนกตามขนาดโรงเรียน 32 ตอนที่ 3 ผลการประเมินพฒั นาการของนกั เรยี นทจ่ี บหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย 35 พทุ ธศกั ราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 จำแนกตามมาตรฐาน คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคของหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 บทท่ี 5 สรุป อภปิ ราย และขอเสนอแนะ สรุปผลการประเมินพัฒนาการ อภปิ รายผล ขอเสนอแนะ

ช สารบญั (ตอ ) หนา บรรณานกุ รม 37 ภาคผนวก 38 - ผลการประเมนิ พัฒนาการของนกั เรียนที่จบหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 จำแนกแตล ะโรงเรียน - เอกสารประกอบการดำเนนิ การประเมนิ พฒั นาการของนักเรยี นทีจ่ บหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 - รปู ภาพแสดงรอ งรอยการปฏิบัติงาน รายชื่อคณะทำงาน 60

สารบัญตาราง ซ ตาราง 1 รอยละนักเรียนตามระดับคุณภาพพฒั นาการในภาพรวมทกุ ดาน หนา ตาราง 2 รอ ยละนักเรียนตามระดบั คุณภาพรายพฒั นาการ ตาราง 3 รอยละนักเรียนตามระดบั คุณภาพรายพัฒนาการ จำแนกตามขนาดโรงเรยี น 24 ตาราง 4 รอ ยละนักเรียนตามระดบั คุณภาพรายมาตรฐานคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค 24 25 ของหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ตาราง 5 รอ ยละนักเรยี นตามระดับคุณภาพของพัฒนาการดา นรา งกาย รายตวั บงช้ี 26 ตาราง 6 รอ ยละนกั เรยี นตามระดบั คุณภาพของพัฒนาการดา นอารมณ จิตใจ รายตวั บง ช้ี 27 ตาราง 7 รอ ยละนกั เรียนตามระดับคุณภาพของพฒั นาการดา นสงั คม รายตัวบง ช้ี 27 ตาราง 8 รอยละนกั เรยี นตามระดับคุณภาพของพัฒนาการดา นสติปญญา รายตัวบง ชี้ 28 29

๑ บทที่ 1 บทนำ 1. ความเปนมาและความสำคัญ การศึกษาปฐมวัย เปนการจัดการศึกษาเพื่อวางรากฐานชีวิตของเด็กไทย ใหเจริญเติบโตและมี พัฒนาการสมวัยอยางสมดุล กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เพื่อใหสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กทุกสังกัดนาไปใชใหเหมาะสมกับเด็กและสภาพทองถ่ิน โดยกำหนดปรัชญาการศึกษาปฐมวัยไววา “การศึกษาปฐมวัย เปนการพัฒนาเด็กตั้งแตแรกเกิดถึง 6 ป บริบูรณ อยางเปนองครวม บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและการสงเสริมกระบวนการเรียนรูที่สนองตอ ธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแตละคนใหเต็มตามศักยภาพภายใตบริบทสังคมและวัฒนธรรม ที่เด็กอาศัยอยู ดวยความรัก ความเอื้ออาทร และความเขาใจของทุกคน เพื่อสรางรากฐานคุณภาพชีวิตให เดก็ พัฒนาไปสคู วามเปนมนุษยท ีส่ มบูรณ เกดิ คณุ คาตอตนเอง ครอบครัวชุมชน สงั คม และประเทศชาต”ิ (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2560 : 2) หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 จัดประสบการณโ ดยเนน การจัดในรปู ของกิจกรรม บูรณาการผานการเลน เพื่อใหเด็กเรียนรูจากประสบการณตรง เกิดความรู ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งเกิดการพัฒนาทั้ง 4 ดาน ตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค จานวน 12 ขอ ตัวบงชี้ และ สภาพที่พึงประสงคของเด็กอายุ 3 - 6 ป อันเปนเปาหมายในการสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ที่ผูสอน ตองนำไปจัดประสบการณในชั้นเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่งการประเมินพัฒนาการ เปนการสะทอนคุณภาพ ของเด็กปฐมวัยที่แสดงใหเห็นพฤติกรรมและความสามารถของเด็กดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และ สติปญญา ซึ่งขอมูลที่ไดจากการประเมินพัฒนาการนำมาใชในการปรับปรุงวิธีการจัดกิจกรรมใหเหมาะสม กับความสนใจและความตองการของเด็กเปนรายบุคคล นำมาใชในการแกไขขอบกพรองนำเสนอผลการ พัฒนาใหผูปกครองทราบความกาวหนา พรอมทั้งใหความรูแนวทางการพัฒนาเด็ก เพื่อใหเด็กมีพัฒนาการ สูงสดุ ตามศกั ยภาพตอ ไป (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2560 : 41 - 43) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร ตระหนักในความสำคัญของการประเมิน พฒั นาการนักเรียนทจ่ี บหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมาอยางตอเนื่อง ในปก ารศึกษา 2563 จึงไดดำเนินการ ประเมินพัฒนาการนักเรียนใหครอบคลมุ พัฒนาการท้ัง 4 ดาน ตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของ หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 ซงึ่ ดำเนินการประเมนิ พฒั นาการนักเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร ทั้งนี้เพื่อใหไดขอมูลสารสนเทศของนักเรียนที่จบหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 ในภาพรวมระดับเขตพื้นที่การศึกษา สำหรับ นำผลไปใชเปนขอมูลในการวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย และเปนประโยชนตอหนวนงาน ท่ีเกี่ยวขอ งตอ ไป 2. วัตถุประสงค เพอ่ื รายงานผลการประเมินพัฒนาการนักเรยี นหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ปก ารศกึ ษา 2563

๒ 3. ความสำคัญของการประเมนิ การประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 เปน การประเมินเพ่ือตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพของนักเรยี นตามมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค ท่กี ำหนด ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และนำผลการประเมินพัฒนาการมาเปนขอมูล สารสนเทศ สำหรับวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย และเปนประโยชนตอสถานศึกษาและ หนว ยงานที่เก่ยี วของสำหรับใชในการดำเนนิ การเก่ยี วกับการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวัยตอ ไป 4. ขอบเขตการประเมนิ 4.1 ขอบเขตดานเนื้อหา การประเมนิ พัฒนาการนกั เรียนที่จบหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 ในครั้งนี้ ไดกำหนดกรอบเนื้อหาในการประเมิน ประกอบดวยพัฒนาการทั้ง 4 ดาน ของเด็กปฐมวัย ไดแก พัฒนาการดานรางกาย พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ พัฒนาการดานสังคม และ พัฒนาการดานสติปญญา ตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 4.2 ขอบเขตดา นกลุมเปา หมาย กลุมเปา หมาย ไดแ ก นักเรียนชัน้ อนุบาล 3 ที่จบหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 ในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร จำนวน 3,061 คน 5. นิยามศัพทเ ฉพาะ หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั หมายถึง หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ซง่ึ เปนเอกสารทป่ี ระกาศใชตามคำสงั่ กระทรวงศึกษาธกิ าร ที่ สพฐ. 1223/2560 เรื่อง ใหใ ชห ลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560 นกั เรียนทีจ่ บหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 หมายถึง นกั เรยี นชั้นอนุบาลศึกษาปที่ 3 ของโรงเรยี นสงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร ปก ารศกึ ษา 2563 ผลการประเมินพัฒนาการนักเรยี น หมายถึง ผลการประเมนิ พฒั นาการนกั เรยี นตามมาตรฐาน คุณลกั ษณะที่พึงประสงคของหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 แบง เปน พัฒนาการทง้ั 4 ดาน คือ ดานรา งกาย ดา นอารมณ จติ ใจ ดานสังคม และดา นสติปญญา ดังน้ี 1. พฒั นาการดา นรางกาย หมายถงึ นกั เรียนมรี า งกายเจริญเตบิ โตตามวยั มสี ขุ นิสยั ทด่ี ี กลามเน้อื ใหญแ ละกลามเนื้อเลก็ แข็งแรง ใชไดอยางคลองแคลว และประสานสมั พันธกนั โดยพจิ ารณาจาก 1.1 นำ้ หนกั และสว นสงู ตามเกณฑ ไดแ ก นำ้ หนกั สวนสงู ของนกั เรียนเปรียบเทียบกับเกณฑ อางอิงการเจรญิ เติบโตของเด็กไทย ป พ.ศ. 2542 ของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข 1.2 มสี ขุ นิสยั ทด่ี ี ไดแ ก รับประทานอาหารท่ีมปี ระโยชนไ ดหลายชนิดและดื่มนำสะอาดได ดว ยตนเองและลา งมือกอนรับประทานอาหารและหลงั จากใชหอ งน้ำหองสว มดวยตนเอง

๓ 1.3 รักษาความปลอดภยั ของตนเองและผูอน่ื ไดแ ก เลน ทำกจิ กรรม และปฏิบัติตอผูอื่น อยา งปลอดภัย 1.4 เคลือ่ นไหวรา งกายอยา งคลองแคลว ประสานสมั พนั ธ และทรงตวั ได ไดแก เดินตอเทา ถอยหลังเปน เสนตรงไดโดยไมตองกางแขน กระโดดขาเดียวไปขางหนาไดอยา งตอเนอ่ื งโดยไมเ สียการทรงตัว ว่ิงหลบหลกี สงิ่ กดี ขวางไดอยางคลอ งแคลว และรบั ลกู บอลทีก่ ระดอนขึ้นจากพ้นื ได 1.5 ใชม ือ - ตา ประสานสัมพนั ธกัน ไดแก ใชก รรไกรตดั กระดาษตามแนวเสน โคงได และ เขียนรูปสามเหลย่ี มตามแบบไดอ ยางมีมุมชดั เจน 2. พฒั นาการดานอารมณ จิตใจ หมายถึง นกั เรยี นมสี ุขภาพจิตดีและมีความสุข ชน่ื ชมและ แสดงออกทางศิลปะ ดนตรีและการเคล่ือนไหว มีคุณธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจทีด่ งี าม โดยพจิ ารณาจาก 2.1 แสดงออกทางอารมณไดอยางเหมาะสม ไดแก แสดงอารมณค วามรสู กึ ไดสอดคลอง กับสถานการณอ ยางเหมาะสม 2.2 มคี วามรสู กึ ทีด่ ีตอ ตนเองและผูอื่น ไดแก กลาพูดกลาแสดงออกอยา งเหมาะสม ตามสถานการณและแสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเองและผอู ืน่ 2.3 สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผา นงานศลิ ปะ ดนตรีและการเคล่อื นไหว ไดแ ก สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผา นงานศลิ ปะ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผา นเสยี งเพลง ดนตรี และสนใจ มีความสขุ และแสดงทา ทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง จังหวะ และดนตรี 2.4 ซื่อสัตยส จุ รติ ไดแ ก ขออนญุ าตหรือรอคอย เม่ือตองการสิ่งของของผอู ื่นดว ยตนเอง 2.5 มีความเมตตากรณุ า มีน้ำใจ และชว ยเหลือแบง ปน ไดแ ก ชว ยเหลอื และแบง ปนผูอ่นื ไดด วยตนเอง 2.6 มีความเห็นอกเห็นใจผูอน่ื ไดแก แสดงสีหนาและทาทางรับรูความรูสึกผูอ่ืน อยา งสอดคลองกับสถานการณ 2.7 มคี วามรับผดิ ชอบ ไดแก ทำงานที่ไดร บั มอบหมายจนสำเร็จดว ยตนเอง 3. พฒั นาการดานสงั คม หมายถงึ นกั เรียนมีทักษะชวี ิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง รกั ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม วัฒนธรรม และความเปนไทย อยรู ว มกบั ผูอ่ืนไดอยางมี ความสขุ และปฏิบัติตนเปน สมาชกิ ท่ีดีของสงั คมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข โดยพจิ ารณาจาก 3.1 ชว ยเหลอื ตนเองในกิจวัตรประจำวนั ไดแก รับประทานอาหารดวยตนเองอยางถูกวิธี ใชแ ละทำความสะอาดหลงั ใชหอ งนำ้ หองสว มดว ยตนเอง 3.2 มีวินยั ในตนเอง ไดแ ก เกบ็ ของเลนของใชเขาทีอ่ ยางเรยี บรอยดว ยตนเอง และเขาแถว ตามลำดับกอนหลงั ไดดว ยตนเอง 3.3 ประหยัดและพอเพียง ไดแ ก ใชสิง่ ของเครื่องใชอยางประหยัดและพอเพยี งดว ยตนเอง 3.4 ดแู ลรกั ษาธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ไดแ ก ทิง้ ขยะไดถูกที่ 3.5 มมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรกั ความเปน ไทย ไดแ ก ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทย ไดต ามกาลเทศะ และกลาวคำขอบคุณและขอโทษดวยตนเอง

๔ 3.6 ยอมรบั ความเหมือนและความแตกตางระหวา งบุคคล ไดแก เลน และทำกิจกรรมรว มกับ เด็กที่แตกตา งไปจากตน 3.7 มปี ฏิสมั พนั ธท ี่ดกี ับผูอื่น ไดแ ก เลน หรือทำงานรวมมอื กับเพ่ือนอยางมีเปา หมาย 3.8 ปฏบิ ตั ิตนเบ้ืองตน ในการเปนสมาชกิ ทด่ี ีของสังคม ไดแก ปฏบิ ตั ติ นเปน ผูน ำและผตู าม ไดเหมาะสมกบั สถานการณ 4. พัฒนาการดานสตปิ ญญา หมายถึง นักเรียนใชภาษาสื่อสารไดเ หมาะสมกบั วัย มีความสามารถ ในการคดิ ที่เปนพ้ืนฐานในการเรยี นรู มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา งสรรค มเี จตคติทด่ี ีตอการเรียนรู และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรไู ดเหมาะสมกบั วัย โดยพิจารณาจาก 4.1 สนทนาโตต อบและเลา เรื่องใหผ อู ่นื เขา ใจ ไดแก ฟงผูอ่ืนพูดจนจบ และสนทนาโตตอบ อยา งตอเนอ่ื งเช่ือมโยงกับเรอ่ื งที่ฟง และเลา เปนเร่ืองราวตอเนอื่ งได 4.2 อา น เขียนภาพ และสัญลกั ษณได ไดแก อานภาพ สญั ลกั ษณ คำ ดว ยการชีห้ รือกวาดตา มองจดุ เริ่มตนและจุดจบของขอ ความ และเขียนช่ือของตนเองตามแบบ 4.3 มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด ไดแ ก บอกลักษณะ สว นประกอบ การเปลี่ยนแปลง หรอื ความสมั พันธข องสิ่งตา งๆ จากการสงั เกตโดยใชประสาทสมั ผสั จับคแู ละเปรยี บเทียบความแตกตาง และความเหมอื นของสิ่งตา งๆ โดยใชลกั ษณะท่ีสังเกตพบ 2 ลักษณะขนึ้ ไป จำแนกและจัดกลุมสิ่งตา ง ๆ โดยใชต ั้งแต 2 ลักษณะข้ึนไปเปนเกณฑ และเรยี งลำดบั ส่ิงของและเหตุการณอยา งนอย 5 ลำดบั 4.4 มีความสามารถในการคดิ เชงิ เหตุผล ไดแก อธิบายเชอ่ื มโยงสาเหตุและผลทเ่ี กดิ ขึ้น ในเหตุการณหรือการกระทำดวยตนเอง และคาดคะเนสิง่ ท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้ และมีสว นรว มในการลงความเห็น จากขอมูลอยางมีเหตุผล 4.5 มคี วามสามารถในการคดิ แกปญ หาและตดั สินใจ ไดแก ตัดสินใจในเรื่องงา ยๆ และยอมรับ ผลท่ีเกดิ ขึ้น และระบุปญ หาสรางทางเลือกและเลอื กวธิ แี กป ญหา 4.6 ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค ไดแก สรางผลงานศิลปะ เพอ่ื ส่ือสารความคิด ความรสู ึกของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลงแปลกใหมจ ากเดมิ และมรี ายละเอยี ดเพม่ิ ขึ้น 4.7 แสดงทา ทาง/เคล่ือนไหวตามจินตนาการอยา งสรางสรรค ไดแ ก เคล่ือนไหวทา ทาง เพื่อส่ือสารความคิด ความรูส ึกของตนเองอยางหลากหลาย และแปลกใหม 4.8 มเี จตคตทิ ีด่ ีตอ การเรยี นรู ไดแ ก กระตือรือรนในการรวมกิจกรรมต้ังแตตนจนจบ 4.9 มีความสามารถในการแสวงหาความรู ไดแ ก คนหาคำตอบของขอสงสัยตาง ๆ โดยใช วธิ กี ารทีห่ ลากหลายดวยตนเอง 6. ประโยชนท ีไ่ ดร บั ผลการประเมนิ พัฒนาการนักเรยี นทีจ่ บหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 เปน สารสนเทศในการวางแผนพฒั นาการศึกษาปฐมวัยของสำนักงานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษามุกดาหาร และเปนประโยชนตอสถานศึกษาและหนว ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ ง สำหรบั ใชในการดำเนินการเก่ียวกับการพัฒนาการศกึ ษาปฐมวยั ตอไป

