Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสรุปผลการดำเนืนงาน โครงการนักศึกษา กศน.ใส่ใจห่างไกลโควิด 19

รายงานสรุปผลการดำเนืนงาน โครงการนักศึกษา กศน.ใส่ใจห่างไกลโควิด 19

Published by พัชรินทร์ มาบุญ, 2021-10-11 09:50:55

Description: รายงานสรุปผลการดำเนืนงาน โครงการนักศึกษา กศน.ใส่ใจห่างไกลโควิด 19

Search

Read the Text Version

โครงการโครงการ นกั ศกึ ษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควิด 19 ข

-ก- บทสรุปผบู้ รหิ าร โครงการ นักศึกษา กศน. ใส่ใจ ห่างไกล โควิด 19 การดำเนินการ โครงการนี้มี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ควาวมเข้าใจเก่ียวกับการป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์ใหม่ 2) เพื่อนักศึกษามีตระหนักและเห็นความสำคัญของวัคซีนป้องกันโรค เชือ้ ไวรัสโควิด 19 3) นักศึกษาสามารถนำความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ โดยมีเปา้ หมายดังน้ี เปา้ หมาย เชิงปริมาณ นักศึกษา กศน. ทั้ง 4 แห่ง จำนวน 60 คน เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1. เพื่อให้นักศึกษามี ความรู้ควาวมเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์ใหม่ 2. เพื่อนักศึกษามีตระหนักและเห็นความสำคัญของวัคซีนป้องกันโรคเชื้อไวรัสโควิด 19 3.นักศึกษา สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยมีผู้รับผิดชอบคือ นางสาวพัชรินทร์ มาบุญ ครูผู้ช่วย กศน.อำเภอทองแสนขัน ผลการดำเนินโครงการสรุปได้ดังน้ี สถานที่ดำเนินโครงการนี้คือ ณ กศน.ตำบล บ่อทอง กศน.ตำบลผักขวง กศน.ตำบลน้ำพี้ กศน.ตำบลป่าคาย อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ ดำเนินการวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2564 งบประมาณที่ใช้จำนวน 11,200 บาท โดยมีขั้นตอนการ ดำเนินงานดังนี้ 1. ประชาสัมพันธ์/สำรวจความต้องการ 2. ประชุมวางแผน 3. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประชุมวางแผนชี้แจงบทบาทหน้าที่ 4. ดำเนินการจัดโครงการ 5. นิเทศติดตาม/ประเมินผล 6. สรุปผล และรายงานผลการดำเนินการผลการดำเนินงานเชิงปริมาณที่ได้ มีนักศึกษาของ กศน.อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ เข้าร่วมทำกิจกรรมในโครงการเกินจำนวนเป้าหมาย คือ 68 คน ผลการดำเนินงานเชิง คุณภาพ พบวา่ นกั ศึกษามคี วามรู้ควาวมเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัส โควิด 19 สายพันธุ์ใหม่ ตระหนักและเห็นความสำคัญของวัคซีนป้องกันโรคเชื้อไวรัสโควิด 19 และ สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจโดยภาพรวมของ โครงการ นักศึกษา กศน. ใส่ใจ ห่างไกล โควดิ 19 อยใู่ นระดับ ดมี าก โดย คดิ เป็นร้อยละ 82.26 จากการติดตาม ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม มีความรู้ควาวม เข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์ใหม่ ตระหนักและ เหน็ ความสำคัญของวคั ซนี ปอ้ งกันโรคเช้ือไวรัสโควดิ 19 และสามารถนำความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ โครงการโครงการ นกั ศกึ ษา กศน. ใสใ่ จ หา่ งไกล โควิด 19 ค

-ข- คำนำ กศน.อำเภอทองแสนขัน ดำเนินจัดกิจกรรมโครงการ นักศึกษา กศน. ใส่ใจ ห่างไกล โควิด 19 ซึ่งจะช่วยให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเกิดแนวคิดด้านการรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อให้เกิด ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมและสามารถนำไปปรบั ใช้ให้เกดิ ประโยชน์แก่ตนเองและครอบครวั ได้ การดำเนินการ โครงการนี้มวี ัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อให้นกั ศกึ ษามีความรู้ควาวมเข้าใจเก่ยี วกบั การป้องกันตนเองจากการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์ใหม่ 2) เพื่อนักศึกษามีตระหนักและเห็นความสำคัญของวัคซีน ป้องกันโรค เชื้อไวรัสโควิด 19 3) นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ สถานที่ ดำเนนิ โครงการนี้ ณ กศน.ตำบลบ่อทอง กศน.ตำบลผักขวง กศน.ตำบลน้ำพ้ี กศน.ตำบลป่าคาย อำเภอทอง แสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ วันท่ี 30 กรกฎาคม พ.ศ.2564 การจัดทำรายงานฉบับน้ี เพื่อรายงานผล การดำเนนิ งาน ปัญหาและขอ้ เสนอแนะเพื่อพฒั นาการจดั กจิ กรรมโครงการในครั้งต่อไป ขอขอบคุณบุคลากรของ กศน.อำเภอทองแสนขัน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ที่ได้ให้ ความร่วมมอื ในการดำเนินจัดกจิ กรรมในครง้ั น้ี จัดทำโดย พัชรนิ ทร์ มาบุญ โครงการโครงการ นักศึกษา กศน. ใสใ่ จ ห่างไกล โควิด 19 ง

-ค- สารบัญ เรือ่ ง หน้าท่ี บทสรปุ ผู้บริหาร ก คำนำ ข สารบัญ ค บทท่ี 1 บทนำ 1 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง 4 บทท่ี 3 ขนั้ ตอนและวธิ กี ารดำเนินงาน 8 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 10 บทท่ี 5 สรปุ อภิปราย ข้อเสนอแนะ 18 ภาคผนวก 19 คณะผู้จดั ทำ โครงการโครงการ นกั ศกึ ษา กศน. ใส่ใจ ห่างไกล โควดิ 19 จ