๕ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การประเมินพัฒนาการนักเรียนท่จี บหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 ปก ารศกึ ษา 2563 ไดศ ึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วของ ดงั นี้ 1. หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 2. พฒั นาการของเดก็ ปฐมวยั 3. การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวยั 4. งานวจิ ยั ท่เี กย่ี วของ 1. หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 จดั ทำข้ึนโดยยดึ ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย วสิ ยั ทศั น หลกั การบนพื้นฐานแนวคดิ ท่เี กย่ี วขอ งกบั การศึกษาปฐมวัยสากล และความเปนไทย ครอบคลุมการอบรม เลย้ี งดแู ละการพัฒนาเด็กอยางเปนองครวม และการประเมินพัฒนาการเพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั ใหเ ต็มตาม ศกั ยภาพ เอกสารนจี้ งึ ขอเสนอสาระสำคัญของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 สาหรับเดก็ อายุ 3 - 6 ป ซ่งึ มสี าระโดยสังเขป ดงั นี้ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2560 : 26 - 48) 1.1 หลกั การ หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 กำหนดหลกั การ ดงั นี้ ๑) สงเสรมิ กระบวนการเรยี นรูและพฒั นาการท่คี รอบคลมุ เด็กปฐมวยั ทกุ คน ๒) ยดึ หลกั การอบรมเลย้ี งดแู ละใหการศึกษาที่เนนเด็กเปนสำคัญ โดยคำนงึ ถึงความแตกตาง ระหวา งบคุ คล และวถิ ชี ีวิตของเด็กตามบริบทของชุมชน สงั คม และวัฒนธรรมไทย ๓) ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองครวม ผานการเลนอยางมีความหมาย และมี กิจกรรมที่หลากหลาย ไดลงมือกระทำในสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู เหมาะสมกับวัย และมีการ พกั ผอนเพยี งพอ ๔) จัดประสบการณการเรียนรูใหเด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปนคนดี มวี ินัย และมคี วามสขุ ๕) สรางความรู ความเขา ใจ และประสานความรว มมือในการพัฒนาเด็กระหวางสถานศึกษา กับพอ แม ครอบครัว ชมุ ชน และทุกฝายท่ีเก่ียวขอ งกับการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั 1.2 จดุ หมาย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุงเด็กมีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และมีความพรอม ในการเรยี นรูตอไป จึงกำหนดจดุ หมายเพอ่ื ใหเกิดกับเดก็ เมอื่ จบการศึกษาระดบั ปฐมวยั ดังน้ี 1) รา งกายเจรญิ เติบโตตามวยั แขง็ แรง และมสี ุขนสิ ยั ทด่ี ี 2) สขุ ภาพจิตดี มสี นุ ทรยี ภาพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตใจทดี่ ีงาม 3) มีทักษะชีวิตและปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยูรวมกับ ผูอน่ื ไดอยางมีความสุข

๖ 4) มที กั ษะการคิด การใชภ าษาส่ือสาร และการแสวงหาความรูไดเหมาะสมกับวัย 1.3 มาตรฐานและคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคจำนวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบดว ย ๑) พัฒนาการดานรางกาย ประกอบดวย ๒ มาตรฐานคอื มาตรฐานท่ี ๑ รางกายเจริญเตบิ โตตามวัยและมสี ุขนสิ ยั ท่ดี ี มาตรฐานท่ี ๒ กลามเนื้อใหญแ ละกลามเน้ือเลก็ แข็งแรงใชไดอยา งคลองแคลว และประสานสัมพันธก นั ๒) พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ประกอบดว ย ๓ มาตรฐานคอื มาตรฐานที่ ๓ มีสขุ ภาพจติ ดีและมีความสุข มาตรฐานที่ ๔ ช่ืนชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว มาตรฐานท่ี ๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจที่ดีงาม ๓) พฒั นาการดานสังคม ประกอบดว ย ๓ มาตรฐานคอื มาตรฐานที่ ๖ มที ักษะชีวิตและปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ ม วฒั นธรรม และความเปน ไทย มาตรฐานที่ ๘ อยูร วมกับผูอ ่ืนไดอยางมีความสขุ และปฏิบัตติ นเปน สมาชิกท่ดี ี ของสังคมในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมขุ ๔) พัฒนาการดานสติปญ ญา ประกอบดวย ๔ มาตรฐานคอื มาตรฐานท่ี ๙ ใชภาษาส่อื สารไดเ หมาะสมกบั วยั มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดทเ่ี ปนพื้นฐานในการเรียนรู มาตรฐานที่ ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคิดสรา งสรรค มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคติทีด่ ีตอการเรียนรแู ละมีความสามารถในการแสวงหาความรู ไดเ หมาะสมกบั วยั 1.4 สภาพท่พี งึ ประสงค สภาพทพี่ ึงประสงคเปนพฤติกรรมหรือความสามารถตามวยั ทีค่ าดหวงั ใหเ ดก็ เกิด บนพ้ืนฐาน พฒั นาการตามวัยหรอื ความสามารถตามธรรมชาตใิ นแตละระดับอายุ เพ่ือนำไปใชใ นการกำหนดสาระ การเรียนรใู นการจัดประสบการณ และประเมินพัฒนาการเด็ก ซึง่ ในเอกสารนจี้ ะกลาวถึงเฉพาะสภาพ ทีพ่ งึ ประสงคในชวงอายุ 5 - 6 ป เพอ่ื ใหส อดคลองกับการประเมินพัฒนาการนักเรียนท่ีจบหลกั สูตร การศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 โดยมรี ายละเอยี ดของมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ตวั บงชี้ และสภาพท่ีพึงประสงค ดงั นี้ มาตรฐานที่ ๑ รางการเจริญเติบโตตามวัยและมสี ุขนิสัยท่ีดี ตวั บงช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค อายุ ๕-๖ ป ๑.๑ นำ้ หนักและ สว นสงู ตามเกณฑ ๑.๑.๑ นำ้ หนกั และสว นสงู ตามเกณฑข องกรมอนามัย

๗ ตวั บง ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค ๑.๒ มสี ุขภาพอนามัย อายุ ๕-๖ ป สุขนสิ ัยทด่ี ี ๑.๒.๑ รับประทานอาหารที่มีประโยชนไ ดหลายชนดิ และด่ืมน้ำสะอาดได ดวยตนเอง ๑.๓ รักษาความ ๑.๒.๒ ลา งมอื กอนรับประทานอาหารและหลงั จากใชห องน้ำหอ งสวม ปลอดภัยของ ดวยตนเอง ตนเองและผอู นื่ ๑.๒.๓ นอนพักผอ นเปน เวลา ๑.๒.๔ ออกกำลงั กายเปนเวลา ๑.๓.๑ เลน ทำกจิ กรรมและปฏบิ ัตติ อผูอ ื่นอยา งปลอดภยั มาตรฐานที่ ๒ กลา มเนื้อใหญและกลามเน้ือเล็กแข็งแรง ใชไดอ ยางคลองแคลว และประสาทสัมพนั ธก นั ตวั บง ชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค อายุ ๕-๖ ป ๒.๑ เคล่ือนไหว ๒.๑.๑ เดนิ ตอ เทา ถอยหลังเปนเสนตรงไดโ ดยไมตองกางแขน รางกายอยาง ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียวไปขางหนา ไดอยางตอ เน่ืองโดยไมเสียการทรงตวั คลอ งแคลว ๒.๑.๓ วงิ่ หลบหลกี สง่ิ กีดขวางไดอ ยางคลองแคลว ประสานสัมพนั ธ ๒.๑.๔ รับลูกบอลทกี่ ระตอบขึน้ จากพืน้ ได และทรงตัวได ๒.๒ ใชมอื -ตา ๒.๒.๑ ใชก รรไกรตัดกระดาษตามแนวเสนโคงได ประสานสมั พันธก นั ๒.๒.๒ เขยี นรปู สามเหลี่ยมตามแบบไดอยางมีมมุ ชดั เจน ๒.๒.๓ รอ ยวสั ดุท่มี รี ขู นาดเสน ผา นศูนยก ลาง ๐.๒๕ ชม. ได มาตรฐานท่ี ๓ มสี ขุ ภาพจิตดีและมคี วามสุข ตัวบง ช้ี สภาพที่พึงประสงค อายุ ๕-๖ ป ๓.๑ แสดงออก ทางอารมณไ ด ๓.๑.๑ แสดงอารมณ ความรูสึกไดส อดคลองกับสถานการณอยา งเหมาะสม อยา งเหมาะสม ๓.๒.๑ กลา พูดกลาแสดงออกอยางเหมาะสมตามสถานการณ ๓.๒ มีความรสู ึกทีด่ ี ๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเองและผูอ ่ืน ตอตนเองและ ผูอนื่

๘ มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว ตวั บง ช้ี สภาพที่พึงประสงค อายุ ๕-๖ ป ๔.๑ สนใจ มีความสุข และแสดงออก ๔.๑.๑ สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผา นงานศิลปะ ผา นงานศิลปะ ๔.๑.๒ สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผานเสียงเพลง ดนตรี ดนตรี และ ๔.๑.๓ สนใจ มีความสขุ และแสดงทา ทาง/เคลอื่ นไหว ประกอบเพลง การเคลอื่ นไหว จงั หวะ และดนตรี มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีจติ ใจทดี่ ีงาม ตัวบง ช้ี สภาพทีพ่ งึ ประสงค อายุ ๕-๖ ป ๕.๑ ซอื่ สัตยสุจริต ๕.๒ มีความเมตตา ๕.๑.๑ ขออนุญาตหรือรอคอยเม่อื ตองการส่ิงของของผูอนื่ ดวยตนเอง ๕.๒.๑ แสดงความรักเพือ่ นและมีเมตตา สตั วเ ล้ียง กรณุ า มนี ้ำใจ และชวยเหลือ ๕.๓.๑ แสดงสหี นาและทาทางรับรคู วามรูสกึ ผูอื่นอยา งสอดคลองกับ แบงปน สถานการณ ๕.๓ มีความเหน็ อก ๕.๔.๑ ทำงานท่ไี ดร บั มอบหมายจนสำเร็จดว ยตนเอง เห็นใจผูอ ่ืน ๕.๔ มคี วาม รบั ผิดชอบ มาตรฐานท่ี ๖มีทกั ษะชีวิตและปฏิบัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตวั บง ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค อายุ ๕-๖ ป ๖.๑ ชวยเหลือตนเอง ๖.๑.๑ แตงตวั ดวยตนเองไดอ ยางคลอ งแคลว ในการปฏบิ ตั ิ ๖.๑.๑ รบั ประทานอาหารดว ยตนเองอยา งถูกวิธี กจิ วัตรประจำวัน ๖.๑.๓ ใชแ ละทำความสะอาดหลงั ใชหอ งน้ำหองสว ม ดว ยตนเอง ๖.๒ มวี ินัยในตนเอง ๖.๒.๑ เก็บของเลนของใชเ ขาท่อี ยางเรียบรอยดว ยตนเอง ๖.๒.๒ เขา แถวตามลำดบั กอ นหลงั ไดดวยตนเอง ๖.๓ ประหยดั และ ๖.๓.๑ ใชส ิ่งของเครื่องใชอยางประหยัดและพอเพียง ดวยตนเอง พอเพยี ง

๙ มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สงิ่ แวดลอม และความเปนไทย ตัวบงช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค อายุ ๕-๖ ป ๗.๑ ดแู ลรักษา ธรรมชาตแิ ละ ๗.๑.๑ ดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ มดวยตนเอง ส่ิงแวดลอ ม ๗.๑.๒ ท้งิ ขยะไดถ ูกท่ี ๗.๒ มมี ารยาทตาม ๗.๒.๑ ปฏบิ ัติตนตามมารยาทไทยไดตามกาลเทศะ วัฒนธรรมไทย ๗.๒.๒ กลาวคำขอบคุณและขอโทษดว ยตนเอง ๗.๒.๓ ยนื ตรงและรวมรองเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญพระบารมี และรักความเปน ไทย มาตรฐานที่ ๘ อยูรวมกบั ผอู ื่นไดอยางมีความสุขและปฏิบัตติ นเปนสมาชิกทีด่ ีของสงั คมในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข ตัวบง ช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค อายุ ๕-๖ ป ๘.๑ ยอมรับความ ๘.๑.๑ เลน และทำกิจกรรมรว มกับเด็กท่แี ตกตา งไปจากตน เหมอื นและความ แตกตา งระหวาง บุคคล ๘.๒ มปี ฏสิ ัมพันธท ีด่ ี ๘.๒.๑ เลนหรือทำงานรวมมือกบั เพ่ือนอยางมเี ปา หมาย กับผูอน่ื ๘.๒.๒ ยมิ้ ทักทายและพูดคุยกับผใู หญแ ละบุคคลที่คุนเคยไดเ หมาะสมกบั สถานการณ ๘.๓ ปฏบิ ัติตน ๘.๓.๑ มสี ว นรวมสรา งขอ ตกลงและปฏิบัติตามขอตกลงดว ยตนเอง เบือ้ งตนในการ ๘.๓.๒ ปฏิบตั ติ นเปน ผนู ำและผตู ามไดเ หมาะสมกบั สถานการณ เปน สมาชิกที่ดี ๘.๓.๓ ประนีประนอมแกไขปญหาโดยปราศจากการใชความรนุ แรงดว ยตนเอง ของสังคม มาตรฐานท่ี ๙ ใชภาษาสื่อสารไดเหมาะสมกบั วัย ตวั บง ชี้ สภาพที่พึงประสงค อายุ ๕-๖ ป ๙.๑ สนทนาโตตอบ ๙.๑.๑ ฟง ผูอ ่นื พดู จนจบและสนทนาโตตอบอยางตอเนือ่ งเชือ่ มโยงกับเรื่องท่ีฟง และเลาเรอ่ื งให ๙.๑.๒ เลา เปนเรือ่ งราวตอ เน่ืองได ผูอืน่ เขา ใจ ๙.๒ อาน เขียนภาพ ๙.๒.๑ อา นภาพสัญลักษณ คำ ดว ยการช้ีหรือกวาดตามอง จุดเริ่มตน และจดุ จบ และสัญลกั ษณไ ด ของขอความ ๙.๒.๒ เขยี นช่ือของตนเองตามแบบ เขียนขอความดวยวิธที ่ีคดิ ข้นึ เอง

๑๐ มาตรฐานท่ี ๑๐มคี วามสามารถในการคดิ ทเ่ี ปนพืน้ ฐานในการเรยี นรู ตัวบง ชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค อายุ ๕-๖ ป ๑๐.๑ มคี วามสามารถ ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะสว นประกอบ การเปลีย่ นแปลงหรือความสมั พนั ธข อง ในการคิดรวบยอด สงิ่ ตางๆ จากการสังเกตโดยใชประสาทสัมผสั ๑๐.๑.๒ จบั คแู ละเปรียบเทยี บความแตกตางและความเหมือนของส่ิงตา งๆ โดยใชลักษณะทส่ี ังเกตพบสองลักษณะขึน้ ไป ๑๐.๑.๓ จำแนกและจดั กลุมสิ่งตา งๆ โดยใชต ้ังแตสองลักษณะข้ึนไปเปนเกณฑ ๑๐.๑.๔ เรยี งลำดับสิ่งของและเหตุการณอยางนอ ย ๕ ลำดับ ๑๐.๒ มีความสามารถ ๑๐.๒.๑ อธิบายเชื่อมโยงสาเหตแุ ละผลที่เกดิ ขนึ้ ในเหตุการณหรือการกระทำ ในการคิดเชิงเหตผุ ล ดว ยตนเอง ๑๐.๒.๒ คาดคะเนสงิ่ ทอ่ี าจจะเกิดข้นึ และมีสว นรว มในการลงความเห็น จากขอมลู อยางมีเหตุผล ๑๐.๓ มีความสามารถ ๑๐.๓.๑ ตดั สนิ ใจในเร่อื งงายๆ และยอมรบั ผลทเ่ี กิดขนึ้ ในการคดิ แกป ญหา ๑๐.๓.๒ ระบุปญหาสรา งทางเลือกและเลือกวิธีแกป ญ หา และตดั สนิ ใจ มาตรฐานที่ ๑๑มจี ินตนาการและความคิดสรา งสรรค ตวั บง ชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค อายุ ๕-๖ ป ๑๑.๑ ทำงานศิลปะ ๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศลิ ปะเพื่อสอ่ื สารความคิด ความรูสึกของตนเองโดยมีการ ความจนิ ตนาการและ ดดั แปลงแปลกใหมจ ากเดมิ และมรี ายละเอียดเพ่ิมขึ้น ความคดิ สรางสรรค ๑๑.๒ แสดงทาทาง/ ๑๑.๒.๑ เคล่อื นไหวทา ทางเพ่ือสอ่ื สารความคิด ความรสู ึกของตนเองอยาง เคลือ่ นไหวตาม หลากหลายและแปลกใหม จนิ ตนาการอยาง สรางสรรค มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคตทิ ่ดี ีตอการเรยี นรู และมีความสามารถในการแสวงหาความรูไดเ หมาะสมกบั วยั ตวั บง ชี้ สภาพที่พึงประสงค อายุ ๕-๖ ป ๑๒.๑ มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ ๑๒.๑.๑ สนใจหยบิ หนงั สอื มาอา นและเขยี นสอ่ื ความคดิ ดวยตนเองเปนประจำ การเรียนรู อยา งตอเน่อื ง ๑๒.๑.๒ กระตอื รือรนในการรวมกจิ กรรมต้งั แตต น จนจบ ๑๒.๒ มคี วามสามารถ ๑๒.๒.๑ คนหาคำตอบของขอสงสยั ตางๆ โดยใชว ิธีการท่หี ลากหลายดวยตนเอง ในการแสวงหา ๑๒.๒.๒ ใชประโยคคำถามวา “เม่ือไร” “อยา งไร” ในการคนหาคำตอบ ความรู

๑๑ 1.5 การจัดประสบการณ การจัดประสบการณส ำหรับเด็กปฐมวยั อายุ ๓ - ๖ ป เปนการจดั กิจกรรมในลักษณะ การบรู ณาการผา นการเลน การลงมือกระทำจากประสบการณต รงอยางหลากหลาย เกดิ ความรู ทักษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม รวมทงั้ เกิดการพฒั นาทงั้ ดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสติปญญา การจดั ประสบการณจะไมจ ดั เปนรายวชิ า และครอบคลุมประสบการณสำคัญและสาระที่ควรเรียนรู ท้งั นี้ หลักสตู ร การศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2560 : 41) กำหนดแนวทางการจัด ประสบการณและการจดั กิจกรรมประจำวัน ไวด ังนี้ 1.5.1 แนวทางการจดั ประสบการณ 1) จัดประสบการณใหสอดคลองกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทำงานของสมอง ทเ่ี หมาะกบั อายุ วุฒภิ าวะและระดบั พฒั นาการ เพือ่ ใหเด็กทุกคนไดพ ัฒนาเต็มตามศักยภาพ ๒) จัดประสบการณใหสอดคลองกับแบบการเรียนรูของเด็ก เด็กไดลงมือกระทำ เรียนรูผานประสาทสัมผัสทั้งหา ไดเคลื่อนไหว สำรวจ เลน สังเกต สืบคน ทดลอง และคิดแกปญหา ดว ยตนเอง ๓) จัดประสบการณแบบบูรณาการ โดยบูรณาการทั้งกิจกรรม ทักษะ และสาระ การเรียนรู ๔) จัดประสบการณใหเด็กไดริเริ่มคิด วางแผน ตัดสินใจลงมือกระทำและนำเสนอ ความคดิ โดยผูส อนหรือผูจัดประสบการณเปนผสู นบั สนนุ อำนวยความสะดวก และเรียนรูรว มกับเด็ก ๕) จัดประสบการณใหเด็กมีปฏิสัมพันธกับเด็กอื่น กับผูใหญ ภายใตสภาพแวดลอม ท่เี อ้อื ตอการเรียนรใู นบรรยากาศที่อบอนุ มีความสุข และเรียนรกู ารทำกิจกรรมแบบรวมมือในลักษณะตาง ๆ กัน ๖) จัดประสบการณใหเด็กมีปฏิสัมพันธกับสื่อและแหลงการเรียนรูที่หลากหลายและ อยใู นวถิ ีชีวิตของเดก็ สอดคลอ งกบั บรบิ ท สงั คม และวัฒนธรรมทแ่ี วดลอ มเดก็ ๗) จัดประสบการณที่สงเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใชชีวิตประจำวัน ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และการมีวินัยให เปน สว นหนึง่ ของการจัดประสบการณก ารเรยี นรอู ยา งตอ เน่ือง ๘) จัดประสบการณทั้งในลักษณะที่มีการวางแผนไวลวงหนาและแผนที่เกิดขึ้นใน สภาพจรงิ โดยไมไดคาดการณไว ๙) จัดทำสารนิทัศนดวยการรวบรวมขอ มูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก เปนรายบุคคล นำมาไตรต รองและใชใหเปนประโยชนต อ การพฒั นาเดก็ และการวจิ ัยในช้ันเรยี น ๑๐) จดั ประสบการณโดยใหพอแม ครอบครวั และชมุ ชนมีสวนรว มทั้งการวาง แผนการสนับสนนุ ส่อื แหลงเรียนรู การเขา รว มกจิ กรรม และการประเมนิ พัฒนาการ 1.5.2 การจดั กิจกรรมประจำวัน กิจกรรมสำหรับเด็กอายุ ๓ ป - ๖ ปบริบูรณ สามารถนำมาจัดเปนกิจกรรมประจำวนั ไดหลายรูปแบบ เปนการชวยใหผูสอนหรือผูจัดประสบการณทราบวาแตละวันจะทำกิจกรรมอะไร เมื่อใด และอยางไร ทั้งน้ี การจัดกิจกรรมประจำวันสามารถจัดไดหลายรูปแบบ ขึ้นอยูกับความเหมาะสมในการ

๑๒ นำไปใชของแตละหนวยงานและสภาพชุมชน ที่สำคัญผูสอนตองคำนึงถึงการจัดกิจกรรมใหครอบคลุม พฒั นาการทกุ ดา น การจัดกิจกรรมประจำวนั มีหลักการจดั และขอบขา ยของกิจกรรมประจำวนั ดังน้ี 1) หลักการจดั กิจกรรมประจำวนั การจดั กจิ กรรมประจำวันจะตองคำนึงถึง อายุ และความสนใจของเดก็ แตล ะ ชว งวยั ดงั นี้ (๑) กำหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแตล ะกจิ กรรมใหเหมาะสมกบั วยั ของ เดก็ ในแตล ะวัน แตย ืดหยนุ ไดตามความตองการและความสนใจของเดก็ เชน วยั ๕-๖ ป มีความสนใจ ประมาณ ๑๕-๒๐ นาที (๒) กิจกรรมที่ตองใชความคิดทัง้ ในกลุมเล็กและกลุมใหญ ไมควรใชเวลาตอเน่อื ง นานเกนิ กวา ๒๐ นาที (3) กิจกรรมทเ่ี ดก็ มีอสิ ระเลือกเลน เสรี เพื่อชว ยใหเ ดก็ รจู ักเลือกตัดสินใจ คดิ แกปญ หา คิดสรา งสรรค ใชเ วลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที เชน การเลน ตามมมุ การเลนกลางแจง กิจกรรม ศิลปะสรางสรรค (๔) กจิ กรรมควรมคี วามสมดุลระหวางกิจกรรมในหองและนอกหอง กิจกรรมท่ีใช กลามเน้ือใหญและกลามเน้ือเล็ก กจิ กรรมที่เปนรายบุคคล กลุม ยอยและกลุมใหญ กิจกรรมท่ีเด็กเปนผูริเริ่ม และผูสอน หรือผูจัดประสบการณเปนผูริเริ่ม และกิจกรรมที่ใชกำลังและไมใชกำลัง จัดใหครบทุกประเภท ทัง้ น้ี กิจกรรมทต่ี องออกกำลังกายควรจัดสลับกบั กิจกรรมที่ไมต องออกกำลังมากนัก เพอ่ื เด็กจะไดไมเหนื่อย เกินไป 2) ขอบขายของกจิ กรรมประจำวัน การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแตละวันสามารถจัดไดหลายรูปแบบ ที่สำคัญ ตอ งคำนึงถงึ การจดั กิจกรรมใหครอบคลุมพฒั นาการทุกดาน ดังตอไปนี้ (๑) การพัฒนากลามเนื้อใหญ เปนการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว การยืดหยุน ความคลองแคลวในการใชอวัยวะตางๆ และจังหวะการเคลื่อนไหวในการใชกลามเนื้อใหญ โดยจัดกิจกรรมใหเด็กไดเลนอิสระกลางแจง เลนเครื่องเลนสนาม ปนปายเลนอิสระ เคลื่อนไหวรางกาย ตามจังหวะดนตรี (๒) การพัฒนากลามเนื้อเล็ก เปนการพัฒนาความแข็งแรงของกลามเนื้อเล็ก กลามเนอื้ มือ-นว้ิ มือ การประสานสัมพันธระหวางกลา มเนื้อมือและระบบประสาทตามือไดอยางคลองแคลว และประสานสัมพันธกัน โดยจัดกิจกรรมใหเด็กไดเลนเครื่องเลนสัมผัส เลนเกมการศึกษา ฝกชวยเหลือ ตนเองในการแตงกาย หยิบจับชอนสอม และใชวัสดุอุปกรณศิลปะ เชน สีเทียน กรรไกร พูกัน ดินเหนียว ฯลฯ (๓) การพัฒนาอารมณ จิตใจ และปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม เปนการปลูกฝง ใหเด็กมีความรสู ึกท่ีดีตอตนเองและผูอื่น มคี วามเชื่อมน่ั กลา แสดงออก มวี นิ ยั รับผดิ ชอบ ซ่อื สตั ย ประหยัด เมตตา กรุณา เอื้อเฟอ แบงปน มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่นับถือโดยจัด กิจกรรมตางๆ ผานการเลนใหเด็กไดมีโอกาสตัดสินใจเลือก ไดรับการตอบสนองความตอ งการ ไดฝกปฏิบัติ โดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม อยา งตอเนอื่ ง (๔) การพัฒนาสังคมนิสัย เปนการพัฒนาใหเด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออก อยางเหมาะสมและอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ชวยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวัน มีนิสัย

๑๓ รักการทำงาน ระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผูอื่น โดยรวมทั้งระมัดระวังอันตรายจากคนแปลก หนา ใหเด็กไดปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอยางสม่ำเสมอ รับประทานอาหาร พักผอนนอนหลับ ขับถาย ทำความสะอาดรางกาย เลนและทำงานรวมกับผูอื่น ปฏิบัติตามกฎกติกาขอตกลงของสวนรวม เก็บของ เขาทีเ่ มอื่ เลน หรือทำงานเสร็จ (๕) การพัฒนาการคิด เปน การพฒั นาใหเ ด็กมีความสามารถในการคิดแกปญหา ความคิดรวบยอด และคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร โดยจัดกิจกรรมใหเด็กไดสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ศึกษานอกสถานที่ เลนเกมการศึกษา ฝกการแกปญหาในชีวิตประจำวัน ฝกออกแบบและสรางขึน้ งาน และทำกิจกรรมทัง้ เปน กลุม ยอ ย กลุมใหญ และรายบคุ คล (๖) การพัฒนาภาษา เปนการพัฒนาใหเด็กใชภาษาสื่อสารถายทอดความรูสึก นึกคิด ความรูความเขาใจในสิ่งตางๆ ท่ีเด็กมีประสบการณโดยสามารถตั้งคำถามในสิ่งที่สงสัยใครรู จัดกิจกรรมทางภาษาใหมีความหลากหลายในสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู มุงปลูกฝงใหเด็กไดกลา แสดงออกในการฟง พูด อาน เขียน มีนิสัยรักการอาน และบุคคลแวดลอมตองเปนแบบอยางที่ดีในการใช ภาษา ทงั้ นี้ตองคำนงึ ถงึ หลกั การจดั กจิ กรรมทางภาษาทเ่ี หมาะสมกับเดก็ เปน สำคัญ (๗) การสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค เปนการสงเสริมใหเด็กมี ความคิดริเริ่มสรางสรรค ไดถายทอดอารมรความรูสึกและเห็นความสวยงามของสิ่งตางๆ โดยจัดกิจกรรม ศิลปะสรางสรรค ดนตรี การเคลื่อนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดิษฐสิ่งตางๆ อยางอิสระ เลน บทบาทสมมติ เลน น้ำ เลน ทราย เลนบลอ็ ก และเลนกอ สราง 3) การจัดตารางประจำวัน การจดั ตารางประจำวนั นน้ั ควรจดั ใหเหมาะสมกบั บรบิ ทของแตล ะสถานศกึ ษา กิจกรรมท่จี ดั ใหเ ด็กในแตล ะวันอาจมชี อ่ื เรยี กกิจกรรมแตกตางกนั ไปในแตละหนวยงาน ดงั ตัวอยา งตอไปนี้ (สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน. 2561 : 67 - 81) (1) กิจกรรมการเคล่ือนไหวและจงั หวะ เปน กจิ กรรมที่จัดใหเ ดก็ ไดเ คล่ือนไหว สวนตางๆ ของรางกายอยา งอิสระตามจังหวะ โดยใชเ สยี งเพลง คำคลองจอง เครื่องเคาะจังหวะ และ อปุ กรณอืน่ ๆ มาประกอบการเคล่อื นไหว เพื่อสง เสรมิ ใหเ ดก็ พฒั นากลา มเนื้อใหญและกลามเนอ้ื เลก็ อารมณ จติ ใจ สังคม และสติปญญาเกิดจนิ ตนาการและความคิดสรางสรรค (2) กจิ กรรมเสริมประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม เปนกิจกรรมทมี่ ุงเนน ใหเ ด็ก ไดพ ัฒนาทักษะการเรียนรู มีทักษะการฟง การพดู การสงั เกต การคิดแกป ญ หา การใชเหตุผล โดยการฝก ปฏบิ ัตริ วมกันและการทำงานเปนกลุม ทงั้ กลุมยอ ยและกลุมใหญ เพอื่ ใหเ กิดความคิดรวบยอดเกยี่ วกบั เร่อื งท่ีไดเรียนรู (3) กจิ กรรมศลิ ปะสรางสรรค เปน กิจกรรมท่ีมุงพัฒนากระบวนการคิดสรางสรรค การรับรเู กี่ยวกบั ความงาม และสง เสริมกระตุน ใหเด็กแสดงออกทางอารมณตามความรูส ึก ความคดิ ริเริ่ม สรางสรรคและจนิ ตนาการ โดยใชกจิ กรรมศิลปะ เชน การวาดภาพ ระบายสี การปน การพิมพภ าพ (4) กจิ กรรมการเลนตามมมุ เปนกจิ กรรมที่เปด โอกาสใหเด็กเลน กบั สอื่ และ เคร่ืองเลนอยา งอิสระตามมมุ เลน หรือมุมประสบการณ ซึ่งพื้นทห่ี รอื มมุ ตางๆ เหลาน้ี เดก็ มโี อกาสเลือกเลน ไดอ ยางเสรตี ามความสนใจและความตองการของเด็ก หรอื เดก็ อาจจะเลือกทำกจิ กรรมที่ครจู ัดเสรมิ ขน้ึ เชน เกมการศึกษาเคร่อื งเลน สัมผัส

๑๔ (5) กจิ กรรมการเลน กลางแจง เปนกิจกรรมทีจ่ ัดใหเ ดก็ ไดออกไปนอกหองเรียน เพอื่ เคลอื่ นไหวรางกาย ออกกำลงั และแสดงออกอยางอสิ ระ โดยยึดความสนใจและความสามารถของเด็ก แตล ะคนเปน หลัก เชน เกมการละเลน ของไทย เกมการละเลน ของทองถ่ิน (6) เกมการศึกษาเปนเกมการเลนทช่ี วยพฒั นาสติปญ ญา ชว ยสงเสริมใหเดก็ เกิดการเรียนรเู ปนพ้ืนฐานการศกึ ษา มีกฎเกณฑกตกิ างา ยๆ เดก็ สามารถเลน คนเดียวหรอื เลน เปน กลมุ ได ชวยใหเ ดก็ รูจ กั สังเกต คิดหาเหตผุ ลและเกิดความคิดรวบยอดเก่ยี วกับสี รปู ราง จำนวน ประเภท และ ความสมั พันธเ ก่ียวกบั พ้นื ท่ี ระยะ 1.6 การประเมนิ พัฒนาการ การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓-๖ ป เปนการประเมินพัฒนาการดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาของเด็ก โดยถือเปนกระบวนการตอเนื่อง และเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมปกติที่ จัดใหเด็กในแตละวัน ผลที่ไดจากการสังเกตพัฒนาการเด็กตองนำมาจัดทำสารนิทัศนหรือจัดทำขอมูล หลักฐานหรือเอกสารอยางเปนระบบ ดวยการรวบรวมผลงานสำหรับเด็กเปนรายบุคคลที่สามารถบอก เรื่องราวหรอื ประสบการณที่เด็กไดรับวาเดก็ เกิดการเรียนรูและมีความกาวหนาเพยี งใด ท้งั น้ี ใหนำขอมูลผล การประเมินพัฒนาการเด็กมาพิจารณา ปรับปรุงวางแผนการจัดกิจกรรม และสงเสริมใหเดก็ แตล ะคนไดรบั การพัฒนาตามจุดหมายของหลกั สตู รอยา งตอเน่ือง การประเมินพฒั นาการควรยึดหลกั ดังนี้ ๑) วางแผนการประเมนิ พัฒนาการอยา งเปน ระบบ ๒) ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ครบทุกดาน ๓) ประเมินพฒั นาการเด็กเปนรายบุคคลอยา งสม่ำเสมอตอ เนื่องตลอดป ๔) ประเมนิ พัฒนาการตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจำวันดวยเครื่องมือและวิธกี าร ท่ีหลากหลาย ไมค วรใชแบบทดสอบ ๕) สรปุ ผลการประเมิน จัดทำขอมูลและนำผลการประเมินไปใชพ ัฒนาเดก็ สำหรับวิธีการประเมินที่เหมาะสมและควรใชกับเด็กอายุ ๓-๖ ป ไดแก การสังเกต การบันทึก พฤตกิ รรมการสนทนากับเด็ก การสมั ภาษณ การวเิ คราะหข อมลู จากผลงานเด็กที่เกบ็ อยางมีระบบ สรปุ ไดว า หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 เปน กรอบแนวทางของการจัดการ ศกึ ษาปฐมวัย ในลักษณะของการอบรมเลีย้ งดแู ละใหการศึกษา เด็กจะไดร บั การพฒั นาการท้ัง 4 ดาน คอื ดานรา งกาย ดา นอารมณ จติ ใจ ดานสงั คม และดานสติปญ ญา หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยไดกำหนด จุดหมายและมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคทต่ี องการใหเ กิดกับเด็กเมื่อจบการศึกษาระดับปฐมวัย เพือ่ ใหส ถานศึกษาใชเ ปน จุดหมายในการพัฒนาและการประเมินเด็กใหบรรลุคุณภาพ 2. พัฒนาการของเด็กปฐมวัย เดก็ วัย 3-6 ปอ ยูในระยะเดก็ วัยกอ นเรียนหรือวัยอนุบาล(preschool) เปนวยั ทเี่ รยี นรูสิ่งแวดลอม ไดมาก พฒั นาการดานตา ง ๆ กาวหนาขึ้นมาก และมสี งั คมกวางขนึ้ จากเดมิ ท่ีอยูกบั พอแมเปนหลกั เปนการ อยรู วมกบั ครูและเพ่ือนท่โี รงเรียน แนวคิดเกีย่ วกับพฒั นาการเดก็ จึงเปน เสมือนหนึ่งแนวทางใหผสู อนหรือ ผูเกย่ี วขอ งไดเ ขาใจเดก็ สามารถอบรมเลี้ยงดูและจัดประสบการณท ีเ่ หมาะสมกับวัยและความแตกตา งของ แตละบุคคล เพื่อสงเสรมิ เฝา ระวัง และชว ยแกไขปญหาใหเด็กไดพฒั นาจนบรรลผุ ลตามเปา หมายที่ตองการ ไดช ัดเจนข้นึ