บทท่ี 1 บทนำ 1. ความเป็นมาของโครงการ จากสถานการณ์ของโรคระบาดที่มีชื่ออยู่โลกออนไลน์ตลอดทุกวัน และยังไม่มีทีท่าว่าจะดีขึ้นอย่าง “ไวรสั โคโรนา”หรือ “โควดิ -19” ทำให้ใครหลายคนเปน็ กังวล และคอยตดิ ตามข่าวสารกนั อยตู่ ลอดถึงจำนวนผู้ ติดเชื้อ อัตราการเสียชีวิต รวมไปถึงการป้องกันตัวเองให้รอดพ้นจากการติดเชื้ออันตรายนี้ ไวัรสโคโรนา (Coronavirus) เป็นไวรัสที่ถูกพบครั้งแรกในปี 1960 แต่ยังไม่ทราบแหล่งที่มาอย่างชัดเจนว่ามาจากที่ใด แต่ เปน็ ไวรสั ทสี่ ามารถติดเชื้อได้ทั้งในมนุษยแ์ ละสัตว์ ปัจจุบนั มีการคน้ พบไวรสั สายพันธนุ์ ี้แลว้ ทั้งหมด 6 สายพันธุ์ ส่วนสายพนั ธ์ทุ ก่ี ำลังแพร่ระบาดหนักทั่วโลกตอนนี้ เปน็ สายพันธุท์ ีย่ งั ไมเ่ คยพบมากอ่ น คอื สายพนั ธ์ทุ ่ี 7 จึงถูก เรยี นกวา่ เปน็ “ไวรสั โคโรนาสายพันธุใ์ หม่” และในภายหลงั ถูกตง้ั ช่ืออย่างเป็นทางการวา่ “โควิด-19” (COVID- 19) ดงั น้ัน ไวรัสโคโรนาสายพนั ธใ์ุ หม่ และไวรัสโควิด-19 จึงหมายถึงไวรสั ชนิดเดยี วกนั ในส่วนของประเทศไทย โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) แถลงสถานการณ์ ตัวเลขผูต้ ดิ เช้ือโควิดรายวนั วา่ ตวั เลขยอดผ้ตู ิดเช้ือทัว่ โลกรวม 173,309,095 ราย เสยี ชวี ิตรวม 3,727,128 ราย (ขอ้ มลู ณ 5 กรกฎาคม 2564 สำนักขา่ ว คมชดั ลกึ ) สถานการณ์ผตู้ ดิ เชือ้ ในประเทศไทย จำนวนผูต้ ดิ เชอื้ สะสม 177,467 ราย ในประเทศมีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2,671 ราย เสียชีวิต 1,236 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 6 กรกฎาคม ๒๕๖๔ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข) จากสถานการณ์ดังกล่าว กศน.อำเภอทองแสนขัน ตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาวะอนามัยของ นักศึกษาที่อยู่ในพื้นที่อำเภอทองแสนขัน และเพื่อเป็นการช่วยเหลือสังคมในการสร้างความตระหนักที่ดีแก่ นักศึกษาให้เป็นส่วนหนึ่งในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน เป็นแบบอย่างที่ดี ในการส่งเสริมด้าน การเรียนรู้การทำเจลแอลกอฮอล์เพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคโควิด 19 แก่นักศึกษากศน.อำเภอทองแสนขัน เพื่อให้นักศกึ ษามีความรคู้ วาวมเขา้ ใจเกี่ยวกบั การป้องกนั ตนเองจากการแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโควดิ 19 สาย พันธุ์ใหม่ เพื่อนักศึกษามีตระหนักและเห็นความสำคัญของวัคซีนป้องกันโรคเชื้อไวรัสโควิด 19 และเพื่อให้ นกั ศกึ ษาสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อใหน้ ักศึกษามีความร้คู วาวมเข้าใจเก่ียวกับการป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โค วดิ 19 สายพันธใุ์ หม่ 2. เพ่อื นักศกึ ษามีตระหนักและเหน็ ความสำคัญของวคั ซนี ป้องกนั โรคเชื้อไวรสั โควิด 19 3. นักศึกษาสามารถนำความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ โครงการโครงการ นกั ศึกษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควิด 19 1

3. ขอบเขตของโครงการ เชิงปริมาณ นักศกึ ษา กศน.อำเภอทองแสนขนั จำนวน 60 คน - กศน.ตำบลป่าคาย จำนวน 15 คน - กศน.ตำบลน้ำพี้ จำนวน 15 คน - กศน.ตำบลบอ่ ทอง จำนวน 15 คน - กศน.ตำบลผักขวง จำนวน 15 คน เชงิ คณุ ภาพ 1. เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษามีความรคู้ วาวมเข้าใจเก่ยี วกบั การป้องกันตนเองจากการแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัส โควิด 19 สายพนั ธ์ุใหม่ 2. เพื่อนกั ศกึ ษามีตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของวัคซีนป้องกันโรคเช้ือไวรสั โควิด 19 3. นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ 4. ระยะเวลาดำเนินการ วันท่ี 30 กรกฎาคม 2564 พ.ศ.2564 5. สถานท่ี ณ กศน.ตำบลบ่อทอง กศน.ตำบลผักขวง กศน.ตำบลน้ำพี้ กศน.ตำบลป่าคาย อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอตุ รดิตถ์ 6. วงเงินงบประมาณ แผนงาน:ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัด การศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พน้ื ฐาน งบเงินอดุ หนุนท่วั ไป ค่าจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน จำนวน 11,200.- บาท 7. เครือ่ งมอื ทใ่ี ชเ้ ก็บรวบรวมข้อมลู - แบบสอบถามความพงึ พอใจ - แบบการสังเกตผรู้ ่วมกจิ กรรม โครงการโครงการ นักศกึ ษา กศน. ใสใ่ จ หา่ งไกล โควดิ 19 2

8. ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รับ นักศึกษามีความรู้ควาวมเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 สายพันธุใ์ หม่ เพ่ือนกั ศกึ ษามตี ระหนักและเหน็ ความสำคัญของวคั ซีนป้องกนั โรคเชื้อไวรสั โควิด 19 และเพ่ือให้ นักศกึ ษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ 9. เนื้อหาหลักสตู ร ▪ ใหค้ วามรู้เกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควิด 19 สายพันธใุ์ หม่ ▪ ใหค้ วามร้เู ก่ยี วกบั การฉดี วัคซีนป้องกนั โรคเชื้อไวรสั โควิด 19 ▪ อนั ตรายทเี่ กดิ กับร่างกายหากได้รบั เช้ือไวรสั โควิด 19 ▪ สาธิตและฝกึ การทำเจลแอลกอฮอล์ 10. นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ Coronavirus (Noun) หมายถึง เชื้อไวรัสโคโรนา ที่ก่อให้เกิดโรคทางเดินหายใจอย่างรุนแรงและ เฉยี บพลนั จนตอนนีไ้ ด้ชอ่ื อยา่ งเป็นทางการวา่ COVID-19 Social Distancing (Noun) หมายถึง การเว้นระยะห่างทางสังคม สร้างระยะห่างระหว่างตัวเราเอง กบั คนอนื่ ๆ ในสังคม ลดการออกนอกบา้ นโดยไม่จำเป็น เลีย่ งการใช้ขนสง่ สาธารณะ รวมถงึ ไมเ่ ข้าร่วมกิจกรรม รว่ มกบั ผอู้ ื่น Quarantine (Noun) หมายถงึ มาตรการป้องกันโดยการกักตวั เพือ่ ดูว่ามีอาการปว่ ยไหม มีเช้ือหรือ เปล่า และเปน็ การป้องกนั การแพร่กระจายของเช้อื ไวรัส โครงการโครงการ นักศกึ ษา กศน. ใสใ่ จ หา่ งไกล โควดิ 19 3

บทที่ 2 เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภาพจำลองภาคตดั ของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 มรี ายงานการระบาดของโรคปอดบวมในนครอู่ฮั่น ประเทศจีน ในวันท่ี 31 ธนั วาคม 2562 มกี ารระบวุ ่าการระบาดของโรคนี้เกิดจากเชื้อไวรสั โคโรนาสายพันธุใ์ หม่ซ่ึงได้รับช่ือชั่วคราวโดย องค์การอนามัยโลก (WHO) ว่าไวรัส 2019-nCoV ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นไวรัส SARS-CoV-2 โดย คณะกรรมการระหว่างประเทศว่าด้วยอนุกรมวิธานของไวรัส นักวิจัยบางคนแนะนำว่าตลาดอาหารทะเล หฺวาหนาน อาจไมใ่ ชแ่ หล่งทม่ี าของการแพร่เชือ้ ไวรสั สูม่ นุษย์ ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2563 มียอดสะสมของผู้เสียชวี ิตจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทั่วโลก จำนวน 2.16 ล้านราย และมียอดผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันแล้วว่าติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวนกว่า 100 ล้านราย ในการระบาดของโรคปอดอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์อู่ฮั่นถูกระบุว่าเป็นสายพันธุ์ใหม่ ของ เบตาไวรัสโคโรนา จากกลุ่ม 2 บี ที่มีความคล้ายคลึงกันทางพันธุกรรมประมาณ 70% กับ SARS- CoV ไวรัสมีความคล้ายคลึงกัน 96% กับไวรัสโคโรนาในค้างคาว ดังนั้นจึงเป็นที่สงสัยในวงกว้างว่าไวรัสมีต้น กำเนดิ ในคา้ งคาว ไวรัสโคโรนา หรือ โคโรนาไวรัส (อังกฤษ: coronavirus) เป็นกลุม่ ของไวรัสที่ทำให้เกดิ โรคในสัตว์เล้ียง ลูกด้วยนมและนก ในมนุษย์นั้นไวรัสโคโรนาทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจที่มีอาการได้ หลากหลาย ตั้งแต่มีอาการเพียงเลก็ น้อยไปจนถงึ เป็นอันตรายแก่ชีวิต โรคในมนุษย์จากการตดิ เชื้อไวรสั ในกลุ่ม นี้ส่วนใหญ่แสดงอาการเพียงเล็กน้อย เรียกว่า ไข้หวัด (ซึ่งเกิดจากเชื้อได้หลายกลุ่ม โดยเชื้ออื่นๆ ที่ทำให้เกิด ไข้หวัดได้ เชน่ ไรโนไวรสั เปน็ ต้น) แต่มีไวรสั ในกลุ่มน้บี างสายพนั ธ์ุท่อี าจทำให้เกิดโรครนุ แรง เช่น โรคซาร์ส โรค เมอร์ส และโควิด-19 เป็นต้น ในวัวและสุกรไวรัสนี้จะทำให้เกิดโรคท้องร่วง ส่วนในหนูจะทำให้เกิดโรคตับ อกั เสบและโรคสมองและไขสันหลงั อักเสบ โครงการโครงการ นกั ศกึ ษา กศน. ใสใ่ จ ห่างไกล โควดิ 19 4