๑๕ 2.1 ความหมายของพัฒนาการ นกั การศกึ ษาและนกั วชิ าการไดใหความหมายของ “พัฒนาการ” ไวด ังนี้ วูลโฟลค (Woolfolk. 1998: 24) ไดก ลาววา พัฒนาการของบคุ คลเปน การเปลีย่ นแปลงใน ทุกดานที่ คอ นขางคงทแ่ี นนอนนับตงั้ แตเกดิ จนตลอดชวี ติ 2.2 พัฒนาการของเดก็ ปฐมวัย สมพร สทุ ศั นีย (2547) ไดกลา วถึงพฒั นาการของเดก็ ปฐมวยั (Preschool Child) ประกอบดว ย 4 ดา น ดังตอไปน้ี 1) พฒั นาการทางรางกาย เด็กในวัยตอนตน จะมสี วนสงู และน้ำหนักเพม่ิ ขึน้ อยา งรวดเรว็ แตจะขยายออกทางสว นสงู มากกวา ดา นกลา มเนอื้ และกระดูกจะเริม่ แขง็ แรงข้นึ แตกลา มเนอ้ื ที่เกยี่ วกบั การ เคลื่อนไหวยงั เจรญิ ไมเต็มที่ การประสานงานของอวัยวะตา ง ๆ ยังไมด ีพอ เด็กอายุ 3 – 5 ป มพี ฒั นาการ ทางกายแตกตา งกัน บางคนสามารถทรงตัวไดด ี วิง่ ไดเรว็ ขึ้น ควบคุมการเดินวง่ิ ใหชาลงและเร็วได กระโดด ไกล ๆ ได เตน และกายบรหิ ารไดต ามจงั หวะดนตรี การประสานงานของกลามเนื้อดขี ้นึ 2) พัฒนาการทางอารมณ-จิตใจ เด็กวัย 3 – 5 ป มักจะเปนเด็กเจาอารมณและจะแสดง อารมณตาง ๆ ออกมาอยางเปดเผยและมีอิสระเต็มท่ี เด็กวัยนี้มักมีความกลัวอยางสุดขีด อิจฉาอยางไมมี เหตุผลโมโหรายการที่เดก็ มีอารมณเชนนี้ เพราะเด็กมีประสบการณกวางขึ้น เพราะเงื่อนไขทางสังคมตั้งแต สังคมภายในบานจนกระทั่งถึงสังคมภายนอกบาน เด็กเคยไดรับแตความรักความเอาใจใสจากพอแมและ ผูใกลชิด เมือ่ ตอ งพบกับคนนอกบา น ซึง่ ไมส ามารถเอาใจใสเ ด็กไดเ ทา คนในบานและไมส ามารถทจี่ ะเอาใจใส ไดเหมือนเมื่อเด็กเล็ก ๆ อยู เด็กจึงรูสึกขัดใจเพราะคิดวาตนเปนคนที่มีความสามารถกวาคนอื่นเด็กจะยก ยอ งบชู าตนเองและ พยายามปรับตวั เพอ่ื ตองการใหเ ปนท่ีรักและเปนท่ยี อมรบั ของบุคคลขางเคียงในวัยนี้ มักจะใชคำพูด แสดงอารมณตาง ๆ แทนการรุกรานดวยกำลังกายเพราะพัฒนาการทางรางกายยังไมโต เต็มที่ เด็กแตละคนมีอารมณไมเหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสุขภาพ การอบรมเลี้ยงดูจากพอแมและสภาพ แวดลอม ทางสังคมเชนเด็กที่เติบโตขึ้นจากสภาพแวดลอมสงบเงียบไดรับความรักเอาใจใสและการ ตอบสนองความตองการสม่ำเสมอ พอแมแมมีอารมณคงเสนคงวาเด็กก็จะเติบโตขึ้น เปนคนที่มีอารมณ ม่ันคงกวาเดก็ ที่มสี ภาพแวดลอ มทตี่ รงกนั ขา มเหลานี้ เปน ตน 3) พฒั นาการทางสงั คม คำวาสังคมในทนี่ ้ีหมายถึงการติดตอสัมพนั ธ การผูกพนั และการมี ชีวิตอยูรวมกันเด็กปฐมวัยหรือวัยกอนเขาเรียนไดเรียนรูเขาใจและใชภาษาไดดขี ึ้น พอแมและผูที่อยูใกลชิด ตลอดจนครทู ่ีอยูในชั้นอนุบาลไดอบรมส่ังสอนเพ่ือใหเด็กเขาใจถึงวัฒนธรรม คานิยมและศีลธรรมทีละนอย โดยเริ่มจากสิ่งที่งาย เชน การพูดจาสุภาพ การเคารพ กราบไหว เปนตน เพื่อใหเด็กเติบโตเปนสมาชิกที่ดี ของสังคมดงั นัน้ เม่ือเดก็ เขาไปอยุในโรงเรยี นอนุบาลจะรูจกั คบเพ่ือนรจู ักการผอ นปรนปรนรจู ักอดทน ในบางโอกาส รูจักการใหและการรับ เพียเจต (Piaget) นักจิตวิทยากลุมท่ี เนนความรูความเขาใจ (Cognitive) กลาววา เดก็ 3 – 5 ป เรยี นรูพฤติกรรมทางสังคมจากเพื่อนใน โรงเรียนอนบุ าลหรือเพ่ือนบาน วัยเดียวกัน แตเด็กวัยนี้ยังเขาใจถึงความถูกตองและความไมลึกซึ้งนัก ดังนั้นจึงควรสงเสริมใหเด็กวัยนี้ได พัฒนาในเรือ่ งการยอมรบั การแยกตัวจากพอแม ฝกใหมีความเชื่อมัน่ เมื่ออยูกับคนอื่นใหเดก็ เขาใจระเบียบ และกฎเกณฑตา ง ๆ ฝกใหรูจกการแบงปน และการ ผลัดเปล่ียนกันและรจู ักอดใจรอในโอกาสอนั ควร

๑๖ 4) พัฒนาการทางสติปญญาเด็กวัยนนี้มีความสามารถในการใชภาษาไดอยางดี เด็กจะ เรยี นรศู พั ท เพม่ิ ขนึ้ อยางรวดเร็วโดยเฉลีย่ เด็กอายุ 3 ป จะรูจักศพั ท ประมาณ 3,000 คำ และเดก็ สามารถ ใชคำ วลีและประโยคในการแสดงบทบาทตามแบบอยางโทรทัศน ไดรูจักใช ทาทางประกอบคำพูด เด็ก 4 ป ชางซักชางถาม มักจะมีคำถามวา “ทำไม” “อยางไร” แตก็ไมสนใจคำตอบและคำอธิบาย คำพูด ของเด็กวัยนี้สามารถพูดประโยคยาว ๆ ที่ตอเนื่องกันได สามารถเลานิทานสั้นๆ ใหจบได และมักจะเอา เรื่องจริงปนกับเรื่องสมมติ สำหรับเด็กวัย 5 ป พัฒนาการทางภาษาสูงมาก เด็กสามารถตอบคำถามตรง เปาหมายชัดเจนและสั้น การซักถามนอยลงแตจะสนใจเฉพาะเรื่องไปควรจัดใหเด็กไดมีโอกาสพูดใหเพื่อน ฟง เพ่ือนกต็ อ งเปน ผูฟงท่ดี ีดว ยและควรหมนุ เวียนกนั ออกมาพูดทุกคน การจินตนาการและการสรางเร่ืองจะ พบมากในเด็กวัยน้ีจึงเปนโอกาสเหมาะท่ีควรจะได สนับสนุนและสง เสริมจินตนาการของเด็กใหมากที่สุดแต เด็กวัยนี้ไมมพี ฒั นาการท่ีเก่ยี วกบั การจัดประเภทของสิ่งของเปน หมวดหมู ไมมีพฒั นาการในเร่ืองความคงตัว ในเรื่องขนาดน้ำหนักและปริมาตร ทั้งน้ีเปนเพราะเด็กยังไมมีความเขาใจ ยังไมมีเหตุผลและประเมินคาส่ิง ตาง ๆ ตามที่เห็นดวยตาเทานั้น จะเห็นไดวาเด็กกอนวัยเรียน มีพัฒนาการทางรางกายที่กำลังเจริญเติบโต ภาวะอารมณที่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมและสังคมรอบดานเริ่มมีสังคมมีการเรียนรูสิ่งที่ ควรทำไมค วรทำ ฝก การเปนผูใหและเปนผูรับและมีพฒั นาการทางสติปญญาที่ดีอยูในวยั ที่อยากรูอยากเห็น อยากทำ เรียนรูเร็วเปนแนวทางที่ครูผูสอนควรจะสังเกตและเขาใจในพฤติกรรมของเด็กกอนจะดำเนินการ สอนและใหค วามรูตา ง ๆ กับเดก็ กอนเรยี นเหลานี้ สรุปไดวา พัฒนาการเด็กปฐมวัย หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของมนุษยที่เปนไปอยางมีลำดับ ขั้นตอนอยาง ตอเนื่อง พัฒนาการนี้จะควบคูกันไปตามเกณฑอายุและวัยของเด็ก ซึ่งจะตองอาศัยปจจัย สภาพแวดลอมและการ เรยี นรู การอบรมสัง่ สอน การเลย้ี งดู ถา เด็กถกู อบรมสงั่ สอนเลย้ี งดูท่ีดีเด็กก็จะมีการ เปลี่ยนแปลงทั้งดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา ซึ่งมีความสัมพันธระหวางเวลา วุฒิภาวะ การ เรียนรูและสิ่งแวดลอม อันสงผลให มนุษยมีความสามารถและพฤติกรรมที่แตกตางกันและเปนไปตาม ศักยภาพ 3. การประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย นันทิยา นอยจันทร (2548 : 165-195) กลาวถงึ การประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวยั วาควรใช วธิ กี ารที่หลากหลาย เพ่ือใหไดขอมลู สมบูรณท ส่ี ุดวธิ กี ารทเี่ หมาะสมและนยิ มใชในการประเมินผลพัฒนาการ เดก็ ปฐมวัย มีดวยกันหลายวธิ ดี ังตอ ไปนี้ 1. การสังเกตและการบันทึกการสงั เกต เปนวิธกี ารทีค่ รใู ชใ นการศกึ ษาพฒั นาการเด็ก สามารถทำ ไดทั้งแบบเปนระบบหรือแบบเปนทางการ ไดแก การสังเกตอยางมีจุดมุงหมายที่แนนอนตามแผนที่วางไว และการสังเกตแบบไมเ ปน ทางการโดยทำการสงั เกตในขณะท่เี ด็กทำกจิ กรรมประจำวนั และเกดิ พฤติกรรม ทไี่ มค าดคิดวา จะเกิดขึ้นและครูจดบันทึกไว 2. การสนทนา วิธีประเมินผลน้ีใชไดดีตั้งแตเริ่มสอน กําลังสอนและหลังจากการสอน ใชไดท้ัง เปนกลุมหรือรายบุคคล เพื่อประเมินความสามารถ ในการแสดงความคิดเห็น และ พัฒนาการทางดานการ ใชภาษาของเดก็ แลว ครทู ำการบนั ทกึ ผลการสนทนาไว

๑๗ 3. การตรวจผลงาน วิธีนี้ไดจากการนําผลงานของเด็ก เชน สมุดทำงาน ภาพเขียน สิ่งประดิษฐ เปนตน มาตรวจ ทง้ั นีโ้ ดยจัดเปนกลุมตามอันดบั คณุ ภาพ ควรมี 3-5 อันดบั คือ ดี ปานกลาง ออ น หรอื ดีมาก ดี ปานกลาง ออน ออนมาก การรวมรวมผลงานทแ่ี สดงออกถึงความกา วหนาแตล ะดานของเดก็ เปนรายบุคคลโดยจัดเกบ็ รวบรวมไดในแฟมผลงาน (Portfolio) ซง่ึ เปน วธิ ีรวบรวมและจัดระบบขอมูลตา ง ๆ ที่เกี่ยวกับตัวเด็กโดยใชเครื่องมือตาง ๆ รวบรวมเอาไวอยามีจุดหมายที่ชัดเจน แสดงการเปลี่ยนแปลงของ พัฒนาการแตละดาน นอกจากนี้ยังรวมเครือ่ งมืออืน่ ๆ เชน แบบสอบถาม ผูปกครอง แบบสังเกตพฤติกรรม แบบบนั ทึกสขุ ภาพอนามัย เปน ตน 4. การใชขอสอบปากเปลา วิธีการประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยใชขอสอบ ปากเปลาน้ี เหมาะกับเด็กอนุบาล ซึ่งยังอานและเขียนหนังสือไมได เชน ครูสั่งใหเด็กใชกรรไกร ตัดกระดาษตามแนวที่ กำหนดไวการประเมินผลโดยครูดูจากผลงานของเด็กแลวจะทราบวาควร จะตองจัดประสบการณเสริมอีก หรือไม เด็กมคี วามพรอมในการบงั คบั กลามเนื้อมือดีเพียงใด 5. การทดสอบ เปน วธิ กี ารประเมินผลชนิดหนึ่งทีท่ ำใหครมู องเห็น ความเปลยี่ นแปลง และ ความกาวหนาของเด็กไดช ัดเจน เพราะจะมีคําตอบทแี่ สดงถงึ ความสามารถ ซ่ึงเปน ผลจากการเรยี นรู และ ประสบการณของเด็กและมีการตรวจคําตอบออกมาเปนคะแนน ซ ึ่งสะดวกในการรายงานผลตอผูปกครอง และสะดวกในการแปลความหมายเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของเด็กไดตรงกัน นอกจากนี้ ยังเปนวิธีการ ประเมินผลที่ไมตองใชเวลามากเพราะครูตองกำหนดสถานการณเพื่อใหเด็กตอบสนอง ในลักษณะเดียวกัน เชน ใชคําตอบเดียวกัน แกปญหาลักษณะเดียวกัน พรอมกันท้ังกลุม โดยการใช แบบทดสอบเพ ่ือประเมิน ความพรอมควรเริ่มใชในระดับอนุบาล 2 เพราะการใชแบบทดสอบมี ลักษณะการดำเนินการสอบที่เปน แบบแผนอยูมาก เชน ตองมีการจับเวลา ดังนั้น ถาชวงความสนใจ เด็กสั้นยอมมีปญหาในการดำเนินการ เด็กควรจับดินสอหรือแทงสีไดแลวอยางทะมัดทะแมง ประการสุดทายในการดำเนินการสอบครูตองเปน ผอู า นคาํ ถามหรอื คาํ สงั่ ใหเด็กฟง ฉะนนั้ เดก็ ควรมที ักษะในการใชภ าษาเพอื่ พดู คยุ โตต อบไดอ ยางดี 4. เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวของ จารวุ รรณ คงทวี (2551) ไดท ำการศกึ ษาการคิดเชิงเหตผุ ลของเด็กปฐมวยั ท่ีไดร บั การจัดกิจกรรม ทักษะพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตร พบวา การจดั กจิ กรรมพฒั นาการคดิ เชิงเหตผุ ลควรเปนกิจกรรมท่ีเปดโอกาส ใหเด็กไดลงมือกระทำโดบผานประสาทสัมผัสทั้งหา เปนกิจกรรมที่ฝกใหเด็กคิดคนหรือหาวิธีการแปลก ๆ ใหม ๆ ที่คนพบขึ้นตนเองมาทดลองใชในกิจกรรมเปนกิจกรรมที่เด็กไดมีโอกาสสังเกต สำรวจ จำแนก เปรยี บเทียบสงิ่ ตา ง ๆ ของวสั ดอุ ุปกรณค น ควา ทดลองในแกป ญหาดวยตนเอง กระทรวงสาธารณสุข (2561) ไดศ กึ ษาแนวทางการการจัดอาหาร บริบาลน้ำและสรา งสุขภาวะที่ดี ในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั สำหรบั ผูบรหิ าร ครแู ละผดู แู ลเด็กตามมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหงชาติ โดยไดกำหนดขอบขายใหครูผูดูแลเด็กปฐมวัยควรปลูกฝงพฤติกรรมที่เสริมสรางสุขอนามัยที่ดีใหกับเด็ก โดยจัดใหเดก็ ไดท ากิจวัตรและกิจกรรมตาง ๆ เหลานีส้ อนใหเด็กลางมืออยางถกู วิธี กอนรับประทานอาหาร หลังเขาหองน้ำ และหลังจากเลนกลางแจง ใหเด็กแปรงฟนหลังรับประทานอาหารทุกครั้ง ใหเด็กปดปาก ปดจมูกดวยผาหรือกระดาษทิชชูเวลาไอ จาม แลวทิ้งลงถังขยะที่มีฝาปด และลางมือดวยสบูใหสะอาด ทุกครั้ง รวมถึงการสวมหนากากอนามัยเวลาเจ็บปวยดวยโรค ทางเดินหายใจ จะชวยลดการแพรกระจาย

๑๘ เชอ้ื ใหผ ูอ ื่น ใหเด็กขบั ถายในหองสว มท่ีถูกสุขลักษณะ ใหเด็กทงิ้ ขยะในถังที่มีฝาปด ใหเด็กหลีกเลี่ยงการอยู และหลับนอนในทแ่ี ออัด ไมใหเด็กไปแหลงท่ีเส่ียงตอการติดเช้ือไดง าย เชน ชุมชนแออัด จะชวยลดการติด เชอ้ื ทางเดนิ หายใจได อา นหนงั สอื ที่สงเสรมิ การเสรมิ สรางพฤตกิ รรมอนามยั กับเด็กเปนประจำ

๑๙ บทที่ 3 วธิ ดี ำเนินการ การประเมนิ พัฒนาการนกั เรียนท่จี บหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ปก ารศึกษา2563 มีวิธดี ำเนินการประเมินพฒั นาการตามขั้นตอน ดงั น้ี 1. กลมุ เปา หมาย 2. ขอบเขตการประเมนิ 3. เคร่ืองมือทใี่ ชในการเก็บรวบรวมขอ มูล 4. วิธดี ำเนินการ/การเกบ็ รวบรวมขอ มลู 5. การวิเคราะหแ ละสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ๑. กลุมเปาหมาย กลมุ เปาหมาย ไดแ ก นกั เรยี นชนั้ อนุบาลปท ี่ 3 ที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 ปก ารศกึ ษา 2563 ในสงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร จำนวน 3,061 คน 2. ขอบเขตการประเมนิ การประเมินพัฒนาการนกั เรยี นท่ีจบหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร เปน การประเมิน พัฒนาการทงั้ 4 ดาน คือ ดา นรางกายดานอารมณ จิตใจ ดานสังคม และดานสติปญญา ตามมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงคใ นหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ประกอบดว ย 2.1 พฒั นาการดานรางกาย มาตรฐานที่ 1 รางกายเจรญิ เติบโตตามวยั และมีสุขนสิ ยั ทด่ี ี 1.1 น้ำหนักและสว นสูงตามเกณฑ 1.1.1 นำหนักตามเกณฑข องกรมอนามัย 1.1.2 สวนสงู ตามเกณฑข องกรมอนามยั 1.2 มสี ุขภาพอนามัย สุขนสิ ยั ท่ดี ี 1.2.1 รบั ประทานอาหารที่มีประโยชนไดหลายชนิดและดื่มนำส ะอาดไดด ว ยตนเอง 1.2.2 ลางมือกอนรบั ประทานอาหารและหลงั จากใชห องนำห องสว มดว ยตนเอง 1.3 รักษาความปลอดภยั ของตนเองและผูอื่น 1.3.1 เลน ทำกจิ กรรม และปฏิบตั ิตอผูอื่นอยางปลอดภัย มาตรฐานที่ 2 กลา มเน้ือใหญแ ละกลา มเนอื้ เล็กแข็งแรง ใชไ ดอยา งคลองแคลว และ ประสานสมั พนั ธก ัน

๒๐ 2.1 เคลือ่ นไหวรา งกายอยา งคลอ งแคลว ประสานสัมพนั ธ และทรงตวั ได 2.1.1 เดินตอเทา ถอยหลงั เปนเสนตรงได โดยไมตองกางแขน 2.1.2 กระโดดขาเดยี วไปขางหนาไดอยา งตอเน่อื ง โดยไมเสียการทรงตวั 2.1.3 วงิ่ หลบหลกี สิ่งกีดขวางไดอยา งคลองแคลว 2.1.4 รบั ลกู บอลทกี่ ระดอนขึน้ จากพ้นื ได 2.2 ใชมือ - ตา ประสานสัมพนั ธก นั 2.2.1 ใชกรรไกรตดั กระดาษตามแนวเสน โคงได 2.2.2 เขียนรูปสามเหล่ียมตามแบบไดอ ยางมีมุมชดั เจน 2.2 พัฒนาการดานอารมณ จติ ใจ มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข 3.1 แสดงออกทางอารมณไดอ ยางเหมาะสม 3.1.1 แสดงอารมณ ความรูส กึ ไดส อดคลอ งกับสถานการณอ ยางเหมาะสม 3.2 มคี วามรสู ึกทดี่ ีตอตนเองและผอู ื่น 3.2.1 กลา พูดกลาแสดงออกอยางเหมาะสมตามสถานการณ 3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเองและผูอน่ื มาตรฐานท่ี 4 ชนื่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว 4.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออกผา นงานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว 4.1.1 สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผานงานศิลปะ 4.1.2 สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผานเสียงเพลง ดนตรี 4.1.3 สนใจ มีความสุข และแสดงทา ทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง จังหวะ และดนตรี มาตรฐานที่ 5 มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม 5.1 ซ่ือสตั ยสจุ ริต 5.1.1 ขออนญุ าตหรือรอคอย เมื่อตองการส่งิ ของของผูอ่ืนดว ยตนเอง 5.2 มีความเมตตากรณุ า มีน้ำใจ และชวยเหลือแบงปน 5.2.2 ชว ยเหลือและแบงปนผอู นื่ ไดดว ยตนเอง 5.3 มคี วามเห็นอกเหน็ ใจผูอื่น 5.3.1 แสดงสีหนาและทา ทางรบั รคู วามรสู ึกผอู ่นื อยา งสอดคลองกบั สถานการณ 5.4 มคี วามรับผิดชอบ 5.4.1 ทำงานที่ไดรับมอบหมายจนสำเรจ็ ดวยตนเอง 2.3 พฒั นาการดานสังคม มาตรฐานท่ี 6 มที กั ษะชีวิตและปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6.1 ชว ยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกิจวตั รประจำวัน 6.1.2 รับประทานอาหารดวยตนเองอยางถูกวิธี 6.1.3 ใชและทำความสะอาดหลังใชหองนำ้ หองสวมดวยตนเอง

๒๑ 6.2 มีวินัยในตนเอง 6.2.1 เกบ็ ของเลน ของใชเขาทีอ่ ยางเรียบรอยดวยตนเอง 6.2.2 เขา แถวตามลำดับกอนหลังไดดว ยตนเอง 6.3 ประหยดั และพอเพียง 6.3.1 ใชสง่ิ ของเคร่ืองใชอ ยางประหยดั และพอเพยี งดวยตนเอง มาตรฐานที่ 7 รกั ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม วฒั นธรรม และความเปน ไทย 7.1 ดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม 7.1.2 ทงิ้ ขยะไดถกู ที่ 7.2 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเปนไทย 7.2.1 ปฏบิ ัตติ นตามมารยาทไทยไดตามกาลเทศะ 7.2.2 กลาวคำขอบคุณและขอโทษดว ยตนเอง มาตรฐานท่ี 8 อยูร ว มกบั ผูอ ื่นไดอ ยางมีความสขุ และปฏิบัตติ นเปนสมาชิกทีด่ ีของสังคมใน ระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมุข 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกตางระหวา งบคุ คล 8.1.1 เลนและทำกจิ กรรมรว มกับเด็กที่แตกตางไปจากตน 8.2 มีปฏิสัมพันธทีด่ ีกับผอู นื่ 8.2.1 เลน หรือทำงานรวมมือกับเพื่อนอยางมีเปา หมาย 8.3 ปฏบิ ัติตนเบ้ืองตน ในการเปนสมาชกิ ทดี่ ีของสงั คม 8.3.2 ปฏิบตั ติ นเปนผูนำและผตู ามไดเหมาะสมกับสถานการณ 2.4 พฒั นาการดานสติปญญา มาตรฐานท่ี 9 ใชภ าษาส่ือสารไดเหมาะสมกับวยั 9.1 สนทนาโตต อบและเลาเร่อื งใหผ ูอ่นื เขาใจ 9.1.1 ฟง ผูอนื่ พูดจนจบ และสนทนาโตต อบอยา งตอ เน่ือง เชือ่ มโยงกบั เรอื่ งที่ฟง 9.1.2 เลาเปนเรือ่ งราวตอเนอื่ งได 9.2 อา น เขียนภาพ และสญั ลกั ษณได 9.2.1 อา นภาพ สญั ลกั ษณ คำ ดว ยการชห้ี รือกวาดตามองจุดเรมิ่ ตนและจดุ จบ ของขอความ 9.2.2 เขียนชือ่ ของตนเองตามแบบ มาตรฐานท่ี 10 มีความสามารถในการคิดทเ่ี ปน พนื้ ฐานในการเรยี นรู 10.1 มีความสามารถในการคดิ รวบยอด 10.1.1 บอกลักษณะ สวนประกอบ การเปลีย่ นแปลงหรือความสมั พันธของส่ิงตางๆ จากการสงั เกตโดยใชประสาทสมั ผสั 10.1.2 จับคแู ละเปรยี บเทียบความแตกตางและความเหมือนของสิ่งตางๆ โดยใช ลักษณะทสี่ งั เกตพบ 2 ลกั ษณะข้ึนไป

๒๒ 10.1.3 จำแนกและจดั กลุม ส่ิงตางๆ โดยใชต ัง้ แต 2 ลักษณะข้ึนไปเปน เกณฑ 10.1.4 เรียงลำดบั สิง่ ของและเหตกุ ารณอยา งนอย 5 ลำดับ 10.2 มคี วามสามารถในการคิดเชิงเหตุผล 10.2.1 อธบิ ายเชือ่ มโยงสาเหตุและผลทเ่ี กิดข้ึนในเหตุการณห รือการกระทาดวยตนเอง 10.2.2 คาดคะเนสิง่ ที่อาจจะเกิดขน้ึ และมสี ว นรวมในการลงความเหน็ จากขอมูล อยา งมีเหตผุ ล 10.3 มคี วามสามารถในการคดิ แกปญหาและตัดสนิ ใจ 10.3.1 ตดั สนิ ใจในเร่ืองงา ยๆ และยอมรบั ผลที่เกดิ ข้ึน 10.3.2 ระบปุ ญ หา สรางทางเลือกและเลอื กวธิ แี กป ญ หา มาตรฐานที่ 11 มจี นิ ตนาการและความคิดสรางสรรค 11.1 ทำงานศลิ ปะตามจินตนาการและความคดิ สรางสรรค 11.1.1 สรางผลงานศิลปะเพือ่ ส่ือสารความคิด ความรสู ึกของตนเอง โดยมีการดัดแปลง แปลกใหมจ ากเดิมและมรี ายละเอียดเพ่มิ ข้นึ 11.2 แสดงทาทาง/เคล่อื นไหวตามจินตนาการอยา งสรา งสรรค 11.2.1 เคลือ่ นไหวทา ทางเพอ่ื สื่อสารความคิด ความรสู กึ ของตนเองอยางหลากหลาย และแปลกใหม 3. เคร่ืองมือที่ใชในการเกบ็ รวบรวมขอมูล เครอ่ื งมือที่ใชในการเกบ็ รวบรวมขอ มลู ในครง้ั น้ี คือ เครื่องมือประเมินพฒั นาการนกั เรียนทจ่ี บ หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ปการศกึ ษา 2563 ทีพ่ ัฒนาโดยสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ประกอบดว ย 3.1 คมู ือดำเนินงานประเมินพฒั นาการนักเรียนท่ีจบหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 3.2 ชุดกจิ กรรมการจดั ประสบการณสำหรบั ประเมินพัฒนาการนกั เรียนทจ่ี บหลักสูตรการศกึ ษา ปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 ปก ารศกึ ษา 2563 3.2 คูมือบันทึกขอมลู การประเมนิ พัฒนาการนักเรยี นทีจ่ บหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ปการศึกษา 2563 การกำหนดเกณฑก ารประเมนิ เกณฑการประเมนิ กำหนดดังรายละเอยี ดตอไปนี้ 1. พัฒนาการดา นรางกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา กำหนดระดับคุณภาพ ดงั นี้ ระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรุง ระดับ 2 หมายถึง พอใช ระดับ 3 หมายถงึ ดี 2. ในการสรุปพฒั นาการในภาพรวมทงั้ 4 ดาน คือ ดานรา งกาย อารมณ จติ ใจ สังคม และสตปิ ญญา

๒๓ กำหนดเกณฑการพิจารณาระดับคณุ ภาพดังนี้ ระดบั 1 หมายถงึ มีพฒั นาการระดับปรับปรุง ระดบั 2 หมายถงึ มีพฒั นาการระดับพอใช ระดบั 3 หมายถึง มีพัฒนาการระดบั ดี 4. วิธดี ำเนินการ/การเกบ็ รวบรวมขอ มูล การประเมินพฒั นาการนกั เรียนทจี่ บหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ปการศกึ ษา 2563 ไดด ำเนินการตามขัน้ ตอน ดังนี้ 4.1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหารจัดประชุมเชิงปฏิบัติการประเมิน พฒั นาการนกั เรยี นที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ปการศกึ ษา 2563 เพือ่ ช้แี จง สราง ความเขาใจและฝกปฏิบัติตามชุดกิจกรรมการจดั ประสบการณ การบันทึกขอมูล ใหกับครูผูสอนชั้นอนุบาล ปที่ 3 ทุกโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร จำนวน 240 โรงเรียน ระหวา งวนั ที่ 4 – 9 มีนาคม 2564 จำนวน 3 รุน พบวา ครูปฐมวัยที่เขา รว มประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารมีความรู ความเขาใจการประเมนิ พฒั นาการนักเรยี นท่จี บหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 จากการทำแบบทดสอบ คิดเปนรอยละ 80 มีความพึงพอใจตอการเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการ อยใู นระดบั มาก 4.2 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษามุกดาหารแตง ตัง้ คณะกรรมการประเมินพฒั นาการ และคณะกรรมการนิเทศตดิ ตามการประเมนิ พัฒนาการนักเรียนทีจ่ บหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 4.3 คณะกรรมการประเมินพัฒนาการ และคณะกรรมการนเิ ทศติดตามการประเมนิ พฒั นาการ นักเรยี นทีจ่ บหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ปการศกึ ษา 2563 ดำเนินการภายใน เดอื นมนี าคม 2564 และรวบรวมขอมลู สงใหส ำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษามุกดาหาร 4.4 สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษามุกดาหารบันทึกขอมลู จัดประชุมวิเคราะหผ ล การประเมินและจดั ทำรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการนักเรียนท่จี บหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 ปการศึกษา 2563 5. การวเิ คราะหข อ มลู การวิเคราะหขอ มลู การประเมินพัฒนาการนักเรยี นที่จบหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 ดำเนินการดังนี้ 5.1 รวบรวมขอมลู จากทกุ โรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร 5.2 ตรวจสอบความสมบรู ณของขอ มูลผลการประเมินพฒั นาการนักเรยี นทีจ่ บหลักสูตรการศกึ ษา ปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 ปการศกึ ษา 2563 5.3 วเิ คราะหขอ มลู ผลการประเมนิ พฒั นาการนักเรียนทจ่ี บหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 ตามประเดน็ การประเมินโดยการวเิ คราะหฐ านนิยม (Mode) และการหาคารอ ยละ (Percentage)

๒๔ บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข อมูล ผลการประเมินพัฒนาการนักเรยี นทจี่ บหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 ปการศึกษา 2563 ในคร้งั นี้ ไดด ำเนินการเก็บรวบรวมขอมลู จากนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 3 จำนวน 3,061 คน จำนวน 243 โรงเรยี น ทำการวเิ คราะหผ ลการประเมนิ พัฒนาการ นำเสนอตามลำดับ ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ผลการประเมินพฒั นาการนกั เรียนทจ่ี บหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ปการศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพื้นท่ีการศกึ ษา ตอนที่ 2 ผลการประเมินพฒั นาการนักเรียนทจ่ี บหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 ปก ารศกึ ษา 2563 จำแนกตามขนาดโรงเรยี น ตอนท่ี 3 ผลการประเมนิ พฒั นาการนกั เรยี นทจ่ี บหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ปก ารศกึ ษา 2563 จำแนกตามมาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ตอนท่ี 1 ผลการประเมนิ พฒั นาการนกั เรียนท่ีจบหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ปก ารศกึ ษา 2563 ระดับเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา ตาราง 1 รอยละนกั เรียนตามระดับคุณภาพพฒั นาการในภาพรวมทุกดาน (จำนวนนกั เรยี นปกติ 3,061) รายการ รอ ยละนกั เรยี นตามลำดบั คุณภาพ ดี พอใช ปรบั ปรุง พฒั นาการในภาพรวมทุกดา น 86.95 12.05 1.00 จากตาราง 1 พบวา พฒั นาการในภาพรวมทุกดานระดับเขตพน้ื ที่การศึกษา นักเรยี นสวนใหญมีพัฒนาการ อยูในระดบั ดสี งู สุด คดิ เปนรอยละ 86.95 สว นท่ีเหลืออยใู นระดับพอใช รอยละ 12.05 และระดับ ปรับปรงุ รอ ยละ 1.00 ตาราง 2 รอยละนกั เรียนตามระดบั คุณภาพรายพัฒนาการ (จำนวนนกั เรยี นปกติ 3,061) รายการ รอ ยละนกั เรียนตามลำดบั คณุ ภาพ ดี พอใช ปรับปรุง รางกาย 89.21 10.11 0.68 อารมณ จิตใจ 89.65 9.54 0.81 สงั คม 89.35 9.96 0.69 สตปิ ญ ญา 77.59 18.60 1.81 จากตาราง 2 พบวา นักเรียนสว นใหญม รี ะดบั คุณภาพรายพฒั นาการ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา อยูใ น ระดบั ดีทุกดา น โดยพฒั นาการดา นอารมณ จติ ใจ มผี ลการประเมินระดบั ดสี งู สดุ รอยละ 89.65 รองลงมา คือ พัฒนาการดา นสังคม รอยละ 89.35 พฒั นาการดา นรา งกาย รอ ยละ 89.21 และพัฒนาการ ดา นสตปิ ญญา รอ ยละ 77.59 ตามลำดบั