ไวรัสโคโรนา ประกอบไปด้วยวงศ์ย่อย Orthocoronavirinae ในวงศ์ Coronaviridae ของอันดับ Nidovirales เป็นไวรัสทมี่ เี ปลือกห่อหุ้ม(Enveloped) มีสารพนั ธุกรรมเป็นชนดิ อาร์เอ็นเอ(Ribonucleic acid) โดยเป็นชนิดสายเดี่ยวนัยบวก และมีชั้นของนิวคลีโอแคพซิด (nucleocapsid) ลักษณะสมมาตรแบบบันไดวน หุ้มรอบกรดนิวคลิอิก ขนาดจีโนมของไวรัสโคโรนา อยู่ที่ประมาณ 27-34 กิโลเบส ซึ่งใหญ่ที่สุดในบรรดาอาร์ เอน็ เอไวรสั ทเี่ ปน็ ทรี่ ู้จัก ชื่อ \"coronavirus\" มาจากคำในภาษาละติน corona และภาษากรีก κορώνη ที่แปลว่ามงกุฎหรือ รัศมี ในที่นี้หมายถึงลักษณะของตัวไวรัสที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่มีผิวยื่นเป็นแฉก ๆ เหมือนกบั รศั มีของดวงอาทติ ย์ ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง 2 (อังกฤษ: severe acute respiratory syndrome coronavirus 2: SARS-CoV-2) หรือชื่อที่องค์การอนามัยโลกเคยใชค้ ือ ไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 (2019-nCoV) และชื่อลำลองที่ใช้เมื่อโรคจากไวรัสนี้เริ่มระบาดว่า \"ไวรัสโคโรนาอู่ฮั่น\" หรือ \"ไวรสั ปอดอกั เสบอู่ฮั่น\" เปน็ ไวรสั ตดิ ตอ่ ที่ทำให้เกิดการตดิ เชื้อทางเดนิ หายใจ ซ่ึงเป็นสาเหตุของการระบาด ของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปี พ.ศ. 2562–2563 การจัดลำดบั จีโนมแสดงใหเ้ ห็นว่า เป็น ไวรัสอาร์เอ็นเอชนิดสายเดี่ยว ที่มีลำดับสารพันธุกรรมเหมือนเอ็มอาร์เอ็นเอ (Positive-sense single- stranded RNA virus) มกี ารแจ้งกรณีตอ้ งสงสยั กรณแี รกใหอ้ งค์การอนามัยโลกทราบในวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ผู้ป่วยรายแรกมีอาการเจ็บป่วยปรากฏขึ้นเมื่อสามสัปดาห์ก่อนหน้านั้น คือ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ไวรัสได้รับการลำดับจีโนมหลังจากการทดสอบกรดนิวคลีอิกในตัวอย่างผู้ป่วยที่เป็นบวกในผู้ป่วยที่เป็น โรคปอดอกั เสบ ในชว่ งระหว่างการระบาดของไวรสั โคโรนา พ.ศ. 2562–2563 กรณีผู้ป่วยในช่วงแรกหลายกรณีมีความเชื่อมโยงกับตลาดขนาดใหญ่ซึ่งจำหน่ายอาหารทะเลและสัตว์ และเชือ้ ไวรัสน้ีเช่ือว่ามีต้นกำเนิดจากสัตว์การเปรยี บเทยี บลำดบั ทางพันธุกรรมของไวรสั น้ีและตัวอย่างไวรัสอ่ืน ได้แสดงความคล้ายคลึงกับ SARS (79.5%) และไวรัสโคโรนาในค้างคาว (96%) ซึ่งทำให้ต้นกำเนิดในค้างคาว เป็นไปได้มากท่สี ดุ ประวตั แิ ละการคน้ พบ ในวันที่ 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2562 สำนักงานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รับแจง้ อย่างเป็นทางการ จากทางการจีนว่ามีกรณีของโรคปอดบวมรุนแรงหลายกรณี ในนครอู่ฮั่นเกิดขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 จากสาเหตขุ องการติดเช้ือท่ีไมเ่ คยถูกตรวจพบมาก่อน เม่ือวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2563 มรี ายงานผปู้ ว่ ย 44 คน ต่อองค์การอนามัยโลก ซึ่งประกอบด้วยผู้ป่วยหนัก 11 รายและอีก 33 รายมีอาการทรงตัว ผู้ป่วยบางรายเป็น ผู้ขายหรือผู้ค้าในตลาดขายส่งปลาและอาหารทะเลหฺวาหนานในนครอู่ฮั่น หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบได้ทำการ ปดิ ตลาดเม่อื วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 โฆษกขององค์การอนามัยโลก กลา่ วในขณะน้ันว่ามีความเป็นไปได้ว่า แหล่งที่มาของการติดเชื้อจะพบได้ในตลาด ยังไม่พบการติดต่อจากคนสู่คน การประกาศดังกล่าวดึงดูดความ โครงการโครงการ นักศึกษา กศน. ใสใ่ จ ห่างไกล โควิด 19 5

สนใจทั่วโลก เพราะเป็นการย้อนความทรงจำของโรคระบาดซาร์สที่เกิดขึ้นในภาคใต้ของจีนในปี พ.ศ. 2545- 2546 ซึ่งมีผตู้ ดิ เชอื้ ในเวลานัน้ มากกวา่ 700 คนทัว่ โลก เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2563 นักวิทยาไวรัสชาวจีน สฺวี เจี้ยนกั๋ว รับผิดชอบในการระบุชนิดไวรัสได้ ประกาศว่าเชื้อโรคน้ันเป็นไวรัสโคโรนาชนิดใหม่ ซึ่งเป็นผลจากการทดสอบตัวอย่างเลือดและสารคัดหลัง่ ในคอ จากผู้ป่วย 15 ราย สิ่งนี้ได้รับการยืนยันในแถลงการณ์อย่างเป็นทางการจากองค์การอนามัยโลก ในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2563 และในวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 ลำดับจีโนมที่สมบูรณ์ของไวรสั โคโรนาชนิดใหม่ถูก บันทึกลงในฐานข้อมูล NCBI GenBank (หมายเลข GenBank MN908947) การบัญญตั ชิ อื่ ข้อเสนอแนะในการตั้งชื่อ เพื่อตั้งชื่อไวรัสตามนครอู่ฮั่นซ่ึงเป็นสถานที่ที่ไวรัสไดร้ บั การยืนยันครั้งแรกว่า ไวรัสโคโรนาระบบทางเดินหายใจอู่ฮั่น (WRS-CoV) ไม่ได้รับการพิจารณา เหตุผลหนึ่งที่เป็นไปได้ที่ได้รับจาก ผู้เชี่ยวชาญก็คือ การร้องเรียนในอดีตเมื่อไวรัสถูกตั้งชื่อตามแต่ละประเทศหรือภูมิภาค (ตัวอย่างเช่น ไวรัส โคโรนาสายพันธุ์กลุ่มอาการโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง MERS-CoV) ข้อมูลไวรัสได้ถูกรวมอยู่ใน ฐานข้อมูลอนุกรมวิธานของ NCBI (ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับชื่อไวรัสและการจำแนกประเภท) ภายใต้ชื่อ Wuhan seafood market pneumonia virus ในช่วงทีม่ ีการระบาดอย่างตอ่ เน่ือง การกล่าวโดยทั่วไปถึงไวรัสมักใช้คำสามัญคือ \"ไวรัสโคโรนา\", \"ไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่\" และ \"ไวรัสโคโรนาอู่ฮั่น\"[31][32] ในขณะที่องค์การอนามัยโลก ได้แนะนำการกำหนดช่ือ ของไวรสั ชั่วคราวคอื \"2019-nCoV\" ท่ามกลางความกงั วลว่าการไมม่ ชี ื่ออยา่ งเปน็ ทางการอาจนำไปสู่การใช้ช่ือที่ ไม่เป็นทางการที่มีอคติ ตามแนวปฏิบัติขององค์การอนามัยโลก ฉบับปี พ.ศ. 2558 คณะกรรมการระหว่าง ประเทศว่าด้วยอนุกรมวิธานของไวรัส (International Committee on Taxonomy of Viruses, ICTV) จะ เป็นผแู้ นะนำช่อื อยา่ งเปน็ ทางการทเี่ หมาะสมของไวรัส เมอ่ื วนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2563 องค์การอนามยั โลกได้ระบุช่ือของโรคท่ีเกดิ จากไวรสั น้ีว่า \"COVID- 19\" ซง่ึ ย่อมาจาก \"coronavirus disease 2019\" หรือ โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 และต่อมาในวันเดียวกัน (11 กุมภาพันธ์) คณะกรรมการระหว่างประเทศว่าด้วยอนุกรมวิธานของไวรสั (ICTV) ประกาศว่าตามกฎที่มีอยู่ซึ่งคำนวณความสัมพันธ์แบบสายลำดับชั้นของไวรัสโคโรนา บนพื้นฐานของ ลำดับของกรดนิวคลีอิกท่ีเหมือนกันห้าตำแหน่ง ทำให้ความแตกต่างของสายพันธุ์ (strain) ไวรัสสายพันธ์ุใหม่นี้ จาก สายพันธุ์ไวรัสจากการระบาดของโรคซาร์สในปี พ.ศ. 2546 ไม่เพียงพอที่จะทำให้เป็นสปีชีส์ของไวรัสที่ แยกจากกัน ดังนั้นคณะกรรมการจึงระบุว่า 2019-nCoV เป็นสายพันธุ์ของไวรัสโคโรนาที่เกี่ยวข้องกับโรค ทางเดนิ หายใจเฉยี บพลันรนุ แรง (SARS-CoV) โครงการโครงการ นักศกึ ษา กศน. ใสใ่ จ หา่ งไกล โควดิ 19 6