๒๕ ตอนที่ 2 ผลการประเมนิ พัฒนาการนกั เรยี นท่ีจบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 จำแนกตามขนาดโรงเรยี น ตาราง 3 รอ ยละนกั เรยี นตามระดับคุณภาพรายพฒั นาการ จำแนกตามขนาดโรงเรยี น รายการ ขนาด จำนวน รอยละนักเรียนตามลำดบั คุณภาพ รางกาย โรงเรียน นกั เรียน (คน) ดี พอใช ปรบั ปรงุ อารมณ จติ ใจ เลก็ 1,074 กลาง 1,772 84.56 14.51 0.93 สังคม ใหญ 215 เล็ก 1,074 91.09 8.30 0.61 สตปิ ญ ญา กลาง 1,772 ใหญ 215 96.90 3.10 0 เล็ก 1,074 กลาง 1,772 92.22 7.17 0.61 ใหญ 215 เล็ก 1,074 90.44 8.78 0.78 กลาง 1,772 ใหญ 215 95.58 4.37 0.05 91.81 7.54 0.65 90.26 9.20 0.54 96.07 3.93 0 76.47 21.21 2.32 80.18 18.11 1.71 90.29 9.62 0.09 จากตาราง 3 พบวาในภาพรวมนักเรียนสว นใหญใ นโรงเรยี นทุกขนาดมีพฒั นาการอยูในระดับดที ุกดาน โดยนกั เรยี นในโรงเรียนขนาดใหญม ีรอยละพฒั นาการระดับดีดานรางกายสูงสุด รองลงมาคอื ดานสงั คม ดา นอารมณ จิตใจ และดานสตปิ ญ ญา ตามลำดบั และโรงเรยี นขนาดกลางมีรอ ยละพฒั นาการระดบั ดี ดานรางกายสงู สดุ รองลงมาคือดา นอารมณ จติ ใจ ดานสังคม และดา นสตปิ ญญา ตามลำดบั สวนนักเรยี น ในโรงเรียนขนาดเลก็ มรี อยละพัฒนาการระดบั ดีดานอารมณ จิตใจ สูงสดุ รองลงมาคือ ดา นสงั คม ดานรา งกาย และดา นสตปิ ญญา ตามลำดบั เม่ือพจิ ารณาจำแนกตามขนาดโรงเรยี น พบวา นกั เรียนในโรงเรียนขนาดเลก็ มพี ัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ในระดบั ดสี งู สุด รอยละ 92.22 รองลงมาคือพฒั นาการดานสังคม รอยละ 91.81 พัฒนาการดา นรางกาย รอยละ 84.56 และพฒั นาการ ดา นสตปิ ญ ญา รอยละ 76.40 ตามลำดับ นกั เรยี นในโรงเรยี นขนาดกลาง มีพัฒนาการดานรางกาย ในระดับดีสูงสุด รอยละ 91.09 รองลงมาคอื พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ รอยละ 90.44 พฒั นาการดา นสังคม รอยละ 90.26 และพัฒนาการดา นสตปิ ญญารอ ยละ 80.18 ตามลำดบั นักเรียนในโรงเรยี นขนาดใหญ มีพฒั นาการดา นรางกายในระดับดสี งู สุด รอ ยละ 96.90 รองลงมาคือพฒั นาการดานสังคม รอยละ 96.07 พฒั นาการอารมณ จติ ใจ รอยละ 95.58 และ พฒั นาการดานสติปญ ญา รอ ยละ 90.29 ตามลำดับ

๒๖ ตอนท่ี 3 ผลการประเมนิ พฒั นาการนกั เรียนทจ่ี บหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ปการศกึ ษา 2563 จำแนกตามมาตรฐานคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคของหลักสตู รการศึกษา ปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ตาราง 4 รอยละนกั เรียนตามระดับคุณภาพรายมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคของหลกั สูตรการศกึ ษา ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค รอ ยละนักเรยี นตามลำดับคณุ ภาพ ดี พอใช ปรบั ปรุง พัฒนาการดา นรางกาย 1. รางกายเจริญเตบิ โตตามวัยและมสี ุขนสิ ยั ที่ดี 87.93 9.99 2.08 2. กลามเนื้อใหญแ ละกลา มเนอื้ เลก็ แขง็ แรง ใชไดอยาง 86.02 13.06 0.92 คลองแคลว และประสานสัมพนั ธกัน พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ 3. มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข 86.68 12.22 1.10 4. ช่นื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว 92.17 7.21 0.62 5. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจที่ดงี าม 90.38 8.94 0.68 พัฒนาการดานสังคม 6. มีทักษะชีวติ และปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ 90.06 9.35 0.59 พอเพียง 7. รกั ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ ม วฒั นธรรม และความเปน ไทย 89.96 9.54 0.50 8. อยรู วมกบั ผูอ ืน่ ไดอยางมีความสุขและปฏิบตั ิตนเปน สมาชกิ 86.91 11.95 1.14 ทีด่ ขี องสงั คมในระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริย ทรงเปน ประมุข พัฒนาการดานสติปญญา 9. ใชภ าษาส่ือสารไดเ หมาะสมกบั วยั 81.10 16.77 2.13 10. มีความสามารถในการคิดท่เี ปน พืน้ ฐานในการเรียนรู 77.48 20.68 1.84 11. มจี นิ ตนาการและความคิดสรา งสรรค 81.96 16.57 1.47 12. มีเจตคติที่ดีตอการเรยี นรู และมีความสามารถในการ 85.16 13.26 1.58 แสวงหาความรไู ดเ หมาะสมกับวัย จากตาราง 4 พบวา ในภาพรวมนักเรียนสวนใหญมีมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคของหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 อยูในระดับดีทุกมาตรฐาน โดยมาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออก ทางศิลปะดนตรี และการเคลื่อนไหว มีรอยละของพัฒนาการระดับดีสูงสุด รอยละ 92.17 รองลงมาคือ มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม รอยละ 90.38 และมาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รอยละ 90.06 ตามลำดบั โดยมาตรฐานคุณลักษณะ ที่พึงประสงคที่มีรอยละของพัฒนาการระดับดีต่ำสุด คือ มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เปน

๒๗ พื้นฐานในการเรียนรู รอยละ 77.48 มาตรฐานท่ี 9 ใชภาษาสื่อสารไดเหมาะสมกับวัย รอยละ 81.10 และมาตรฐานท่ี 11 มจี ินตนาการและความคดิ สรางสรรค รอ ยละ 81.96 ตามลำดบั ตาราง 5 รอ ยละนักเรียนตามระดบั คุณภาพของพัฒนาการดานรา งกาย รายตัวบงชี้ มาตรฐาน/ตัวบง ช้ี รอยละนกั เรยี นตามลำดับคณุ ภาพ ดี พอใช ปรับปรุง มาตรฐานที่ 1 รางกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมสี ขุ นสิ ัยที่ดี 1.1 นำ้ หนกั และสวนสงู ตามเกณฑ 78.74 15.90 5.36 1.2 มสี ุขภาพอนามยั สุขนิสยั ทดี่ ี 94.91 4.98 0.11 1.3 รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองและผอู นื่ 90.14 9.08 0.78 มาตรฐานท่ี 2 กลามเนื้อใหญและกลามเน้ือเลก็ แข็งแรง ใชไ ดอ ยางคลองแคลว และประสานสมั พันธก นั 2.1 เคลือ่ นไหวรางกายอยางคลอ งแคลว ประสานสัมพันธ 89.42 9.87 0.71 และทรงตัวได 2.2 ใชมอื - ตาประสานสมั พันธก ัน 82.61 16.25 1.14 จากตาราง 5 พบวา ในภาพรวมนักเรียนสวนใหญมีพัฒนาการดานรางกาย รายตัวบงชี้อยูในระดับดี ทุกตัวบงชี้ โดยตัวบงชี้ท่ี 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี มีรอยละของพัฒนาการระดับดีสูงสุด รอ ยละ 94.91 รองลงมาคอื ตัวบงช้ที ่ี 1.3 รักษาความปลอดภัยของตนเองและผอู นื่ รอยละ 90.14 ตัวบงชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวรางกาย อยางคลองแคลว ประสานสัมพันธ และทรงตัวได รอยละ 89.42 ตามลำดบั โดยตัวบงช้ที มี่ รี อยละของพฒั นาการระดับดีต่ำสุด คือ ตัวบงชท้ี ี่ 1.1 น้ำหนักและสว นสงู ตามเกณฑ รอ ยละ 78.74 ตาราง 6 รอ ยละนักเรยี นตามระดบั คุณภาพของพฒั นาการดานอารมณ จิตใจ รายตัวบง ช้ี มาตรฐาน/ตวั บง ช้ี รอยละนกั เรยี นตามลำดบั คุณภาพ ดี พอใช ปรับปรงุ มาตรฐานท่ี 3 มีสขุ ภาพจิตดีและมีความสขุ 3.1 แสดงออกทางอารมณไดอยา งเหมาะสม 88.17 10.88 0.95 3.2 มคี วามรสู ึกท่ีดีตอตนเองและผอู ่นื 85.18 13.56 1.26 มาตรฐานท่ี 4 ชืน่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว 4.1 สนใจ มคี วามสุข และแสดงออกผานงานศลิ ปะ ดนตรี 92.17 7.21 0.62 และการเคลอ่ื นไหว มาตรฐานท่ี 5 มคี ุณธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจทด่ี ีงาม 5.1 ซือ่ สัตยส จุ รติ 91.05 8.62 0.33 5.2 มคี วามเมตตากรุณามนี ำ้ ใจ และชว ยเหลือแบง ปน 92.36 7.12 0.52 5.3 มีความเหน็ อกเห็นใจผูอื่น 91.97 7.61 0.42 5.4 มคี วามรบั ผิดชอบ 86.12 12.41 1.47

๒๘ จากตาราง 6 พบวา ในภาพรวมนักเรยี นสวนใหญม ีพัฒนาการดา นอารมณ จติ ใจ รายตัวบงชอี้ ยใู นระดับดี ทกุ ตัวบง ช้ี โดยตัวบง ช้ที ี่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มนี ้ำใจ และชว ยเหลือแบงปน มรี อ ยละของพัฒนาการ ระดบั ดสี ูงสุด รอยละ 92.36 รองลงมาคือ ตวั บงช้ที ่ี 4.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออกผานงานศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว รอ ยละ 92.17 และตัวบง ช้ี 5.3 มีความเหน็ อกเห็นใจผูอืน่ รอ ยละ 91.97 ตามลำดบั โดยตัวบง ชท้ี ีม่ รี อ ยละของพฒั นาการระดับดีต่ำสุดคอื ตวั บงชที้ ่ี 3.2 มคี วามรูสึกทดี่ ีตอ ตนเอง และผอู ืน่ รอยละ 85.18 ตาราง 7 รอยละนกั เรยี นตามระดับคุณภาพของพฒั นาการดา นสงั คม รายตวั บง ช้ี มาตรฐาน/ตัวบงช้ี รอ ยละนกั เรยี นตามลำดับคุณภาพ ดี พอใช ปรบั ปรงุ มาตรฐานท่ี 6 มที ักษะชีวิตและปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6.1 ชว ยเหลือตนเองในการปฏิบัติกจิ วัตรประจำวนั 93.86 5.91 0.23 6.2 มวี นิ ยั ในตนเอง 90.15 8.97 0.88 6.3 ประหยัดและพอเพียง 86.18 13.17 0.65 มาตรฐานที่ 7 รกั ธรรมชาติ สงิ่ แวดลอม วฒั นธรรม และความเปน ไทย 7.1 ดแู ลรักษาธรรมชาติและส่งิ แวดลอม 91.90 7.32 0.78 7.2 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเปน ไทย 88.01 11.76 0.23 มาตรฐานที่ 8 อยรู ว มกับผูอื่นไดอ ยางมีความสุขและปฏิบัติตนเปนสมาชกิ ท่ดี ีของสังคม ในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 8.1 ยอมรบั ความเหมือนและความแตกตางระหวางบุคคล 90.46 8.66 0.88 8.2 มีปฏสิ ัมพนั ธท ีด่ กี บั ผูอ่ืน 89.09 10.13 0.78 8.3 ปฏิบตั ติ นเบอ้ื งตนในการเปน สมาชกิ ท่ีดีของสังคม 81.19 17.05 1.76 จากตาราง 7 พบวา ในภาพรวมนักเรียนสวนใหญมีพัฒนาการดานสังคมรายตัวบงชี้อยูในระดับดี ทุกตัวบงชี้ โดยตัวบงชี้ที่ 6.1 ชวยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีรอยละของพัฒนาการ ระดับดีสูงสุด รอยละ 93.86 รองลงมาคือ ตัวบงชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รอยละ 91.90 และตัวบงชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกตางระหวางบุคคล รอยละ 90.46 ตามลำดับ โดยตัวบงชี้ที่มีรอยละของพัฒนาการระดับดีต่ำสุด คือ ตัวบงชี้ที่ 8.3 ปฏิบัติตนเบื้องตนในการ เปน สมาชกิ ทีด่ ขี องสังคม รอ ยละ 81.19

๒๙ ตาราง 8 รอ ยละนักเรียนตามระดบั คุณภาพของพัฒนาการดานสตปิ ญญา รายตัวบงช้ี มาตรฐาน/ตวั บง ช้ี รอ ยละนักเรยี นตามลำดับคุณภาพ ดี พอใช ปรบั ปรงุ มาตรฐานที่ 9 ใชภ าษาส่ือสารไดเ หมาะสมกับวัย 9.1 สนทนาโตตอบและเลาเร่ืองใหผ ูอ่ืนเขา ใจ 78.73 19.18 2.09 9.2 อา น เขียนภาพและสัญลักษณได 83.47 14.36 2.17 มาตรฐานที่ 10 มคี วามสามารถในการคิดท่เี ปนพ้นื ฐานในการเรียนรู 10.1 มีความสามารถในการคดิ รวบยอด 79.84 18.49 1.67 10.2 มคี วามสามารถในการคดิ เชิงเหตผุ ล 74.94 23.20 1.86 10.3 มีความสามารถในการคิดแกปญหาและตัดสนิ ใจ 77.65 20.37 1.98 มาตรฐานท่ี 11 มีจินตนาการและความคดิ สรา งสรรค 11.1 ทำงานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและความคิดสรางสรรค 79.32 19.18 1.50 11.2 แสดงทา ทาง/เคล่ือนไหวตามจินตนาการ 84.61 13.95 1.44 อยา งสรางสรรค มาตรฐานที่12 มีเจตคติท่ีดีตอการเรียนรแู ละมีความสามารถในการแสวงหาความรูไ ดเ หมาะสมกับวัย 12.1 มีเจตคติท่ีดตี อการเรียนรู 85.01 13.62 1.37 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู 85.30 12.90 1.80 จากตาราง 8 พบวา ในภาพรวมนักเรียนสวนใหญมีพัฒนาการดานสติปญญารายตัวบงชี้อยูในระดับดี ทุกตัวบงชี้ โดยตัวบงชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู รอยละของพัฒนาการระดับดีสูงสุด รอยละ 85.30 รองลงมาคอื ตวั บงช้ที ่ี 12.1 มีเจตคติท่ีดตี อ การเรยี นรู รอ ยละ 85.01 และตวั บง ช้ี ท่ี 11.2 แสดงทา ทาง/เคลื่อนไหวตามจนิ ตนาการอยา งสรา งสรรค รอยละ 84.61 ตามลำดบั โดยตัวบงช้ี ทม่ี รี อยละของพฒั นาการระดับดีตำ่ สดุ คือ ตวั บงชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตผุ ล รอ ยละ 74.94

๓๐ บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ รายงานผลการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 มีวัตถุประสงคเพื่อรายงานผลการประเมินพัฒนาการของนักเรียนที่จบหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามุกดาหารดำเนินการรวบรวมขอมูลจากนักเรียน จำนวน 3,061 คน จำนวน 240 โรงเรียน สำหรับเครือ่ งมอื ที่ใชใ นการเก็บรวบรวมขอมลู ประกอบดวย คูม ือดำเนนิ งานประเมนิ พฒั นการนักเรียนที่จบ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ชุดกิจกรรมการจัดประสบการณ สำหรับการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และคูมือบันทึกขอมูลการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ในปการศึกษา 2563 จากผลการวิเคราะหขอมูลการประเมินพัฒนาการ ดา นรางกาย ดานอารมณ จติ ใจ ดา นสังคม และดา นสตปิ ญ ญา ของนักเรียนทจ่ี บหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 มขี อ สรุป ผลการประเมินพฒั นาการ อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ ดังน้ี สรปุ ผลการประเมินพัฒนาการ 1. ผลการประเมินพัฒนาการ ระดับเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา ผลการประเมินพฒั นาการในภาพรวมทุกดาน ระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา นกั เรียนสวนใหญ มพี ฒั นาการอยใู นระดับดสี ูงสุด คดิ เปนรอ ยละ 86.95 สว นทเี่ หลอื อยใู นระดับพอใช รอยละ 12.05 และระดับปรับปรุง รอยละ 1.00 เมื่อจำแนกตามระดับคุณภาพรายพัฒนาการ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา นักเรียนสวนใหญมีพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ในระดับดีสูงสดุ รอยละ 89.65 รองลงมาคือ พัฒนาการ ดานสังคม รอยละ 89.35 พัฒนาการดานรางกาย รอยละ 89.21 และพัฒนาการดานสติปญญา รอยละ 77.59 ตามลำดบั 2. ผลการประเมินพัฒนาการ จำแนกตามขนาดโรงเรยี น 2.1 จำแนกตามขนาดโรงเรียน นักเรียนสวนใหญในโรงเรียนทุกขนาด มีพัฒนาการอยูในระดับดี ทุกดาน โดยนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญมีรอยละพัฒนาการระดับดีดานรางกายสูงสุด รองลงมาคือ ดานสังคม ดานอารมณ จิตใจ และดานสติปญญา ตามลำดับ และโรงเรียนขนาดกลางมีรอยละพัฒนาการ ระดับดีดานรางกายสูงสุด รองลงมาคือดานอารมณ จิตใจ ดานสังคม และดานสติปญญา ตามลำดับ สวนนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กมีรอยละพัฒนาการระดับดีดานอารมณ จิตใจ สูงสุด รองลงมา คือ ดา นสงั คม ดา นรางกาย และดา นสตปิ ญญา ตามลำดบั นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก มพี ัฒนาการดา นอารมณ จติ ใจ ในระดบั ดีสงู สดุ รอยละ 92.22 รองลงมาคอื พฒั นาการดา นสังคม รอ ยละ 91.81 พฒั นาการดานรา งกาย รอยละ 84.56 และพฒั นาการ ดานสตปิ ญญา รอยละ 76.40 ตามลำดับ

๓๑ นักเรียนในโรงเรียนขนาดกลาง มีพัฒนาการดานรางกาย ในระดับดสี ูงสดุ รอยละ 91.09 รองลงมาคอื พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ รอยละ 90.44 พฒั นาการดา นสังคม รอยละ 90.26 และ พัฒนาการดา นสติปญญารอยละ 80.1- ตามลำดบั นักเรียนในโรงเรยี นขนาดใหญ มีพฒั นาการดานรางกายในระดับดสี งู สดุ รอ ยละ 96.90 รองลงมาคือพัฒนาการดานสังคม รอยละ 96.07 พัฒนาการอารมณ จิตใจ รอ ยละ 95.58 และ พฒั นาการดา นสติปญญา รอ ยละ 90.29 ตามลำดบั 3. ผลการประเมนิ พัฒนาการ จำแนกตามมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค ของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 3.1 มาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคข องหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 จำแนกตามรายมาตรฐาน ในภาพรวมนกั เรยี นสวนใหญม มี าตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคอยูในระดบั ดี ทุกมาตรฐาน โดยมาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะดนตรี และการเคลื่อนไหว มีรอยละของ พัฒนาการระดับดีสูงสดุ รอยละ 92.17 รองลงมาคือ มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดี งาม รอยละ 90.38 และมาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รอยละ 90.06 ตามลำดับ โดยมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคที่มีรอยละของพัฒนาการระดับดีต่ำสุด คือ มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เปนพื้นฐานในการเรียนรู รอยละ 77.48 มาตรฐานที่ 9 ใชภาษาสื่อสารไดเหมาะสมกับวัย รอยละ 81.10 และมาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิด สรางสรรค รอยละ 81.96 ตามลำดบั 3.1.1 มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคดานรางกาย รายตัวบงชี้ นักเรียนสวนใหญ มีพัฒนาการดานรางกาย รายตัวบงชี้อยูในระดับดีทุกขอ โดยตัวบงชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี มีรอ ยละของพัฒนาการระดับดีสูงสุด รอ ยละ 94.91 รองลงมาคือ ตวั บงชที้ ี่ 1.3 รักษาความปลอดภัยของ ตนเองและผูอื่น รอ ยละ 90.14 ตัวบง ชีท้ ี่ 2.1 เคลอื่ นไหวรางกาย อยางคลองแคลว ประสานสัมพันธ และ ทรงตัวได รอยละ 89.42 ตามลำดับ โดยตัวบงช้ีท่ีมรี อยละของพฒั นาการระดบั ดีต่ำสุด คือ ตัวบงชี้ที่ 1.1 นำ้ หนักและสวนสูงตามเกณฑ รอยละ 78.74 3.1.2 มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคดานอารมณ จิตใจ รายตัวบงช้ี นักเรียนสวนใหญ มีพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ รายตัวบงชี้อยูในระดับดีทุกขอ โดยตัวบงชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจ และชวยเหลือแบงปน มีรอยละของพัฒนาการระดับดีสูงสุด รอยละ 92.36 รองลงมาคือ ตัวบงชี้ ที่ 4.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออกผานงานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว รอยละ 92.17 และ ตัวบงชี้ 5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผูอื่น รอยละ 91.97 ตามลำดับโดยตัวบงชี้ที่มีรอยละของพัฒนาการ ระดับดตี ำ่ สุดคอื ตวั บงช้ีที่ 3.2 มคี วามรูสกึ ท่ีดตี อ ตนเองและผูอ ื่นรอยละ 85.18 3.1.3 มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคดานสังคม รายตัวบงชี้ นักเรียนสวนใหญ มีพัฒนาการดานดานสงั คม รายตวั บง ช้ีอยใู นระดบั ดีทุกขอ โดยตวั บง ชท้ี ี่ 6.1 ชวยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวัน มีรอยละของพัฒนาการระดับดีสูงสุด รอยละ 93.86 รองลงมาคือ ตัวบงชี้ที่ 7.1 ดูแล รักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รอยละ 91.90 และตัวบง ชที้ ี่ 8.1 ยอมรบั ความเหมือนและความแตกตาง

๓๒ ระหวางบุคคล รอยละ 90.46 ตามลำดับ โดยตัวบงชี้ที่มีรอยละของพัฒนาการระดับดีต่ำสุด คือ ตัวบงชี้ ท่ี 78.3 ปฏิบตั ิตนเบ้อื งตนในการเปน สมาชกิ ทีด่ ีของสงั คม รอ ยละ 81.19 3.1.4 มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงคดานสติปญญา รายตัวบงช้ี นักเรียนสวนใหญ มีพัฒนาการดานสติปญญา รายตัวบงชี้ อยูในระดับดีทุกขอ โดยตัวบงชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการ แสวงหาความรู รอยละของพัฒนาการระดับดสี ูงสุด รอยละ 85.30 รองลงมาคอื ตวั บง ชที้ ี่ 12.1 มีเจตคติ ที่ดีตอการเรียนรู รอยละ 85.01 และตัวบงชี้ที่ 11.2 แสดงทาทาง/เคลื่อนไหวตามจินตนาการอยาง สรางสรรค รอยละ 84.61 ตามลำดับ โดยตัวบงชี้ที่มีรอยละของพัฒนาการระดับดีต่ำสุด คือ ตัวบงช้ี ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชงิ เหตุผลรอยละ 74.94 อภปิ รายผล การประเมินพฒั นาการของนักเรยี นทีจ่ บหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 ปการศึกษา 2563 นำเสนอการอภปิ รายผล ดังน้ี 1. ผลการประเมินพัฒนาการของนกั เรียนที่จบหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 ปการศึกษา 2563 ในภาพรวมระดับเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา มรี อยละพฒั นาการในระดับดีทกุ ดา น รอยละ 86.95 ซึ่งเปนไปตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 - 2564 ยุทธศาสตรที่ 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย เปาหมายที่ 2 คนใน สงั คมไทยทกุ ชวงวยั มีทักษะความรูและความสามารถเพิม่ ขนึ้ 2.1 เดก็ ปฐมวยั มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 เด็กมีพัฒนาการสมวัยไมนอยกวารอยละ 85 อยางไรก็ตาม หากพิจารณาปรัชญาการศึกษา ปฐมวัยและจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ทีม่ ุงเนนใหมกี ารพัฒนานักเรียนอยางเปนองครวม ใหมี ความพรอมทั้งดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา และมีคุณลักษณะสมวัยสอดคลองกับ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค แตเมื่อพจิ ารณาเปนรายพฒั นาการ พบวา พฒั นาการดานอารมณ จติ ใจ พัฒนาการดานสังคม และพัฒนาการดานรางกาย มผี ลการประเมินระดับคณุ ภาพดใี กลเคยี งกัน คือ รอยละ 89.65 รอยละ 89.35 และรอยละ 89.21 แตพัฒนาการดานสติปญญามีผลการประเมินพัฒนาการ ที่คารอยละแตกตางจากพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ดานสังคมและดานรางกาย คือ รอยละ 77.59 ซึ่งเปนขอมูลใหโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและผูเก่ียวของ นำไปใชกำหนดทศิ ทางพัฒนาคุณภาพนักเรียน เพ่ือใหสอดคลอ งอยางเปนองครวมตอไป 2. ผลการประเมินพัฒนาการดานรางกาย ของนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศกึ ษา 2563 มาตรฐานท่ี 1 รางกายเจรญิ เติบโตตามวยั และมีสุขนิสยั ท่ีดี ตวั บงชท้ี ่ี 1.2 มสี ุขภาพอนามยั สขุ นสิ ยั ท่ีดี มผี ลการประเมนิ พัฒนาการระดบั ดสี ูงสุด แสดงถงึ โรงเรียนมีการสงเสริม กำกบั ติดตาม เฝาระวัง ภาวะการเจริญเตบิ โตของนักเรียนปฐมวยั โดยใหน ักเรียนปฐมวยั ไดร ับประทานอาหารที่มี ประโยชนครบ 5 หมู และดื่มน้ำอยางเพียงพอไดออกกำลงั กายอยางสมำ่ เสมอ นอนหลับพักผอ นในสถานท่ี สะอาด มีอากาศถายเทไดดี ดังที่ กระทรวงสาธารณสุข (2561 : 60) ไดกำหนดขอบขายใหครูผูดูแลเด็ก ปฐมวัยควรปลูกฝงพฤติกรรมที่เสริมสรางสุขอนามัยที่ดีใหกับเด็ก โดยจัดใหเด็กไดทากิจวัตรและกิจกรรม ตาง ๆ เหลานี้สอนใหเด็กลางมืออยางถูกวิธี กอนรับประทานอาหาร หลังเขาหองน้ำ และหลังจากเลน กลางแจง ใหเ ดก็ แปรงฟนหลังรบั ประทานอาหารทกุ คร้งั ใหเด็กปด ปาก ปดจมกู ดวยผา หรือกระดาษ

๓๓ ทิชชูเวลาไอ จาม แลวทิ้งลงถังขยะท่ีมฝี าปด และลางมือดว ยสบูใหสะอาด ทุกครั้ง รวมถึงการสวมหนากาก อนามัยเวลาเจ็บปวยดวยโรค ทางเดินหายใจ จะชวยลดการแพรกระจายเชื้อใหผูอื่น ใหเด็กขับถายในหอง สวมที่ถูกสุขลักษณะ ใหเด็กทิ้งขยะในถังที่มีฝาปด ใหเด็กหลีกเลี่ยงการอยูและหลับนอนในที่แออัด ไมให เด็กไปแหลงที่เสี่ยงตอการติดเชื้อไดงาย เชน ชุมชนแออัด จะชวยลดการติดเชื้อทางเดิน หายใจได อาน หนงั สือทสี่ งเสริมการเสริมสรา งพฤตกิ รรมอนามยั กบั เด็กเปนประจำ ทำใหมผี ลการประเมินพฒั นาการอยูใน ระดับที่นาพึงพอใจ อยางไรก็ตาม มาตรฐานและตัวบงชี้ที่มีรอยละของพฒั นาการระดับดีต่ำสุด ในภาพรวม ระดับเขตพื้นที่การศึกษา คือ มาตรฐานที่ 1 รางกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี ตัวบงชี้ที่ 1.1 น้ำหนักและสว นสงู ตามเกณฑ รอยละ 7๘.๗๔ จงึ เปน ขอ มลู ท่ีโรงเรียนและหนวยงานที่เกีย่ วของทุกภาคสวน ควรรวมมือกันสงเสริมและเฝาระวังติดตามการเจริญเติบโตของนักเรียน ทั้งนี้ สำนักงานเลขาธิการสภา การศึกษา (2562 : 142 - 143) ไดเสนอแนวทางการเฝาระวังติดตามการเจริญเติบโตของนักเรียน ปฐมวัยเปนรายบุคคล ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติ คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัย แหงชาติ (ก.พ.ป.) ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 2 มกราคม 2562วา ควรมีการติดตามและบันทึกผลการ เจริญเติบโตนักเรียนรายบุคคลทุก 3 เดือน โดยจุดลงบนกราฟน้ำ หนักและสวนสูงตามอายุ และแปลผล ภาวะโภชนาการและแนวโนมการเจริญเติบโต แจงผลการเจริญเติบโต การประเมินพฤติกรรมการบริโภค อาหารของนักเรียนเปนรายบุคคล และใหคำแนะนำความรูดานโภชนาการที่สอดคลองกับภาวะโภชนาการ ของนักเรียนแกพอแม ผูปกครอง และผูสอน นำผลการเจริญเติบโตมาปรับการจัดรายการอาหารให เหมาะสมกับนักเรียนเปนรายบุคคล โดยมีแผนการดำเนินการตามมาตรฐานอยางเปนระบบและตอเนื่อง ทั้งนี้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหารควรสงเสริมโรงเรียนในสังกัด กำกับ ติดตาม เฝาระวัง ภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียนปฐมวัย โดยใหนักเรียนปฐมวัยไดรับประทานอาหารที่มี ประโยชนครบ 5 หมู และดื่มน้ำอยางเพียงพอไดออกกำลังกายอยางสม่ำเสมอ นอนหลับพักผอนในสถานที่ สะอาด มอี ากาศถายเทไดด ี 3. ผลการประเมินพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ของนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 ในภาพรวมระดับเขตพื้นที่การศึกษา มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม ตัวบงชี้ที่ 5.2 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจ และชวยเหลือแบงปน มีผลการ ประเมินพัฒนาการระดับดีสูงสุด แสดงถึงโรงเรียนมีการจัดประสบการณที่สงเสริมคุณลักษณะตามวัย ดังที่ กระทรวงศึกษาธกิ าร (2560 : 43) ไดก ำหนดขอบขายการจัดกิจกรรมการพัฒนาอารมณ จติ ใจและปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเปนการใหเด็กมคี วามเมตตากรุณา เอื้อเฟอ แบงปน มีมารยาท โดยจัดกิจกรรมตา ง ๆ ผานการเลนใหเด็กไดไดฝกปฏบิ ัติโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอยางตอเนื่อง สวนมาตรฐานและตัว บงชี้ที่มีรอยละของพัฒนาการระดับดีต่ำสุด คือ มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข ตัวบงชี้ที่ 3.2 มีความรูสึกที่ดีตอตนเองและผูอื่น จึงควรใหความสำคัญตอการจัดกิจกรรมสงเสริมนักเรียนใหเปนผูมี ความรูสึกที่ดีตอตนเองและผูอื่นเพิ่มขึ้น ดังที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2561 : 154 - 155) กลา ววา การจดั กิจกรรมสรางความสัมพนั ธระหวางนักเรยี นกับครู นักเรยี นกบั นกั เรียน และจัดการแกไขขอ ขัดแยง ที่อาจเกิดขึน้ ตลอดจนการสรางบรรยากาศและสภาพแวดลอมทสี่ งเสริมใหนกั เรยี นอบอุน ปลอดภัย มีความมั่นคงทางอารมณ เห็นคุณคาดวยการใหความสำคัญกับนักเรียนทุกคน เมื่อทำผิดครูพรอมให

๓๔ คำแนะนำ ชวนใหเด็กคิด ยอมรับผิด พรอมจะปรับและพัฒนาตนเอง รวมถึงการใหแรงเสริมทางบวก เปน กจิ กรรมทีส่ ามารถสง เสรมิ ใหน กั เรยี นมีความรูส กึ ทดี่ ีตอ ตนเองและผูอ นื่ 4. ผลการประเมินพัฒนาการดานสังคม ของนักเรียนท่ีจบหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 ในภาพรวมระดับเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา มาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวติ และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบงชี้ที่ 6.1 ชวยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวัน มีผลการประเมินพัฒนาการระดับดีสูงสุด แสดงถึงการจัดกิจกรรมผานการลงมือปฏิบัติจริง รวมกันกับเพื่อนในชั้นเรียนผานกิจกรรมเสริมประสบการณ การเลนตามมุม การเลนกลางแจง นักเรียนมี พัฒนาการระดับดีต่ำสุดในมาตรฐานและตัวบงชี้เดียวกัน คือ มาตรฐานที่ 8 ตัวบงชี้ที่ 8.3 ปฏิบัติตน เบ้ืองตน ในการเปน สมาชิกท่ีดขี องสังคม ซ่งึ แสดงใหเ ห็นวา โรงเรียน ควรใหความสำคัญกบั การจดั กิจกรรมให นักเรียนปฏิบตั ิตนเปนสมาชิกท่ีดีของสังคมผานกิจกรรมประจำวัน ดงั ที่ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2561 : 3 - 22) ไดแนะนำวิธีการสงเสริมนักเรียนวัย 3 - 5 ป ไววา ควรเปดโอกาสใหเด็กไดอยูรวมกับ ผูใหญ มีสว นรวมในฐานะสมาชิกคนหน่งึ ของโรงเรียน บา น และชมุ ชน 5. ผลการประเมนิ พัฒนาการดานสตปิ ญ ญา ของนกั เรียนทจี่ บหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 ในภาพรวมระดับเขตพื้นทกี่ ารศึกษา มาตรฐานที่ 12 มเี จตคติ ที่ดีตอการเรียนรู และมีความสามารถในการแสวงหาความรูไดเหมาะสมกับวัย ตัวบงชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู มีผลการประเมินในระดับดีสูงสุด แสดงใหเห็นวาโรงเรียนจัด ประสบการณการเรียนรูสง เสริมใหนกั เรียนสวนใหญมกี ารแสวงหาความรู สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (กระทรวงศึกษาธิการ,2560 : 41) ที่กำหนดหลักการจัดประสบการณไววา ควรจัดประสบการณการเลนและการเรียนรูอยางหลากหลายเนนเด็กเปนสำคัญ สนองความตองการ ความสนใจ และความแตกตางระหวางบุคคล และบริบทที่นักเรียนอาศัยอยูโดยใหความสำคัญ ดานกระบวนการเรียนรูและพัฒนาการ ใหพอแม ครอบครัว ชุมชน และผูเกี่ยวของมีสว นรวมในการพัฒนา นักเรียน ทั้งนี้ การจัดประสบการณตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเปนการพัฒนานักเรียนเปนองครวมใน รูปแบบของกิจกรรมบูรณาการผานการเลนดวยการปฏิบัติจริงดวยประสาทสัมผัสทั้ง 5 และประสบการณ ตรงที่นักเรียนไดปฏิบัติจริง (Active Learning) การจัดประสบการณการเรียนรูที่สอดคลองกับพัฒนาการ ตามวัยของนักเรียนจึงใหนกั เรียนมีความพรอมในการเรียนรูส ่ิงตาง ๆ สวนมาตรฐานและตัวบงชี้ที่มีรอยละ ของพัฒนาการระดับดีต่ำสุด คือ มาตรฐานท่ี 10 มีความสามารถในการคิดที่เปนพื้นฐานในการเรียนรู ตัวบงชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล สอดคลองผลการศึกษาการคิดเชิงเหตุผลของเด็ก ปฐมวัย ของจารุวรรณ คงทวี (2551: 57-58) พบวา การจัดกิจกรรมพัฒนาการคิดเชิงเหตุผลควรเปน กจิ กรรมทเี่ ปดโอกาสใหเด็กไดลงมือกระทำโดบผานประสาทสัมผัสท้ังหา เปน กิจกรรมท่ีฝก ใหเด็กคิดคนหรือ หาวิธีการแปลก ๆ ใหม ๆ ที่คนพบขึ้นตนเองมาทดลองใชในกิจกรรมเปนกิจกรรมที่เด็กไดมีโอกาสสังเกต สำรวจ จำแนกเปรียบเทียบสิ่งตาง ๆ ของวัสดุอุปกรณคนควาทดลองในแกปญหาดวยตนเอง จะเห็นไดวา การจัดประสบการณที่สงเสริมความสามารถในการคิดเชิงเหตุผลเปนกิจกรรมท่ีครูผูสอนและผูปกครอง สามารถรวมมือกันในการสง เสรมิ ใหเดก็ ปฐมวัยมีพัฒนาการในดา นนี้ไดอยางเหมาะสมตามวัยทัง้ ที่บานและ ท่โี รงเรยี น