วิทยาการระบาด การติดเชอื้ ในมนษุ ย์ครัง้ แรกท่ีทราบกนั อยู่ในช่วงต้นเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 จดุ เริม่ ต้นการระบาดของ โรคที่เป็นที่ทราบเพียงแห่งเดียวถูกโยงไปยังตลาดอาหารทะเลหฺวาหนาน ในนครอู่ฮั่นประเทศจีนในช่วง กลางเดือนธันวาคม ซง่ึ อาจเริ่มจากสตั ว์ทต่ี ิดเช้ือเพยี งตวั เดียว ในเวลาต่อมาไวรัสดงั กล่าวแพร่กระจายไปยังทุก จังหวัดของประเทศจีน และมากกว่ายี่สิบประเทศในเอเชีย , ยุโรป, อเมริกาเหนือ และโอเชียเนีย การแพรก่ ระจายจากคนสคู่ นได้รบั การยนื ยนั ในประเทศจนี , เยอรมน,ี ไทย, เวยี ดนาม, ญีป่ ุ่น และสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2563 การระบาดของไวรัส SARS-CoV-2 ได้รับการกำหนดให้เป็นภาวะ ฉุกเฉินด้านสุขภาพระดับโลกโดยองค์การอนามัยโลก (WHO) จนถึงปัจจุบันประมาณหนึ่งในห้าของผู้ป่วย ที่ได้รับการวินิจฉัยอยู่ในภาวะวิกฤต เกือบทุกกรณีนอกประเทศจีนเกิดขึ้นกับคนที่เดินทางจากนครอู่ฮั่น หรือ ติดต่อสมั ผัสกับคนทีเ่ ดนิ ทางจากพื้นทีโ่ ดยตรง การติดต่อ การแพร่เชื้อของไวรัสโคโรนาจากคนสู่คนนั้น เกิดจากการสัมผัสใกล้ชิดผ่านทางเดินหายใจที่เกิดจากการจาม และการไอ นายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร นา 2019 (ศบค.) แถลงสถานการณ์ตัวเลขผู้ติดเชื้อโควดิ รายวนั ว่าตัวเลขยอดผู้ติดเชื้อทัว่ โลกรวม 93,529,253 ราย เสียชีวิตแล้ว 2,002,347 ราย โดยอันดับของประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 128 ของโลกจากจำนวนผู้ติดเชื้อ สะสม 11,450 ราย ในประเทศมีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 188 ราย ติดในประเทศ 154 ราย รวมติดเชื้อสะสมใน ประเทศ 11,450 ราย มีผู้เสียชีวิตสะสมยังอยู่ที่ 69 คน(ข้อมูล ณ วันที่ 15 มกราคม 2564 แถลงการ ศูนย์บรหิ ารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019) โครงการโครงการ นักศึกษา กศน. ใสใ่ จ ห่างไกล โควดิ 19 7

บทที่ 3 ขั้นตอนและวธิ ีการดำเนนิ งาน การดำเนนิ งานโครงการ วธิ ีดำเนนิ การ การดำเนินการ โครงการ นักศึกษา กศน. ใส่ใจ ห่างไกล โควิด 19 โดยศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทองแสนขัน ได้มอบหมายให้ นางสาวพัชรินทร์ มาบุญ ครูผู้ช่วย กศน. อำเภอทองแสนขัน เป็นผู้ดำเนินการในการจัดทำโครงการ และรับผิดชอบโครงการ โดยมีครู กศน.ตำบล ทั้ง 4 ตำบล นำนกั ศึกษาเขา้ รว่ มโครงการดังกลา่ วใหเ้ ป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย (P)การประชมุ วางแผนการจดั กจิ กรรม 1. สำรวจความต้องการ โดยการสำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ีอำเภอ ทองแสนขนั จึงไดจ้ ดั ใหม้ กี ารจัด โครงการ นกั ศึกษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควิด 19 2. ประสานภาคเี ครือข่าย 2.1 ประสานไปยังผู้นำชุมชนเพื่อประชาสัมพันธ์การจัดการศึกษาการจัดกิจกรรม วัน เวลา และสถานที่ 2.2 ประสานอาสาสมคั ร กศน.ประชาสมั พนั ธ์โครงการ 3. เสนอขออนุมตั ิโครงการ 4. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนินงานการจดั โครงการ นกั ศกึ ษา กศน. ใส่ใจ ห่างไกล โควดิ 19 5. แต่งตง้ั วทิ ยากร: โครงการ นกั ศกึ ษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควิด 19 (D) ดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการ 1. ดำเนินการจดั กิจกรรม - ลงทะเบียน 2. วิทยากรให้ความรู้ตามเน้อื หาการเรยี นรขู้ องโครงการ (C)นิเทศ ติดตาม /ประเมินผลการ 1. การติดตามประเมนิ ผลโครงการ โดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดังนี้ - แบบสอบถามความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มลงทะเบียน 2. ประเมนิ ผลการมคี วามรูข้ องผู้เรียนจากการสมั ภาษณ์ แบบทดสอบ และตดิ ตามผเู้ รยี น 3. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การประเมนิ ความพึงพอใจ มี 2 สว่ น ดงั น้ี ส่วนที่ 1. ข้อมูลท่วั ไป สว่ นท่ี 2. ข้อมลู ดา้ นความพงึ พอใจต่อการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ดำเนินการวิเคราะห์ขอ้ มลู เชิงปริมาณ (เชงิ สถติ ิ) ใชค้ ่าความถ่ี รอ้ ยละคา่ เฉล่ยี โดยใช้เกณฑ์ดงั น้ี ค่าเฉลีย่ 4.51-5.00 หมายถึง ระดบั ความพงึ พอใจดีมาก คา่ เฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถงึ ระดับความพึงพอใจดี คา่ เฉลีย่ 2.51-3.50 หมายถึง ระดับความพึงพอใจพอใช้ โครงการโครงการ นกั ศึกษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควดิ 19 8

คา่ เฉล่ีย 1.51-2.50 หมายถงึ ระดบั ความพึงพอใจปรบั ปรุง คา่ เฉล่ยี 1.00-1.50 หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจปรบั ปรุงเร่งดว่ น (A)สรปุ และรายงานผล รายงานผลการสรปุ การจดั โครงการ นักศึกษา กศน. ใส่ใจ ห่างไกล โควดิ 19 มรี ายละเอียด ทง้ั 5 บท นำข้อเสนอแนะ และควรปรับปรุงพัฒนาไปจัดทำแผน หลักการและเหตุผลของโครงการ ในปงี บประมาณถัดไป โครงการโครงการ นกั ศึกษา กศน. ใส่ใจ ห่างไกล โควดิ 19 9

บทท่ี 4 ผลการดำเนินการ ผลการดำเนินกจิ กรรมครั้งนี้ ผปู้ ระเมินไดเ้ สนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ดงั น้ี การวเิ คราะห์ข้อมูลการประเมนิ รายงานผล การจดั โครงการ นักศกึ ษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควดิ 19 จากการ สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจและศึกษาความพึงพอใจของ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม พร้อมทั้งสำรวจข้อมูลเบื้องต้นของผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม โดยหาคา่ เฉลย่ี โดยใช้เกณฑด์ ังน้ี ค่าเฉลีย่ 4.51-5.00 หมายถงึ ระดับความพึงพอใจดีมาก ค่าเฉล่ีย 3.51-4.50 หมายถึงระดบั ความพงึ พอใจดี คา่ เฉลย่ี 2.51-3.50 หมายถึงระดบั ความพึงพอใจพอใช้ คา่ เฉลย่ี 1.51-2.50 หมายถึงระดบั ความพึงพอใจปรับปรุง คา่ เฉล่ยี 1.00-1.50 หมายถึงระดับความพงึ พอใจปรบั ปรุงเร่งดว่ น วเิ คราะห์ขอ้ มูลแยกตามเพศ คอื 1 หมายถึง เพศชาย 2 หมายถงึ เพศหญงิ วิเคราะห์ข้อมลู แยกตามอายุ คอื 1 หมายถงึ อายุ ตำ่ กวา่ 20 ปี 2 หมายถงึ อายุ 21-30 ปี 3 หมายถึง อายุ 31-40 ปี 4 หมายถึง อายุ 41-50 ปี 5 หมายถงึ อายุ 50 ปีขึ้นไป วิเคราะหข์ อ้ มูลแยกตามระดบั การศกึ ษา 1 หมายถึง ประถม 2 หมายถึง มธั ยมศึกษาตอนต้น 3 หมายถงึ มธั ยมศึกษาตอนปลาย วเิ คราะห์ข้อมูลแยกตามอาชีพ คือ 1 หมายถงึ เกษตรกรรม 2 หมายถึง พนักงานบริษทั 3 หมายถึง ลูกจ้างสว่ นราชการ 4 หมายถึง ค้าขาย/ธรุ กิจส่วนตวั 5 หมายถงึ อื่นๆ โครงการโครงการ นกั ศกึ ษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควิด 19 10

การกำหนดคะแนนแบบสำรวจ เป็นมาตรสว่ นประเมินคา่ โดยแบ่งคะแนนดังน้ี ดมี าก คะแนนเทา่ กบั 5 ดี คะแนนเท่ากับ 4 พอใช้ คะแนนเท่ากบั 3 ปรับปรุง คะแนนเท่ากบั 2 ปรับปรุงเรง่ ด่วน คะแนนเท่ากับ 1 การนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป ข้อมูลผู้รบั บรกิ าร ส่วนท่ี 2 ด้านความพึงพอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป ข้อมูลผ้รู ับบริการ(แบบประเมนิ ความพึงพอใจ) ตารางที่ 1 จำแนกตามเพศ เพศ จำนวนคน ร้อยละ ชาย 27 39.71 หญงิ 41 60.29 รวม 68 100.00 จากตารางแสดงว่า โดยจำนวนผูต้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 41 คน คดิ เปน็ ร้อย ละ 60.29 และเปน็ เพศชาย จำนวน 27 คน คิดเปน็ ร้อยละ 39.71 ตามลำดบั เพศ ชาย หญิง ชาย หญิง โครงการโครงการ นกั ศึกษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควดิ 19 11

ตารางท่ี 2 จำแนกตามอายุ จำนวนคน ร้อยละ 23 33.82 อายุ 20 29.41 อายุ ต่ำกวา่ 20 ปี 8 11.76 อายุ 21-30 ปี 12 17.65 อายุ 31-40 ปี 5 7.35 อายุ 41-50 ปี อายุ 50 ปีขน้ึ ไป 68 100.00 รวม จากตารางพบว่า ผู้ตอบแบบสอบส่วนใหญ่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 34.33 รองลงมาอายุระหว่าง 21-30 จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 29.58 รองลงมาอายุ 41-50 ปีจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 17.91 รองลงมาอายุระหวา่ ง 31-40 ปจี ำนวน 8 คน คดิ เป็นร้อยละ 11.94 และอายุ 50 ปีขึ้นไป จำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.35 ตามลำดบั จาแนกตามอายุ 25 20 8 12 5 0 20 23 21-30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี 50 ปีขนึ้ ไป 15 10 5 0 ต่ากวา่ 20 ปี ตารางท่ี 3 แยกตามระดับการศึกษา ระดบั การศกึ ษา จำนวนคน ร้อยละ ประถมศึกษา 4 5.89 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 22 32.35 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 42 61.76 อน่ื ๆ (สูงกว่า) - - รวม 68 100.00 โครงการโครงการ นักศึกษา กศน. ใส่ใจ ห่างไกล โควิด 19 12

จากตารางพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 61.76 รองลงมาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 32.35 รองลงมาระดับประถมศึกษา จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5.89 และ อื่นๆ (สูงกว่าม.ปลาย) จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ - ตามลำดบั จาแนกระดบั การศกึ ษา 50 40 ื่ชอแกน 30 20 10 0 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย อ่ืนๆ จาแนกระดบั การศกึ ษา 4 22 42 0 ตารางท่ี 4 แยกตามอาชีพ จำนวนคน รอ้ ยละ อาชีพ 29 42.64 1 1.47 เกษตรกร 5 7.35 พนักงานบรษิ ทั 8 11.76 ลูกจ้างสว่ นราชการ 25 36.76 คา้ ขาย/ธรุ กจิ สว่ นตวั 68 100.00 อ่นื ๆ(รับจ้างท่วั ไป) รวม จากตารางพบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร จำนวน 29 คน คิดเป็น ร้อยละ 42.64 รองลงมา ประกอบอาชีพประกอบอาชีพอื่นๆ (รับจ้างทั่วไป) จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 36.76 ประกอบอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 11.76 และ ลูกจ้างส่วนราชการ จำนวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 7.35 และพนักงานบริษัท จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.47 ตามลำดบั โครงการโครงการ นกั ศึกษา กศน. ใสใ่ จ ห่างไกล โควดิ 19 13

35 จาแนกอาชีพ 25 30 25 29 158 20 15 10 5 0 จาแนกอาชีพ ส่วนที่ 2 ความพงึ พอใจของผู้เรียน/ผูร้ บั บริการเก่ยี วกบั การดำเนนิ โครงการ รายการ ระดับความพึงพอใจ รอ้ ยละ ระดบั ด้านการบรหิ ารจดั การ รปู แบบการฝกึ อบรม 82.12 ดีมาก หลกั สูตรทใี่ ชใ้ นการฝกึ อบรม 78.87 ดี สอ่ื และเอกสารทใ่ี ช้ในการฝึกอบรม 80.56 ดมี าก กำหนดการอบรมมีความเหมาะสม 79.44 ดี วิทยากรสามารถถา่ ยทอดความร้เู รื่องท่อี บรม 82.22 ดีมาก สถานทีใ่ ช้ในการอบรม 81.11 ดีมาก ด้านการจัดกิจกรรม 82.19 ดมี าก กระบวนการเรยี นรู้ วิธกี ารจัดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 86.11 ดมี าก ระยะเวลาในการทำกจิ กรรม 81.11 ดีมาก ผูเ้ รียนสามารถเรียนรู้ไดต้ ามความต้องการ 86.67 ดมี าก ด้านความรูค้ วามเข้าใจ กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของเชื้อ 75.56 ดี ไวรสั โควดิ 19 สายพนั ธใ์ุ หม่ กจิ กรรมใหค้ วามรู้เกีย่ วกบั การฉีดวคั ซนี ป้องกันโรคเช้ือไวรสั โควดิ 19 81.67 ดีมาก กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายที่เกิดกับร่างกาย หากได้รับเชื้อไวรัส 81.11 ดมี าก โควดิ 19 กิจกรรมการเรียนร้กู ารทำเจลแอลกอฮอล์ 86.55 ดีมาก โครงการโครงการ นักศกึ ษา กศน. ใสใ่ จ ห่างไกล โควดิ 19 14

ดา้ นประโยชน์ทไ่ี ด้รับ มีความรู้ควาวมเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาด 80.00 ดมี าก ของเช้ือไวรัสโควดิ 19 สายพนั ธุ์ใหม่ ดีมาก ตระหนกั และเห็นความสำคัญของการเฝา้ ระวงั โรคโควิค 19 80.22 ดีมาก ดมี าก สามารถนำความร้ไู ปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ 81.89 ภาพรวม 82.26 จากแบบสอบถามความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการ 1. รูปแบบการฝึกอบรม จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น รอ้ ยละ 82.12 ระดับ ดีมาก 2. หลักสูตรทใี่ ช้ในการฝึกอบรม จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น รอ้ ยละ 78.87 ระดับ ดี 3. สื่อและเอกสารทีใ่ ช้ในการฝึกอบรม จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ 80.56 ระดับ ดีมาก 4. กำหนดการอบรมมีความเหมาะสม จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเปน็ รอ้ ยละ 79.44 ระดบั ดี 5. วิทยากรสามารถถา่ ยทอดความรเู้ ร่อื งท่ีอบรม จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น รอ้ ยละ 82.22 ระดบั ดมี าก 6. สถานทใี่ ชใ้ นการอบรม จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น รอ้ ยละ 81.11 ระดบั ดมี าก 7. กระบวนการเรียนรู้ จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น รอ้ ยละ 82.19 ระดับ ดมี าก 8. วธิ ีการจดั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ 86.11 ระดับ ดีมาก โครงการโครงการ นกั ศึกษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควดิ 19 15

9. ระยะเวลาในการทำกจิ กรรม จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น รอ้ ยละ 81.11 ระดบั ดีมาก 10. ผเู้ รยี นสามารถเรยี นร้ไู ดต้ ามความตอ้ งการ จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ 86.67 ระดบั ดีมาก 11. กิจกรรมการเรยี นรูส้ ถานการณ์โรคโควิค 19 จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ 75.56 ระดับ ดี 12. กจิ กรรมการเรยี นรแู้ นวทางการเฝ้าระวังโรคโควิค 19 จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้ารว่ มโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ 81.67 ระดบั ดีมาก 13. กิจกรรมการเรียนรู้ จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น รอ้ ยละ 81.11 ระดับ ดีมาก 14. กจิ กรรมการเรียนรู้การทำเจลแอลกอฮอล์ จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ 86.55 ระดับ ดมี าก 15. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโรคโควิค 19 จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ 80.00 ระดบั ดีมาก 16. ตระหนักและเหน็ ความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคโควิค 19 จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น รอ้ ยละ 80.22 ระดับ ดีมาก 17. สามารถนำความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ จากการสุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 68 คน ให้คะแนนระดับความพึงพอใจคิดเป็น รอ้ ยละ 81.89 ระดับ ดมี าก ภาพรวมของโครงการคิดเปน็ ค่าเฉลย่ี 81.616 ระดับดีมาก โครงการโครงการ นักศกึ ษา กศน. ใสใ่ จ หา่ งไกล โควดิ 19 16

เกณฑก์ ารประเมนิ กำหนดกำหนดระดบั ความพงึ พอใจไว้ดังนี้ ระดับความพึงพอใจรอ้ ยละ 80 – 100 ดมี าก ระดับความพงึ พอใจรอ้ ยละ 70 – 79.99 ดี ระดับความพึงพอใจร้อยละ 60 – 69.99 พอใช้ ระดบั ความพึงพอใจร้อยละ 1 – 59.99 ปรบั ปรุง โครงการโครงการ นกั ศึกษา กศน. ใสใ่ จ หา่ งไกล โควิด 19 17

บทท่ี 5 สรปุ อภิปราย และข้อเสนอแนะ การสรปุ ผลการดำเนินงานในครั้งน้ีเป็นการศึกษาความพงึ พอใจของนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าร่วม กิจกรรมโครงการ นักศึกษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควดิ 19 สรุปผล ได้ดงั น้ี ความมุง่ หมายของการสรุปโครงการ 1. เพอ่ื ให้นักศึกษามีความรู้ควาวมเข้าใจเกยี่ วกับการป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โค วิด 19 สายพันธใ์ุ หม่ 2. เพอ่ื นกั ศึกษามตี ระหนกั และเห็นความสำคัญของวคั ซีนป้องกนั โรคเชื้อไวรัสโควดิ 19 3. นกั ศึกษาสามารถนำความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ สรุปผล/อภปิ รายผล จากการดำเนินกิจกรรมนักศึกษากศน.อำเภอทองแสนขัน มีความรู้เกี่ยวกับป้องกันตนเองจาก การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์ใหม่ รู้ตระหนักและเห็นความสำคัญของวัคซีนป้องกันโรคเช้ือ ไวรัสโควิด 19 สามารถทำเจลแอลกอฮอล์เพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคโควิด 19 สามารถนำความรู้ไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั ของตนเองได้ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะดังนี้ ผู้บริหารได้เชิญบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกคนประชุมปรึกษาหารือและรายงาน ความก้าวหนา้ ของงานที่ไดร้ ับมอบหมายให้ทุกฝ่ายไปดำเนนิ การต่อที่ประชุมเพื่อทุกฝา่ ยจะได้ประสานงานและ เชือ่ มงานท่รี ับผดิ ชอบของแต่ละงาน, กิจกรรมไดอ้ ย่างต่อเน่ือง กอ่ นวันเร่มิ ดำเนินการกจิ กรรม 4 วนั ผลปรากฏ ว่าทุกฝ่ายได้ทำงานร่วมกัน ประสานงานกันอย่างราบรื่น ทำให้การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ กำหนดไว้ โครงการโครงการ นักศึกษา กศน. ใสใ่ จ หา่ งไกล โควดิ 19 18

ภาคผนวก โครงการโครงการ นกั ศึกษา กศน. ใสใ่ จ หา่ งไกล โควดิ 19 19

เอกสารอ้างอิง วกิ พิ เี ดยี สารานุกรมเสรี เรอ่ื ง โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 คน้ เมื่อ 9 มีนาคม 2564 https://th.wikipedia.org/wiki/ โครงการโครงการ นกั ศกึ ษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควดิ 19 20

ทีป่ รึกษา คณะผจู้ ัดทำ 1. นายวินยั ปิ่นอินทร์ ผอู้ ำนวยการกศน.อำเภอเมืองอตุ รดิตถ์ รกั ษาการในตำแหน่ง ผูจ้ ัดทำข้อมูล ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทองแสนขนั 1. นางสาวพชั รินทร์ มาบุญ 2. นางดวงพร โพธศ์ิ รี ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย 3. นางญานิศา เนตรบญุ ตำแหน่ง ครู อาสาสมัคร กศน. 4. นายนพพร อว่ มสั้น ตำแหนง่ ครู อาสาสมัคร กศน. 5. นางสาวพรี ญา พรมผา ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล 6. นางสาวรตั น์นรี คงเพชร ตำแหนง่ ครู กศน. ตำบล 7. นางสาวกฤษณา แหยมคง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล 8. นางสาวรุ่งรวี เพชรรกั ษ์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล 9. นางสาวรงุ่ รวี เพชรรกั ษ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล 10. นางสาวเกตฤุ ทยั จำนงนารถ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล 11. นางสาวพรทิพย์ สมนำ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล ตำแหนง่ บรรณารักษ์ ผู้เขียนและผเู้ รียบเรยี ง 1. นางสาวพชั รนิ ทร์ มาบญุ ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย ผจู้ ัดทำ/ผ้พู ิมพ/์ รปู เลม่ ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กศน.อำเภอทองแสนขนั 1. นางสาวพชั รินทร์ มาบญุ โครงการโครงการ นักศึกษา กศน. ใสใ่ จ หา่ งไกล โควิด 19 21

โครงการโครงการ นกั ศกึ ษา กศน. ใส่ใจ หา่ งไกล โควิด 19 22