๓๕ ขอ เสนอแนะ ขอมูลการประเมินพัฒนาการประเมินพัฒนาการของนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปการศึกษา 2563 ใชเปนขอมูลสารสนเทศในการวางแผนปฏิบัติงานการพัฒนาเด็ก ปฐมวัย ทง้ั ในระดบั สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษามุกดาหาร และโรงเรียน ดงั นี้ ระดับสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา 1. ควรสรางความตระหนกั และความรูค วามเขา ใจใหตรงกันในการดำเนนิ งานและภารกิจในการจดั การศึกษาปฐมวัยใหโ รงเรียน ในเร่ืองตอไปนี้ 1.1 การจดั ประสบการณพ ัฒนาเดก็ ปฐมวัยแบบองคร วมอยา งเต็มศักยภาพ 1.2 การสง เสริมการเจรญิ เตบิ โต สขุ อนามัย และการพัฒนาการทางรางกายของเด็กปฐมวยั 1.3 การสง เสรมิ การใชภ าษาสอ่ื สารใหเหมาะสมตามวัย ตลอดจนการสงเสรมิ ใหเ ด็กปฐมวัย มีจินตนาการและความคดิ สรางสรรค 1.4 สง เสริมใหผูบริหารโรงเรียนและครปู ฐมวัยไดมคี วามรู และเหน็ ความสำคัญของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั โดยใหความสนใจและเอาใจใสอยา งจริงจัง 1.5 สง เสริมใหโรงเรยี นนำนวตั กรรมทเ่ี ก่ียวของกบั การพัฒนาการศกึ ษาปฐมวยั มาใช โดยคำนงึ ถงึ หลกั การจัดการศึกษาปฐมวัย และความเหมาะสมกบั บรบิ ทของสังคมที่แวดลอ มเด็ก 2. สงเสริม สนับสนุนการดำเนนิ งานการจัดการศกึ ษาปฐมวัยในดานงบประมาณและสอื่ การเรียน การสอน 3. สงเสรมิ สนบั สนุนจดั ใหม ีผูสอนปฐมวัยมีทกั ษะในการจัดประสบการณเ รียนรู 4. สง เสริมใหผูบรหิ ารโรงเรยี นไดเรียนรกู ารจดั การศึกษาปฐมวัยทีถ่ กู ตองตามหลกั การ 5. กำกบั ติดตาม การดำเนนิ งานการจัดการศกึ ษาปฐมวยั อยางตอ เนื่อง ระดับโรงเรียน ควรสรางความตระหนักและความรคู วามเขา ใจใหแกครูปฐมวยั ผปู กครองและผเู ก่ียวของในเรอื่ ง ตอ ไปน้ี 1. การจดั ประสบการณพฒั นาเด็กปฐมวยั แบบองคร วมอยา งเต็มศักยภาพโดยเนน การบูรณาการ การเรยี นรู 2. การสง เสริมสุขอนามัยของเดก็ ไดแ ก การรักษาความสะอาดมือและเล็บมือ เทา และเล็บเทา ปาก ล้ิน ฟน การลางมอื หลังจากการใชห องน้ำ หองสว ม เปน ตน 3. สงเสริมการฝก ทกั ษะการส่ือสาร การคดิ และการแสวงหาความรู การพฒั นาความคดิ รวบยอด คิดเชิงเหตุผล สงั เกต จำแนก เปรียบเทียบ จดั หมวดหมู เรยี งลำดบั เหตกุ ารณ แกป ญหา และมติ สิ มั พนั ธ อยา งตอเนื่อง 4. การสง เสริมจนิ ตนาการและความคดิ สรางสรรค ควรใหเ ดก็ ไดพัฒนาความคดิ ริเรม่ิ สรางสรรค ไดถา ยทอดอารมณความรูส ึกและเห็นความสวยงามของสง่ิ ตา งๆ รอบตวั โดยใชก ิจกรรมสรางสรรคแ ละ ดนตรเี ปนสอื่ ใชก ารเคลอ่ื นไหวและจงั หวะตามจินตนการ ใหประดิษฐสิง่ ตางๆ อยา งอสิ ระตามความคดิ รเิ ริ่ม สรางสรรคข องเด็ก

๓๖ 5. การใหโอกาสเดก็ ไดเลน ทำงานรว มกันเปน กลุม โดยเนนใหม ีการวางแผน เลอื ก ตัดสินใจ และลงมือปฏิบตั ิ 6. การประเมินพัฒนาการเด็ก ควรดำเนนิ การอยา งเปน ระบบและตอเนอ่ื ง ตลอดจนนำผลการ ประเมนิ มาใชใ นการจัดกิจกรรมหรือประสบการณ พฒั นาเด็กใหเต็มตามศักยภาพของแตล ะคน 7. สง เสรมิ ใหพ อแม ผปู กครองมีสว นรว มในการเฝาระวงั ภาวะทพุ โภชนาการและภาวะโภชนาการ เกนิ เกณฑ ระดบั ชัน้ เรียน 1.ครผู ูส อนควรนำขอ มลู ไปใชในการพฒั นาเด็กระดับชัน้ เรียน พัฒนาเดก็ เปนรายบุคคล ราย มาตรฐาน คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค และนำขอมูลไปใชในการวิจยั ในชน้ั เรียน ๒. ครูควรนำผลการประเมินไปออกแบบการจดั ประสบการณก ารเรียนรูหรือแสวงหานวัตกรรม ใหม ๆ เพ่ือยกระดับคุณภาพเด็ก โดยยึดมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค และออกแบบการประเมิน พฒั นาการโดยใชวธิ กี ารหลากหลาย ใชเครอื่ งมือทม่ี ีคุณภาพ และเนนการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ และฝก เด็กใหมีทักษะการคดิ พน้ื ฐาน

๓๗ บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2560) หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตร แหง ประเทศไทย จำกดั กระทรวงสาธารณสุข (2561) แนวทางการการจัดอาหาร บรบิ าลนำ้ และสรา งสขุ ภาวะทด่ี ี ในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย สำหรบั ผบู ริหาร ครแู ละผูดูแลเดก็ ตามมาตรฐานสถานพัฒนา เดก็ ปฐมวัยแหงชาติ http://dental2.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/dental/ewt_dl_link.php?nid=2046 จารุวรรณ คงทวี (255๗) การคดิ เชงิ เหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ไดรบั การจดั กิจกรรมทักษะพื้นฐาน ทางวิทยาศาสตร ปรญิ ญานิพนธ กศม. (การศกึ ษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ นนั ทิยา นอ ยจนั ทร. (2548). การประเมินผลพัฒนาการของเด็กปฐมวยั , นครปฐม:นิตินยั เลขาธกิ ารสภาการศึกษา, สำนกั งาน. (2562) มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแหงชาติ. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท พริกหวานกราฟฟค จำกดั ______(๒๕๖๑) แนวแนะวธิ กี ารอบรมเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะเพ่อื เพม่ิ คุณภาพเด็กตามวยั 0 - 5 ป. พิมพครั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ : บริษทั พริกหวานกราฟฟค จำกัด สมพร สทุ ศั นยี  (2547) จิตวิทยาการปกครองช้นั เรยี น. กรุงเทพฯ : บริษทั คอทฟอรม จำกัด Woolfolk, A. E. (๑๙๙๘). Educational psychology. Boston: Allyn & Bacon

๓๘ ภาคผนวก

๓๙ ผลการประเมนิ พัฒนาการนักเรยี นทจ่ี บหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ปการศกึ ษา 2563 จำแนกแตละโรงเรยี นในสงั กัด ท่ี โรงเรยี น จำนวน รอ ยละของผลการประเมนิ พฒั นาการ แยกแตละดา น รอยละของ นกั เรียน ดา นรางกาย ดานอารมณ ดานสังคม ดาน ผลการประเมนิ (คน) จติ ใจ สติปญ ญา ท้ัง 4 ดาน 1 บานบุงอุทยั 8 98.63 94.17 99.63 85.43 94.47 2 บานสมปอยรอดนกุ ลู 17 99.26 99.80 98.94 99.40 99.35 3 บานทา ไค 13 95.46 91.27 95.80 82.53 91.27 4 บานโนนศรี 6 96.94 98.89 99.50 96.87 98.05 5 คำสายทองวทิ ยา 3 77.78 73.33 81.78 66.67 74.89 6 บา นกุดโงง 10 98.17 96.33 95.77 90.63 95.23 7 บานดานคำ 3 100 96.67 100 93.00 97.42 8 นาคำนอยวิทยา 12 86.44 84.17 83.83 83.43 84.47 9 เมืองใหม 22 99 99.85 99.86 98.00 99.18 10 บา นศนู ยไหม 9 92.93 91.10 91.23 84.27 89.88 11 บานนาโปนอ ย 8 95.83 97.50 100 90.63 95.99 12 มุกดาลยั 95 98.55 98.53 98.73 96.97 98.20 13 บา นนาโปใหญ 6 100 100 100 95.83 98.96 โคกสวุ รรณ 14 อนุบาลมกุ ดาหาร 120 99.29 98.50 98.63 96.57 98.25 15 ชุมชนศรบี ญุ เรือง 13 95.13 93.73 95.33 90.23 93.61 16 คำอาฮวน 12 97.25 98.10 99.00 98.10 98.11 ศรสี รุ าษฎรวิทยา 17 บานคำเขือง 4 90.75 92.50 94.75 89.08 91.77 18 บานคำเม็ก 3 82.78 78.89 82.89 72.89 79.36 19 บา นโคงสำราญ 12 93.89 89.80 87.13 87.17 89.50 20 บา นดงมนั 8 99.08 99.17 96.25 93.33 96.96 21 บา นโนนสะอาด 17 87.11 88.89 90.40 84.73 87.78 ราษฎรบ ำรงุ 22 บานพรานอน 13 100 99.58 95.03 96.11 97.68 23 บา นเหลาคราม 6 97.71 97.93 99.43 93.63 97.18 24 บานเหมอื งบา 3 86.08 91.67 93.17 87.00 89.48 25 บานดงเยน็ 10 98.95 99.53 98.13 96.63 98.31 26 บา นโคกขามเลยี น 3 90.88 99.40 99.10 97.93 96.83 27 นราธปิ -พรอยสุพณิ 12 94.26 91.10 74.40 85.90 86.42 บานโคกตะแบง 28 บา นปง โพน 22 95.97 93.93 98.64 92.60 95.29 29 บา นโพนสวาง 12 97.56 98.33 99.25 96.00 97.79 30 บา นสามขวั 17 92.67 94.90 95.90 95.33 94.70 31 บา นหนองแคนนาจาน 19 99.67 98.23 97.13 94.63 97.42

๔๐ ผลการประเมนิ พัฒนาการนักเรยี นทีจ่ บหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ปก ารศกึ ษา 2563 จำแนกแตละโรงเรียนในสังกดั จำนวน รอ ยละของผลการประเมินพัฒนาการ แยกแตละดา น รอ ยละของ ผลการประเมนิ ที่ โรงเรียน นกั เรยี น ดา นรางกาย ดานอารมณ ดานสงั คม ดา น (คน) จติ ใจ สตปิ ญ ญา ท้ัง 4 ดาน 32 บา นกดุ แข 18 97.67 99.81 98.50 92.83 97.20 98.71 33 บานกุดแขใ ต 2 100 100 100 94.83 98.92 97.54 34 บานดงยางนนั ทวนั 13 99.33 99.73 100 96.63 94.98 94.83 35 บานปงเปอ ย 16 96.53 99.17 98.88 95.57 99.65 99.82 36 บา นนาโด 4 95.42 98.33 97.00 89.17 96.85 97.98 37 แกงนาบอนพทิ ยาสรรค 20 93.33 94.67 97.97 93.33 82.95 96.12 38 ชมุ ชนนาโสก 28 99.73 99.76 100 99.11 99.22 98.67 39 บานหนองน้ำเตา 15 99.27 100 100 100 99.20 97.87 40 บา นนาหวั ภู 5 96.33 96.00 98.80 96.27 97.17 96.95 41 บา นเหลา ปา เปด 16 99.77 98.13 97.93 96.10 97.68 88.36 42 บา นนาถอน 12 94.77 85.57 78.53 72.93 96.45 99.10 43 บานนาโสกนอย 6 96.33 96.67 94.93 96.53 99.92 95.73 44 ชมุ ชนโพนทราย 13 99.43 99.50 99.54 98.40 87.63 97.94 45 บา นมว งหัก 2 100 96.67 100 98.00 97.13 97.26 46 บา นหนองหญาไซย 18 99.17 99.63 99.50 98.50 97.31 73.11 47 คำฮีเบญจวิทย 17 97.33 98.53 98.30 97.33 98.16 98.58 48 บานแกนเตา 3 98.17 96.67 97.00 96.83 92.26 99.25 49 บานนาดี 2 4 99.08 99.17 96.20 93.33 50 บานสงเปอยเหนือ 29 100 100 97.90 92.80 51 หวยยางจอมมณี 7 91.57 86.20 97.40 78.27 52 บา นไร 3 96.33 98.89 96.00 94.56 53 บานดงมอน 16 98.60 98.97 100 98.83 54 บา นปาหวาย 19 100 99.81 100 99.87 55 บา นพงั คอง 11 95.97 96.06 97.53 93.37 56 บา นสงเปอย 25 89.30 91.33 95.77 74.10 57 บานหนองบัว 8 98.63 99.58 97.73 95.83 58 บานหนองแวง 18 96.10 97.97 98.13 96.30 59 บานโคก 1 9 97.50 99.63 97.00 94.90 60 บา นคำผงึ้ 5 100 96.00 96.97 96.27 61 บา นจอมมณีใต 14 75.93 76.67 75.53 64.30 62 ไตรมติ รวทิ ยาคม 16 97.23 98.53 98.30 98.57 63 บานโนนตมู 1 96.33 100 100 98.00 64 บา นผงึ่ แดด 11 95.30 93.00 93.67 87.07 65 บา นหนองไผ 2 100 100 97.00 100

๔๑ ผลการประเมินพัฒนาการนกั เรียนที่จบหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปก ารศึกษา 2563 จำแนกแตละโรงเรยี น จำนวน รอ ยละของผลการประเมนิ พัฒนาการ แยกแตล ะดา น รอยละของ ผลการประเมนิ ที่ โรงเรยี น นักเรยี น ดานรางกาย ดานอารมณ ดา นสงั คม ดา น (คน) จิตใจ สตปิ ญ ญา ทัง้ 4 ดา น 66 บานสามขามติ รภาพ 37 98.50 97.57 97.87 96.83 97.69 ที่ 3 100.00 67 แกงโนนคำ 16 100 100 100 100 ประชาสรรค 98.77 98.60 99.03 99.63 97.83 100.00 68 บา นคำปา หลาย 24 100 100 100 100 76.08 87.30 73.80 75.33 67.87 97.82 69 บา นนาคำนอย 2 9 100 100 100 91.27 92.51 70 บา นนาตะแบง 1 14 92.80 93.33 94.77 89.13 86.50 71 บา นนาสองหอ ง 5 95.53 72 บานนาเสอื 18 100.00 หลายหนองยอ 88.23 73 บานคำผักหนอก 16 87.73 85.83 88.43 84.00 97.64 สงเปอย 95.90 96.30 96.63 93.30 98.82 74 บานดอนมว ย 9 100 100 100 100 95.14 90.73 87.77 91.93 82.47 97.14 75 บา นหนองแอก 14 87.64 97.37 98.33 97.83 97.03 96.56 76 ชมุ ชนบางทรายใหญ 12 92.43 99.50 99.78 99.60 96.40 77 บา นหนองหอย 14 98.78 97.78 95.00 89.00 98.64 ปา หวาย 95.11 100 99.00 94.44 88.89 87.78 91.89 82.00 96.92 78 ชุมชนบานคำชะอี 15 96.86 96.19 99.14 94.03 100.00 92.60 94.00 92.73 90.40 99.83 79 บา นกกไฮโนนนำ้ คำ 3 100.00 100 98.73 100 95.83 80 บานแกง ชา งเนยี ม 3 96.65 97.56 98.33 97 94.80 81 บานนาปุง 3 100 100 100 100 99.31 100 100 100 99.33 82 บานโนนสวาง 1 7 100 100 100 100 97.44 83 บา นหนองกะปาด 5 94.30 98.57 96.63 97.10 วดั หลวงปูจาม มหา 12 84 ปุโฺ ญ บานหว ยทราย \"ราษฎรป ระสงค\" 85 บา นกลาง 6 86 คำบกราษฎรน กุ ลู 4 87 บา นบาก 1 3 88 บานหวยลำโมง 2 89 บา นน้ำเทย่ี ง วันครู 35 2501 90 บา นหนองเอย่ี นดง 18 100 100 100 97.23 'ราษฎรส งเคราะห' 98.57 96.67 97.10 97.43 91 บานโนนสังขศรี 21


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook