Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า

โครงการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า

Description: โครงการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า

Search

Read the Text Version

ชื่อโครงการ โปรแกรมระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การสินค้า (กรณีศึกษางานสวัสดกิ ารวทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุร)ี นางสาวณิชนันทน์ ทองประไพ นางสาวกรรวี พูลพฒั น์ โครงการนเ้ี ปน็ ส่วนหน่ึงของวชิ าโครงการ รหัสวิชา 3204 - 8501 หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) สาขาวชิ า คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561 วิทยาลัยเทคนคิ จันทบุรี สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก

โครงการ : โปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการสินคา้ (กรณีศกึ ษางานสวสั ดกิ ารวทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบุรี) ผ้จู ัดทาโครงการ : นางสาวณชิ นนั ทน์ ทองประไพ : นางสาวกรรวี พลู พัฒน์ ครูที่ปรกึ ษา : นางจิรวรรณ มะลาไสย : นางพีรญา ดุนขุนทด : นางสาววาสนา ดสิ สร สาขาวิชา : คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 บทคดั ยอ่ โครงการโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า(กรณีศึกษางานสวัสดิการ วทิ ยาลัยเทคนคิ จนั ทบรุ )ี มีวัตถุประสงค์เพอ่ื สรา้ งโปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสินค้า ได้มี การนาโปรแกรม Editplusโปรแกรมนี้มี Feature ต่างๆ ที่จะช่วยในการอานวยความสะดวกสาหรับ การเขียนหรือแก้ไข CGI สคริปตต์ า่ ง ๆ สามารถนาไปเป็นผลงานตัวอย่างเพ่ือให้รุ่นน้องรุ่นต่อ ๆ ไปได้ ศึกษาหาความรู้และนาไปดัดแปลงเพื่อใช้ประโยชน์ในงานอ่ืน ๆ เพ่ือหาความพึงพอใจของการสร้าง โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินคา้ ได้ ผู้ขายสามารถควบคุมการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้าโดยการเพ่ิม รายการสินค้าเข้าไปและนักศึกษาก็สามารถทาการส่ังซ้ือสินค้าได้ด้วยเช่นกัน และในด้านการศึกษา สามารถนาไปศึกษาเพอ่ื ใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ หรือนาไปดัดแปลงเพื่อใช้ประโยชน์ในการทางาน อ่ืน ๆ ได้ ความคิดเห็นทมี่ ตี ่อโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า(กรณีศึกษางานสวัสดิการ วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี) ในภาพรวมอยู่ในระดับดี ได้ค่าเฉลี่ย 4.22 (S.D.=1) เมื่อพิจารณาแยกเป็น รายข้ออยู่ในระดับดี โดยข้อท่ีได้ค่าเฉลี่ยมากที่สุดมี 4 ข้อ ได้แก่ ลาดับท่ี 1 ลดความซ้าซ้อนของ ขั้นตอนการทางาน ได้ค่าเฉล่ีย 4.50 (S.D.= 0.57) ลาดับท่ี 2 เพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน รวดเร็วขึ้น ได้ค่าเฉล่ีย 4.50 (S.D.= 0.57) ลาดับท่ี 3 ช่วยในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการ ประมวลผลข้อมูลในการจัดทารายงาน ได้ค่าเฉล่ีย 4.50 (S.D.= 0.57) ลาดับที่ 4 ตรงตาม วตั ถปุ ระสงค์ทีต่ ้องการ 4.50 (S.D.= 0.57) ก

Project : Program for product managing project (Chanthaburi technical college’s warfare case study) By : Miss. Nichanan Tongprapai : Miss. Kornrawee Poonpat Consultants Teacher : Mrs. Jirawan Malasai : Mrs. Peeraya Dunkuntod : Miss. Wansana Disson Major : Business Computer 1 st semester of academic year 2018 Abstract information system program for product managing project (Chanthaburi technical college’s warfare case study) this project has the objective to make information system program for product managing by apply editplus program to this system because it has a lot of feature that can help you to write or edit CGI script easily and you can use it to be example product for next generation to be the knowledge and apply to another project for satisfaction of information system program for product managing Saller can control this system by add catalog to the program also the student can order the product. In education you can learn about it in your free time or you can apply for your another work. Information system program for product managing project (Chanthaburi technical college’s warfare case study) Overall of this system that is in good rating ,average of 4.22 (S.D. = 1). We consider to each list that is in good level by the most of average is in 4 list which are 1st easy to work in average of 4.50 (s.d. = 0.57) , 2nd quickly work in average of 4.50 (s.d. 0.57) , 3rd easy to make a data collection and processing report in average of 4.50 (s.d. 0.57), 4th it follow to objective of the project in average of 4.50 (s.d. 0.57)

กิตติกรรมประกาศ ในการทาโครงการโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า ขอขอบคุณครู จิรวรรณ มะลาไสย และคุณครูทุกท่าน ท่ีให้ความอนุเคราะห์ คอยให้คาปรึกษาให้ความสะดวกในการทา โครงการโปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสินคา้ และขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการทา โครงการ ขอบคุณเพื่อนๆ ทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนคาแนะนาท่ีเป็นประโยชน์ในการทา โครงการ ทา้ ยทีส่ ุดขอกราบขอบพระคุณ คณุ พ่อและคุณแม่ ทเ่ี ปน็ ผใู้ ห้กาลังใจและให้โอกาสการศึกษา อนั มีคา่ ยง่ิ คณะผู้จัดทาโครงการโปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสินค้า ขอขอบพระคุณทุก ท่านอย่างสูงท่ีให้การสนับสนุน เอ้ือเฟ้ือและให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือ จนกระท้ังโครงการ โปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสนิ คา้ สาเร็จลลุ ว่ งได้ด้วยดี คณะผ้จู ัดทา 2561 ข

สารบัญ หนา้ ก บทคดั ย่อ ข กิตตกิ รรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบัญ (ตอ่ ) จ สารบัญภาพ ฉ สารบัญตาราง 1 บทที่ 1 บทนา 1 1 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 4 1.3 ขอบเขตการวิจัย 4 1.4 ขอ้ จากัด(ถา้ มี) 4 1.5 สมมตฐิ านการวิจยั (ถา้ มี) 5 1.6 คาจากดั ความทใ่ี ชใ้ นงานวจิ ัย 6 1.7 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รับ 6 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง 6 2.1 ความรู้เกีย่ วกบั ภาษาคอมพวิ เตอร์ 7 2.2 โปรแกรม Editplus 8 2.3 AppServ 8 2.4 MySQL 8 2.5 PHP 9 2.6 HTML 10 2.7 ทฤษฎีเกี่ยวกับการประเมนิ ความพึงพอใจ 11 2.8 กรอบแนวคิดในการวิจยั 2.9 งานวิจัยทเี่ กยี่ วข้อง ค

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 12 บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ งานวิจัย 12 3.1 แผนภาพกระแสข้อมูล 14 3.2 ER-Diagram Model 15 3.3 DataDictionary 16 16 บทที่ 4 ผลการวจิ ัย 25 4.1 โปรแกรมจัดการพัสดุ 29 4.2 สรปุ ผลการวิเคราะห์แบบสอบถาม 29 29 บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ัยอภิปรายและข้อเสนอแนะ 30 5.1 สรุปผลการดาเนินงาน 30 5.2 อภิปราย 31 5.3 ปัญหาและอปุ สรรค 5.4 ขอ้ เสนอแนะ 33 46 บรรณานกุ รม 53 ภาคผนวก 71 88 ภาคผนวก ก แบบเสนอขออนุมตั ิโครงการ 95 ภาคผนวก ข สตอร่บี อร์ด ภาคผนวก ค ระยะเวลาความคืบหนา้ ภาคผนวก ง Code PHP และ HTML ภาคผนวก จ ความพงึ พอใจของผูเ้ ชี่ยวชาญ ประวตั ิผู้วิจยั ง

สารบญั ภาพ ภาพที่ หน้า 2-1 หน้าตา่ งที่กาลังทาการเขยี น Java Script 7 2-2 แผนผงั ตัวแปรอสิ ระและตวั แปรตาม 10 3-1 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) Level Context Diagram ของ level0 12 3-2 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) Level Data Flow Diagram ของ level1 13 3-3 ER-Diagram โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การสินค้า 14 4-1 หนา้ Login 16 4-2 หน้าหลกั 16 4-3 หนา้ เลอื กสินคา้ เพื่อสั่งซ้ือสนิ คา้ 17 4-4 หน้าการส่ังซ้ือสนิ ค้า 17 4-5 หนา้ บันทึกการสงั่ ซ้ือสนิ ค้าของลูกค้า 18 4-6 หน้าแสดงขอ้ มูลลูกค้าท่สี งั่ ซ้ือสนิ ค้า 18 4-7 หน้าการแกไ้ ขข้อมลู รายชอื่ ผู้สง่ั สนิ คา้ 19 4-8 หนา้ การบันทกึ แก้ไขข้อมลู เรยี บรอ้ ยแล้ว 19 4-9 หน้าตรวจสอบข้อมลู รายชือ่ ท่ีบนั ทึกเรียบรอ้ ยแลว้ 20 4-10 หนา้ ลบข้อมลู รายชอ่ื ผู้สง่ั สินคา้ 20 4-11 หน้าลบรายช่อื ผ้สู ัง่ สนิ ค้าเรียบรอ้ ย 21 4-12 หน้าสินคา้ ท่ีขายออกไป 21 4-13 หน้าแก้ไขสนิ คา้ ที่ขายออกไป 22 4-14 หน้าการบนั ทึกแก้ไขสนิ ค้าขายออกไปเรยี บร้อยแล้ว 22 4-15 หน้าตรวจสอบขอ้ มูลรายช่ือที่บันทึกเรียบรอ้ ยแล้ว 23 4-16 หน้าลบข้อมลู สินค้าที่ขายออกไป 23 4-17 หนา้ ลบขอ้ มูลสนิ คา้ ท่ีขายออกไปเรยี บรอ้ ย 24 4-18 หนา้ แสดงเลขท่ีสนิ ค้า 24 จ

สารบญั ตาราง หนา้ 15 ภาพที่ 15 3-1 ตารางการออกแบบตารางขอ้ มลู useradmin 15 3-2 ตารางการออกแบบตารางข้อมูล product 15 3-3 ตารางการออกแบบตารางข้อมูล orders 25 3-4 ตารางการออกแบบตารางข้อมูล order_details 25 4-1 แสดงรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกขอ้ ตามเพศ 26 4-2 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกอายุ 26 4-3 แสดงร้อยละของตอบแบบสอบถาม จาแนกระดบั การศึกษาสูงสุด 4-4 แสดงรอ้ ยละของตอบแบบสอบถาม จาแนกสถานภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม 27 4-5 ตารางสรปุ แบบสอบถามความคิดเห็นของครูท่ีปรกึ ษาโครงการและเจ้าหน้าที่ หอ้ งสวสั ดิการ ฉ

1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ในปัจจุบันการสต๊อกเส้ือผ้าในแต่ละร้านค้าและสถาบันการศึกษา เริ่มมีการนาเทคโนโลยีมา ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ถ้าการจัดเกบ็ ข้อมูลน้ันใชร้ ะบบเดมิ คือระบบเอกสารที่ใช้เก็บบันทึกในกระดาษหรือ ในโปรแกรม Microsoft office Excel อาจทาให้เกิดการสูญหายหรือเสียหายของข้อมูลได้ง่าย และ หากมีข้อมูลเป็นจานวนมากจะทาให้ค้นหาและการแก้ไขมีความล่าช้าและยากลาบากอีกทั้งไม่เป็น ระบบระเบียบ เพราะเส้ือผ้ามีความหลากหลายและมีจานวนมากทาให้ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้อย่าง ทวั่ ถงึ การค้นหาขนาดเสอ้ื ผ้าและจานวนเส้อื ผา้ นกั เรยี น-นกั ศกึ ษา อาจทาให้ไมท่ ราบจานวนของเส้ือผ้า ที่มีอยู่และเกดิ การสับสนในการหาเส้ือผ้าได้ “Editplus” คือโปรแกรม text editor ตัวหน่ึง คล้ายกับโปรแกรม Dreamweaver Notepad (ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นท้ังโปรแกรมสาเร็จรูปในการสร้างเว็บเพจด้วย) ที่ใช้ในการพัฒนา สคริปต์โปรแกรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเขียนและแก้ไข Source code ในการสร้างเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML,PHP,Java เปน็ ต้น เปน็ tools ท่รี ันบน windows เท่าน้นั ดังน้ันคณะผู้จัดทาจึงได้มีแนวคิดที่จะนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการ ดาเนินงานดังกล่าว จึงได้มีการจัดทาโครงการ เร่ือง โปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสินค้า (กรณีศึกษางานสวัสดิการวิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี) โครงการน้ีจัดทาข้ึนเพื่ออานวยความสะดวกแก่ ผู้ขาย ใหส้ ามารถดาเนินงานตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 1.2 วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย 1.2.1 เพ่ือสร้างโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การสนิ ค้า 1.2.2 เพ่ือหาความพงึ พอใจของการสรา้ งโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การสินคา้ 1.3 ขอบเขตการวจิ ยั 1.3.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 1.3.1.1 ประชากร คอื เจา้ หน้าทหี่ ้องสวัสดกิ าร วิทยาลยั เทคนิคจันทบรุ ี 1.3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง คอื อาจารย์ทีป่ รกึ ษาโครงการและเจ้าหนา้ ที่สวัสดิการ จานวน 4 คน

2 1.3.2 ตวั แปรที่ศกึ ษา 1.3.2.1 ตัวแปรต้น คือ โปรแกรม เร่ือง ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า (กรณีศกึ ษางานสวสั ดกิ ารวิทยาลัยเทคนิคจนั ทบุรี) 1.3.2.2 ตัวแปรตาม คอื ผูใ้ ช้งานมีความพึงพอใจต่อโปรแกรม เร่ือง ระบบสารสนเทศเพื่อ การจดั การสินค้า(กรณีศกึ ษางานสวัสดกิ ารวิทยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี) 1.3.3 เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในโครงการ 1.3.3.1 เคร่ืองคอมพิวเตอร์ Intel Core i7-6500U CPU @ 3.10GHz (RAM) 4.00GB System Type 32-bit Operating System 1.3.3.2 โปรแกรม Editplus 1.3.3.3 โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 1.3.4 วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1.3.4.1 ศกึ ษาและรวบรวมข้อมูล 1.3.4.2 จัดทาโปรแกรม เรื่อง ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า(กรณีศึกษางาน สวสั ดิการวิทยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี) 1.3.4.3 อาจารย์ท่ปี รึกษาโครงการและเจ้าหนา้ ทห่ี ้องสวัสดิการทดลองใชโ้ ปรแกรม 1.3.4.4 นาแบบสอบถามความพงึ พอใจให้ผูใ้ ช้งานไดล้ งความคิดเหน็ 1.3.4.5 เก็บรวบรวมแบบสอบถามทัง้ หมดและนามาประมวลผลใหส้ มบูรณต์ อ่ ไป 1.3.5 สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู 1.3.5.1 การสร้างแบบสอบถามความคดิ เห็นในการใช้งานโปรแกรม แบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้งานโปรแกรม ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมานี้เป็นแบบ ประเมินท่ียึดตาม หลักเกณฑ์การประเมนิ ของ Likert Scale ซึ่งมขี น้ั ตอนสร้างดงั นี้ 1.3.5.1.1 รวบรวมข้อมูลและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดแนวทาง ทางการสร้างแบบสอบถามความคิดเหน็ ในการใช้งานโปรแกรม 1.3.5.1.2 สรา้ งแบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้งานโปรแกรม โดยมีตัวเลือก 5 ตัวเลือก 5 ระดับ คือ พงึ พอใจระดบั มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย และนอ้ ยทสี่ ุด 1.3.5.2 การวิเคราะหข์ อ้ มูล ข้อมูลท่ีได้จากการเก็บรวบรวม นามาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ และทาการประมวลผล ด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสแปรดชีส ซง่ึ ใชส้ ถติ ิในการวเิ คราะห์ ดังน้ี 1.3.5.2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณ (Quantitative data) คณะผู้วิจัย ดาเนนิ การวิเคราะห์ ข้อมูลท่ไี ดร้ ับจากแบบประเมินคุณภาพ และแบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้ งานโปรแกรม แบบมาตราส่วนประมาณค่า ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) เพ่ือหา

3 คา่ สถติ ิพ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ ความถ่ี (Frequency) คา่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ียเลขคณิต (Mean)และ ค่าเบ่ียงเบน มาตรฐาน (Standard deviation) เพื่ออธิบายลักษณะข้อมูลท่ัวไปของกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึง นาเสนอในรปู ตารางประกอบคาอธบิ าย 1.3.5.2.2 เกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การแปลความหมายสาหรับข้อมูลแบบ มาตราสว่ น ประมาณคา่ (Rating Scale) คณะผ้วู ิจัยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนของลิเคอร์ทไวด้ งั นี้ 1) แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการใชง้ านแอพพลเิ คชั่น เกณฑก์ ารให้คะแนนการประเมนิ คุณภาพแอพพลิเคช่นั 5 หมายถึง ดมี าก 4 หมายถงึ ดี 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารให้ค่ารับระดบั คะแนนคณุ ภาพของแอพพลเิ คชัน่ 4.50-5.00 หมายถึง ดมี าก 3.50-4.49 หมายถงึ มาก 2.50-3.49 หมายถงึ ปานกลาง 1.50-2.49 หมายถึง น้อย 1.00 -1.49 หมายถึง ปรังปรุง 2) แบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้งานโปรแกรม เกณฑก์ ารให้คะแนนความคดิ เหน็ ในการใช้งานโปรแกรม 5 หมายถงึ มากทส่ี ดุ 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถึง นอ้ ย 1 หมายถงึ นอ้ ยที่สดุ เกณฑ์การแปลความหมายคา่ เฉลยี่ ของคะแนนไวด้ งั น้ี 4.50-5.00 หมายถึง มากทสี่ ดุ 3.50-4.49 หมายถึง มาก 2.50-3.49 หมายถงึ ปานกลาง 1.50-2.49 หมายถงึ น้อย 10.5-1.49 หมายถึง นอ้ ยท่สี ุด

4 3) สถิตทิ ่ีใช้วเิ คราะห์ข้อมูล - ค่าเฉล่ีย (̅) ̅=∑ - คา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( s ) √∑ ( ̅) เม่อื ̅ แทน คะแนนเฉลยี่ S แทน คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน xi แทน คะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาคนท่ี i n แทน จานวนนักศึกษาในกลมุ่ ตวั อยา่ ง 1.4 ข้อจากัด(ถา้ มี) ยงั ไมส่ ามารถลงโปรแกรมในServerและAndroidได้ 1.5 สมมติฐานการวิจยั (ถ้ามี) 1.5.1 โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การสินค้า มคี ุณภาพอยใู่ นระดบั ดี 1.5.2 ผู้ใชง้ านโปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการสนิ ค้า มคี วามพงึ พอใจต่อโปรแกรมใน ระดบั มาก 1.6 คาจากดั ความท่ใี ชใ้ นงานวิจัย 1.6.1 โปรแกรม (Program) คือ ชุดคาส่ังที่เป็นระบบข้ันตอนส่ังงานให้คอมพิวเตอร์ทางานซึ่ง โปรแกรมท่ีจะใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้น้ัน จะต้องเขียนด้วยภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและสามารถ ปฎิบัติตามได้ เรียกภาษาท่ึใช้ส่ังคอมพิวเตอร์น้ีว่า “ภาษาคอมพิวเตอร์” โดยผลลัพธ์จะได้ตามความ ต้องการ ซ่ึงกฎเกณฑ์ต่างๆท่ีควบคุมการเขียนโปรแกรม คือ ภาษาโปรแกรม (Programming Language ) โดยคนที่มีอาชีพด้านน้ี จะเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (Programmer) ผู้เขียนโปรแกรม จะรับข้อกาหนดของโปแกรมจากนักวิเคราะห์ และดาเนินการเขียนโปรแกรมให้ตรงตามข้อกาหนด นน้ั ๆ

5 1.6.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program) คอื คาส่งั หรอื ชดุ คาสั่งที่เขียนข้ึนมาเพ่ือสั่ง ให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทางานตามที่เราต้องการ เราจะให้คอมพิวเตอร์ทาอะไรก็เขียนเป็นคาสั่งซ่ึงต้อง ส่ังเปน็ ข้ันตอนและแต่ละขั้นตอนต้องทาอย่างละเอียดและครบถ้วน ซ่ึงจะเกิดเป็นงานชิ้นหนึ่งขึ้นมามี ช่ือเรยี กว่า \"โปรแกรม\" 1.6.3 ฐานข้อมูล (Database) คือ กลุ่มของข้อมูลท่ีถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซ่ึงกัน และกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล 1.7 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 1.7.1 ไดโ้ ปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินคา้ 1.7.2 สารวจความพงึ พอใจของผ้ใู ช้งาน 1.7.3 เพ่มิ ช่องทางการเรยี นรู้ให้มีความหลากหลายมากขึ้น

6 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับ โปรแกรมระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า (กรณีศึกษางานสวัสดิการวิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี) ในครั้งน้ี ผทู้ าการวจิ ัยได้ทาการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง กบั งานวิจัยในครั้งนี้ โดยสามารถแบ่งเป็น หวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ไดต้ ่อไปน้ี 2.1 ความร้เู กีย่ วกบั ภาษาคอมพวิ เตอร์ 2.2 โปรแกรม Editplus 2.3 AppServ 2.4 MySQL 2.5 PHP 2.6 HTML 2.7 ทฤษฎีเก่ยี วกบั การประเมนิ ความพึงพอใจ 2.8 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั 2.9 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 2.1 ความร้เู ก่ียวกบั ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Language) คือ ชุดคาสั่งที่ นกั เขียนโปรแกรม หรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) เขียนโปรแกรมซอร์สโค้ด (Source Code) ท่ี ถกู ต้องตามหลักไวยากรณ์ของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้สามารถติดต่อส่ือสาร ควบคุมการ รบั ส่งข้อมูลและสั่งใหค้ อมพวิ เตอรท์ างานตามทนี่ ักเขยี นโปรแกรมตอ้ งการได้ ซึ่งภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนั้น มีหลายภาษาให้เลือกใช้งาน ข้ึนอยู่กับความ ถนดั หรอื ความสามารถของนกั พฒั นาโปรแกรม (Programmer) ทจ่ี ะเลอื กใช้ภาษาโปรแกรมให้เหมาะ กับโปรแกรมหรือเหมาะสมกับงานที่จะนาไปใช้ เช่น ภาษา C, ภาษา ASP, ภาษา Delphi, ภาษา HTML เปน็ ตน้ 2.2 โปรแกรม Editplus EditPlus คือ โปรแกรมประเภท Text Editor ท่ีรันบนระบบปฏิบัติการ Windows 32 Bits และโปรแกรมนี้เป็นโปรแกรมท่ีมีประสิทธิภาพเหนือกว่าโปรแกรม Notepad ที่ให้มากับโปรแกรม Windows และโปรแกรมน้ีสามารถ Edit ได้เช่น HTML ASP JavaScript VBScript Perl Java

7 C/C++; URL E-Mail Address Highlighting Activating โปรแกรมน้ีมี Feature ต่างๆ ที่จะช่วยใน การอานวยความสะดวก โปรแกรม Editor สาหรับการเขียนหรือแก้ไข CGI สคริปต์ต่าง ๆ ASP PHP Java VB Script ขอ้ ดีของ Editplus 2.2.1 สามารถใช้กบั ภาษาไทยได้ 2.2.2 แยกคาสั่งต่างๆ ด้วยการแสดงสีท่ีไม่เหมือนกัน ทาให้เราสามารถตรวจสอบได้ง่ายว่า เราพิมพผ์ ิดทค่ี าสง่ั ไหน 2.2.3 สามารถทาตัวเองเปน็ ได้ด้วย (IE 5.XX Compatible) 2.2.4 เมื่อเขียนเว็บด้วยภาษา HTML เสร็จแลว้ สามารถดกู ารแสดงผลได้เลยทันที โดยใช้ 2.2.5 เปิดไฟล์ไดท้ ีละหลายๆไฟล์พรอ้ มกนั 2.2.6 สามารถค้นหาและแทนที่ (Find & Replace) ข้อความเดียวกันได้ทีละหลายๆไฟล์ พร้อมกนั 2.2.7 สามารถค้นหาข้อความที่ต้องการ ว่าปรากฏอยู่ในไฟลไ์ หนบา้ ง ในไดเรคทอรี่เดยี วกนั ภาพที่ 2-1 หนา้ ต่างท่ีกาลงั ทาการเขียน Java Script 2.3 AppServ AppServ คือโปรแกรมท่ีรวบรวมเอา Open Source Software หลายๆ อย่างมารวมกัน โดยมี Package หลักดังนี้ Apach, PHP, MySQL, phpMyAdmin โปรแกรมต่างๆ ท่ีนามารวบรวม ไว้ท้ังหมดนี้ ได้ทาการดาวน์โหลดจาก Official Release ทั้งส้ิน โดยตัว AppServ จึงให้ความสาคัญ ว่าทุกสิ่งทุกอย่างจะต้องให้เหมือนกับต้นฉบับ จึงไม่ได้ตัดทอนหรือเพิ่มเติมอะไรท่ีแปลกไปกว่า Official Release แต่อย่างได้ เพียงแต่มีบางส่วนเท่าน้ันท่ีเราได้เพิ่มประสิทธิภาพการติดต้ังให้

8 สอดคล้องกับการทางานแต่ละคน โดยท่ีประสิทธิภาพนี้ไม่ได้ไปยุ่ง ในส่วนของ Original Package เลยแม้แต่น้อยเพียงแต่เป็นการกาหนดค่า Config เท่านั้น เช่น Apache ก็จะเป็นในส่วนของ httpd.conf, PHP ก็จะเป็นในส่วนของ php.ini, MySQL ก็จะเป็นในส่วนของ my.ini ดังนั้นเราจึง รบั ประกันไดว้ า่ โปรแกรม AppServ สามารถทางานและความเสถียรของระบบ ได้เหมือนกับ Official Release ทั้งหมด 2.4 MySQL MySQL คือ โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล ท่ีพัฒนาโดยบริษัท MySQL AB มีหน้าท่ีเก็บ ข้อมูลอย่างเป็นระบบ รองรับคาส่ัง SQL เป็นเครื่องมือสาหรับเก็บข้อมูล ท่ีต้องใช้ร่วมกับเครื่องมือ หรือโปรแกรมอื่นอย่างบูรณาการ เพื่อให้ได้ระบบงานท่ีรองรับความต้องการของผู้ใช้ เช่นทางาน ร่วมกับเคร่ืองบริการเว็บ Web Server เพื่อให้บริการแก่ภาษาสคริปต์ท่ีทางานฝ่ังเครื่องบริการ Server-Side Script เช่น ภาษา PHP ภาษา APS.NET หรอื ภาษาเจเอสพี เป็นตน้ หรือทางานรว่ มกับ โปรแกรมประยุกต์ เช่น Visual Basic.NET, Java หรือภาษาC# เป็นต้น โปรแกรมถูกออกแบบให้ สามารถทางานได้บนระบบปฏิบัติการที่หลากหลาย และเป็นระบบฐานข้อมูลโอเพนทซอร์ท ที่ถูก นาไปใชง้ านมากท่สี ดุ 2.5 PHP PHP ย่อมาจาก PHP Hypertext Preprocessor คือ ภาษาคอมพิวเตอร์จาพวก Scripting language ภาษาจาพวกน้ีคาสั่งต่างๆจะเก็บอยู่ในไฟล์ท่ีเรียกว่า Script และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัว แปรชุดคาส่ัง ตวั อยา่ งของภาษาสคริปก็เช่น JavaScript , Perl เป็นต้น ลักษณะของ PHP ที่แตกต่าง จากภาษาสครปิ ต์แบบอื่นๆ คือ PHP ได้รับการพัฒนาและออกแบบมาเพ่ือใช้งานในการสร้างเอกสาร แบบ HTML โดยสามารถสอดแทรกหรือแก้ไขเน้ือหาได้โดยอัตโนมัติ ดังน้ันจึงกล่าวว่า PHP เป็น ภาษาที่เรียกว่า Server-Side หรือ HTML-Embedded Scripting language นั้นคือในทุกๆ ครั้ง ก่อนที่เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งให้บริการเป็น Web Server จะส่งหน้าเว็บเพจที่เขียนด้วย PHP ให้เรา มันจะทาการประมวลผลตามคาสั่งท่ีมีอยู่ให้เสร็จเสียก่อน แล้วจึงค่อยส่งผลลัพธ์ท่ีได้ให้เรา ผลลัพธ์ที่ ได้นัน้ กค็ ือเว็บเพจท่ีเราเหน็ นน่ั เอง 2.6 HTML HTML ย่อมาจาก Hypertext Markup Language เป็นภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ที่มี โครงสร้างการเขียนโดยอาศัยตัวกากับ Tag ควบคุมการแสดงผลข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุ อ่ืน ๆ ผา่ นโปรแกรม Browser แตล่ ะ Tag อาจจะมีส่วนขยาย เรียกว่า Attribute สาหรับระบุ หรือควบคุม

9 การแสดงผล ของเว็บได้ด้วย HTML เป็นภาษาท่ีถูกพัฒนาโดย World Wide Web Consortium จากแม่แบบของภาษา SGML (Standard Generalized Markup Language) โดยตัดความสามารถ บางส่วนออกไป เพ่อื ให้สามารถทาความเข้าใจและเรยี นรูไ้ ด้งา่ ย HTML เป็นภาษาประเภท Markup สาหรับการการสร้างเว็บเพจ โดยใช้ภาษา HTML สามารถทาโดยใช้โปรแกรม Text Editor ต่างๆ เช่น Notepad, Editplus หรือจะอาศัยโปรแกรมท่ี เป็นเคร่ืองมือช่วยสร้างเว็บเพจ เช่น Microsoft FrontPage, Dream Weaver ซึ่งอานวยความ สะดวกในการสร้างหน้า HTML สว่ นการเรียกใช้งานหรอื ทดสอบการทางานของเอกสาร HTML จะใช้ โปรแกรม Web Browser เช่น (IE), Mozilla Firefox, Safari, Opera, และ Netscape Navigator เป็นต้น 2.7 ทฤษฎีเก่ยี วกับการประเมนิ ความพึงพอใจ จากการศึกษาค้นคว้างานเอกสารและแนวคดิ ทฤษฎที ่เี ก่ยี วขอ้ งกบั ความพึงพอใจ และมีผู้วิจัย หลายท่าน ได้ให้ความหมายแนวคดิ และทฤษฎี ไวด้ งั นี้ ค่าเฉลี่ย คือ เป็นค่ากลางชนิดหน่ึงซึ่งมาจากการนาผลรวมของสมาชิกทุกตัวมาหารด้วย จานวนสมาชิกในชุดข้อมูล ค่าเฉลี่ยเป็นค่ากลางท่ีผู้คนนิยมใช้มากที่สุด คุณสามารถนามันมาใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั ได้อยา่ งหลากหลาย ค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน คือ เป็นการวัดการกระจายแบบหน่ึงของกลุ่มข้อมูล สามารถ นาไปใชก้ ับการแจกแจงความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม ประชากร หรือมัลติเซต สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ ขอ้ มูล วธิ ีการหาคา่ เฉล่ียและคา่ ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน - คา่ เฉลีย่ = - ค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( s ) เมอ่ื แทน คะแนนเฉลย่ี S แทน คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน

10 xi แทน คะแนนความพงึ พอใจของนักศึกษาคนท่ี i n แทน จานวนนักศกึ ษาในกลุ่มตวั อย่าง อทุ ัย พรรณสุดใจ (2545) ได้กล่าวถึง ความพึงพอใจว่า เป็นความรู้สึกรักชอบยินดีเต็มใจ หรือมีเจตคติที่ดีของบุคคลต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ความพอใจจะเกิดเมื่อได้รับตอบสนองความต้องการ ทั้ง ด้านวัตถุและด้านจิตใจ ความพึงพอใจเป็นเร่ืองเก่ียวกับอารมณ์ ความรู้สึก และทัศนะของบุคคล อัน เนื่องมาจากส่ิงเร้าและสิ่งจูงใจ โดยอาจเป็นไปในเชิงประเมินค่า ว่าความรู้สึกหรือทัศนคติต่อ ส่ิง เหล่านั้น เป็นไปในทางลบหรอื บวก กชกร เป้าสุวรรณ และคณะ (2550) ได้กล่าวถึง ความหมายของความพึงพอใจว่า สิ่งท่ี ควรจะเป็นไปตามความต้องการ ความพึงพอใจเป็นผลของการแสดงออกของทัศนคติของบุคคลอีก รูปแบบหน่ึง ซ่ึงเป็นความรู้สึกเอนเอียงของจิตใจท่ีมีประสบการณ์ที่มนุษย์เราได้รับอาจจะมากหรือ น้อยก็ได้ และเป็นความรู้สึกท่ีมีต่อส่ิงใดสิ่งหน่ึง ซึ่งเป็นไปได้ท้ังทางบวกและทางลบ แต่ก็เมื่อได้สิ่ง น้ัน สามารถตอบสนองความต้องการหรือทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ ก็จะเกิดความรู้สึกบวก เป็น ความรู้สึกท่ีพึงพอใจ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าส่ิงน้ันสร้างความรู้สึกผิดหวัง ก็จะทาให้เกิดความรู้สึก ทางลบ เป็นความรูส้ กึ ไม่พึงพอใจ 2.8 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม เพศ ระดับความพึงพอใจ อายุ ระดบั การศกึ ษา สถานภาพ ดา้ นประสิทธิภาพ ดา้ นการออกแบบ ดา้ นประโยชน์ ภาพท่ี 2-2 แผนผังตัวแปรอิสระและตวั แปรตาม

11 2.9 งานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง ธนินทร์ น้อยรังศรี และคณะ(2538) ได้ศึกษาการสร้างระบบจัดการงานบารุงรักษา เครื่อง(PMMS) เป็นระบบฐานข้อมูลและโปรแกรมที่สามารถใช้จัดการข้อมูลเครื่องจักรอะไหล่ การ ซ่อมบารงุ เคร่ืองจักรและงานบารุงรักษาเครอ่ื งจกั ร โดยสามารถนาไปใชก้ บั โรงงานบริษัท หรือ องค์กร ใดๆ ท่ีมีเคร่ืองจักรในความดูแลจานวนมากPMMSออกแบบมาให้ มีคุณสมบัติในการจัดเก็บและ จดั การขอ้ มลู อย่างมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมและถูกต้องตามหลักการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (RDBMS)สาหรับการทางานในส่วนติดต่อผู้ใช้จะเป็นระบบแผงเมนูแบบปุ่มกด(Switch Button Panel )ในการเข้าไปยังส่วนงานต่างๆและกลับออกมาได้อย่างรวดเร็ว โดยฟอร์มท่ีใช้ประกอบด้วย ส่วนบน ท่ีมีระบบสืบค้นข้อมูล หลากหลายรูปแบบให้เลือกใช้สวนเนื้องานมีฟิลด์รบตามลักษณะงาน พร้อมท้ังมีการเตรียมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับระบบงานไว้ให้เลือกเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการจัดเก็บ และจัดการเก็บขอ้ มลู ในทุกส่วนงาน สว่ นล่างมีปุ่มควบคุมการใช้งานท่ัวไปให้ใช้เพ่ือเสริมความสะดวก PMMSยังสามารถนาเสนอเป็นรูปรายงานบนหน้าจอหรือให้ออกทางเครื่องพิมพ์ได้หลายรูปแบบ รวมท้ังมีสรุปผลข้อมูลท่ีช่วยนาไปวิเคราะห์เชิงการจัดการและบริหารได้ในรูปของเวลา ค่าใช้จ่ายท่ี สูญเสียไปอกี ดว้ ย ธนากร รักแจ้ง และรุ่งเรือง สมอหา(2554) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นระบบที่พัฒนาจากโปรแกรม Microsoft SQL Server 2008 และAdobe Dreamweaver CS4 ซ่ึงโปรแกรมน้ีในส่วนของการแจ้งครุภัณฑ์ชารุด จะสามารถแจ้งได้จาก User ที่เข้ามาใช้งานระบบ เมื่อ User กรอก ID ของครุภัณฑ์ที่ชารุด ระบบจะทาการดังข้อมูลเก่ียวกบครุภัณฑ์น้ันมาแสดงให้ User และให้ทาการกรอกรายละเอียดเพิ่มเติมในส่วนต่างๆเช่น อาการ วันเวลา เป็นต้น ระบบจะทา การ จัดเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูลของระบบ โดยข้อมูลของครุภัณฑ์จะถูกดึงมาจากฐานข้อมูลของ ระบบครภุ ณั ฑ์ ธีรเดช เขมะธีรรัตน์วิศิษฐ์ โชติอุทยางกูร และสุทิศา จรี ยานุวัฒน์(2552) สาขา เทคโนโลยี สารสนเทศมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทรเ์ ปน็ ระบบทพ่ี ัฒนาจากโปรแกรม Fedora Core6, PHP, Apache และ MySQL ซ่ึงโปรแกรมน้ีระบบจะทาการบันทึกการแจ้งซ่อมลงในระบบพร้อมกับ ส่ัง ข้อความไปเพ่ิมรายการที่ Google Calendar ของเจ้าหน้าฝ่ายซ่อมบารุง จากน้ัน Google Calendar จะทา การ SMS แจ้งเตือนไปยงั มอื ถอื ของเจา้ หน้าท่ีฝา่ ยซ่อมบารุงโดยจะส่งเฉพาะ E-mail และเบอรโ์ ทรศัพท์เทา่ น้นั

12 บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนินงานวจิ ัย ในการจดั ทาโครงการ โปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสินค้า เป็นโครงการประเภท การอานวยความสะดวก (ส่ิงประดิษฐ์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต, ส่ิงประดิษฐ์เพื่อการประกอบอาชีพ, ส่งิ ประดิษฐ์ประเภทผลิตภัณฑ์สาเร็จภาพ และสิ่งประดิษฐ์เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน) โดย คณะ ผู้จัดทาไดด้ าเนนิ งานและไดท้ าการวิเคราะห์ระบบโดยแบ่งออกเปน็ ข้อๆ ดงั นี้ 3.1 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) ในการจัดทาโครงการ “โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า” นี้ได้มีการกาหนด กระแสของข้อมูลไวด้ ังนี้ 3.1.1 Context Diagram ขอ้ มลู ลูกคา้ 0 ขอ้ มลู การขายสินคา้ Admin ขอ้ มลู สินคา้ ลูกคา้ ขอ้ มูลการสัง่ ซอ้ื สินคา้ โปรแกรมระบบ สารสนเทศเพือ่ การ ขอ้ มูลการสัง่ ซือ้ ขอ้ มลู ลูกคา้ จัดการสนิ ค้า ภาพที่ 3-1 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) Level Context Diagram ของ level0 จากภาพที่ 3-1 กระแสของข้อมูลเริ่มต้นจากเจ้าหน้าที่ป้อนข้อมูลพัสดุในระบบฐานข้อมูล พัสดุ และเจา้ หนา้ ทป่ี ้อนข้อมลู พัสดุ การเบิก การสัง่ ซ้ือในระบบพสั ดุ จากนั้นครูก็ทารายงานการเบิก พสั ดใุ นระบบพสั ดุ

13 3.1.2 Data Flow Diagram ขอ้ มูลการขายสนิ คา้ ขอ้ มูล Admin ข้อมลู สนิ คา้ รายละเอยี ดขอ้ มลู Admin 1 รายละเอยี ดขอ้ มูลสินคา้ ลูกคา้ ข้อมูลสัง่ ซอื้ สินค้า Admin การขายสนิ ค้า ขอ้ มลู การขายสินคา้ รายละเอยี ดขอ้ มลู สนิ คา้ D1 ข้อมูลสนิ ค้า D2 ข้อมูลการขายสินคา้ ชือ่ สินค้าและราคาสนิ ค้า ขอ้ มูลการขายสินค้า รายละเอยี ดการขายสินค้า Admin เลือกสนิ ค้าขาย 2 เลอื กสนิ คา้ รายละเอียดขอ้ มูลสนิ คา้ D1 ข้อมลู สินค้า ช่อื สินคา้ และราคาสนิ คา้ D2 ขอ้ มลู การขายสนิ คา้ ขอ้ มลู การขายสินค้า รายละเอียดการขายสินค้า ข้อมลู การสง่ั ซือ้ สนิ คา้ ขอ้ มูลลกู คา้ ขอ้ มลู สินคา้ Admin เลอื กสง่ั สินคา้ 3 รายละเอียดส่งั สินคา้ ลูกคา้ ส่ังซ้อื สนิ คา้ รายละเอียดขอ้ มูลสินคา้ D1 ขอ้ มลู สินค้า D2 ขอ้ มลู การขายสนิ ค้า ชือ่ สินคา้ และราคาสนิ ค้า D3 ข้อมูลลกู ค้า ข้อมลู การขายสินค้า รายละเอยี ดการขายสินค้า ข้อมูลสั่งซ้อื สินคา้ รายละเอียดขอ้ มูลลกู คา้ ภาพที่ 3-2 แผนภาพกระแสข้อมลู (Data Flow Diagram) Level Data Flow Diagram ของ level 1 จากภาพท่ี 3-2 กระแสของขอ้ มูลเรม่ิ ต้นลกู ค้าสง่ั สนิ ค้า และให้ Admin สัง่ สินค้าท่ลี ูกค้าต้องการ และบนั ทึกการสงั่ ซ้ือสนิ ค้าของลูกคา้

3.2 ER-Diagram Model Admin 14 Login Admin_id Product firstname Product_id Login_id lastname product_code username address product_name password phone product_desc firstname product_img_name lastname product_price Customer Orders cus_id orders_id cus_code order_date cus_name order_fullname cus_address order_address cus_phone order_phone Detail_Orders Detail_Orders_id order_detail_quantity order_detail_price product_id order_id ภาพท่ี 3-3 ER-Diagram โปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การสินคา้

15 3.3 DataDictionary ตารางที่ 3-1 ตารางการออกแบบตารางขอ้ มลู useradmin 3.3.1 ตารางข้อมูล useradmin ประกอบด้วย user ผู้ใช้งาน รหัสผ่าน ช่ือผู้ใช้งาน นามสกลุ ผใู้ ช้งาน ซึง่ มี id คยี ห์ ลัก (Primary Key) ตารางท่ี 3-2 ตารางการออกแบบตารางข้อมลู product 3.3.2 ตารางข้อมูล product ประกอบด้วย รหัสสินค้า ช่ือสินค้า ไซต์สินค้า รูปภาพสินค้า และราคาสนิ คา้ ซ่งึ มี id เปน็ คีย์หลัก (Primary Key) ตารางที่ 3-3 ตารางการออกแบบตารางข้อมลู orders 3.3.3 ตารางข้อมูล orders ประกอบด้วย วันที่สั่งซ้ือสินค้า รายช่ือลูกค้าที่สั่งสินค้า ที่อยู่ ลกู คา้ และ เบอรโ์ ทรศพั ท์ลูกคา้ ซงึ่ มี id เปน็ คียห์ ลัก (Primary Key) ตารางท่ี 3-4 ตารางการออกแบบตารางข้อมลู order_details 3.3.4 ตารางข้อมูล order_details ประกอบด้วย จานวนที่สั่งซ้ือสินค้า ราคาสินค้าท่ีสั่ง รหสั สินค้า และรหัสลูกคา้ ซ่งึ มี id เป็นคยี ห์ ลัก (Primary Key)

16 บทท่ี 4 ผลการวจิ ยั กกกกกกกกผลการดาเนินงานโปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสินค้า(กรณีศึกษางาน สวสั ดิการวทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบุรี) ซึ่งผู้ศึกษาได้ดาเนินการเสร็จส้ินเป็นโครงการตามวัตถุประสงค์ ซ่ึง มีผลการดาเนินงานดงั นี้ 4.1กโปรแกรมจดั การพัสดุ 4.1.1กกหนา้ ล็อคอิน การเข้ารหัสให้ทาการพิมพ์ Username และ Password ท่ีถูกต้องและ กดปมุ่ Login ภาพทก่ี 4-1 หน้า Login 4.1.2กกหนา้ หลัก เมอื่ เข้ารหัสผา่ นเรียบร้อยแล้ว ระบบก็จะเปล่ียนเป็นหน้าหลักสินค้าของ ระบบคือหน้ารายการสินค้า ทีม่ ี รหัสสินค้า ชื่อสินคา้ รายละเอยี ด ราคา ดงั ภาพ ภาพที่ก4-2 หนา้ หลัก

17 4.1.3 ให้เลือกสินค้าท่ีต้องการส่ังท่ีปุ่มเลือกสินค้า เม่ือเลือกเสร็จแล้ว จะมีข้อความขึ้นว่า “เพ่ิมสินค้าลงในเลือกสินค้าเรียบร้อยแล้ว” เม่ือเพ่ิมแล้วจะมีตัวเลขจานวนสินค้าที่ส่ัง เพ่ิมในเลือก สนิ ค้า ดงั ภาพ ภาพที่ 4-3 หน้าเลอื กสนิ ค้าเพอ่ื ส่งั ซ้ือสินคา้ กกกกกกกก4.1.4 หน้าต่างการเลือกสินค้า เมื่อเลือกสินค้าท่ีต้องการส่ังซ้ือแล้ว ให้มาท่ีหน้าเลือก สินค้า เพอื่ ดูว่าสินค้าท่ีส่ังซ้ือ ตรงที่ต้องการหรือไม่ หากต้องการเพิ่มจานวนต่อช้ิน ให้พิมพ์จานวนที่ ช่องจานวนแล้วคานวณราคาใหม่ที่ปุ่ม “คานวณราคาสินค้าใหม่” และกดไปที่ปุ่ม “ส่ังซื้อสินค้า” ดัง ภาพ ภาพทกี่ 4-4 หนา้ การสั่งซื้อสนิ ค้า

18 4.1.5 เมื่อส่ังซ้ือสินค้าเรียบร้อยแล้ว หน้าต่างน้ีจะเด้งมา ให้กรอกข้อมูลลูกค้าท่ีส่ังซ้ือ โดย มี ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ หลังจากนั้นให้กดไปที่ปุ่ม “บันทึกการสั่งซื้อ” เพื่อเก็บข้อมูล ลูกค้า ดงั ภาพ ภาพทก่ี 4-5กกหน้าบันทกึ การส่ังซ้อื สินค้าของลูกค้า 4.1.6 เม่ือสง่ั ซอ้ื บนั ทกึ ข้อมูลลกู ค้าเสรจ็ ข้อมลู ที่บนั ทึกจะเดง้ มาทห่ี นา้ รายชือ่ ผสู้ ั่งสนิ ค้า รายละเอยี ดจะประกอบไปด้วย เลขผสู้ ่งั ซอื้ ช่ือ-นามสกุล ทอี่ ยู่ เบอร์โทรศพั ท์ และวันท่ีสั่งซื้อดังภาพ ภาพทก่ี 4-6กกหน้าแสดงข้อมลู ลกู ค้าทส่ี งั่ ซื้อสนิ ค้า

19 4.1.7 หน้าการแก้ไขมูลของรายชื่อผู้ส่ังสินค้า ในกรณีท่ีลูกค้ากรอกรายชื่อผิด หรือเบอร์ โทรศัพท์ผิด ให้แก้ไขได้ที่ปุ่มแก้ไข แล้วจะเด้งมาหน้าน้ีดังภาพ ในกรอกข้อมูลใหม่ลงในช่องท่ีกรอก แก้ไขข้อมลู จากน้ันบนั ทึกข้อมูล ดังภาพ ภาพทกี่ 4-7กกหน้าการแกไ้ ขข้อมูลรายชือ่ ผสู้ ัง่ สนิ คา้ 4.1.8 เมื่อบันทึกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว การบันทึกจะเสร็จสมบูรณ์เม่ือข้ึนประโยค “บันทึก ข้อมูลเรยี บรอ้ ยแล้ว” ดังภาพ ภาพทกี่ 4-8กกหน้าการบันทึกแก้ไขข้อมูลเรียบร้อยแล้ว

20 4.1.9 จากนน้ั กลับมาตรวจสอบทีห่ น้ารายช่อื ผู้สั่งสนิ คา้ ว่าบันทกึ ขอ้ มลู เสร็จเรยี บร้อยแลว้ ดงั ภาพ ภาพที่ 4-9 หนา้ ตรวจสอบขอ้ มูลรายชื่อทบ่ี นั ทึกเรยี บร้อยแลว้ 4.1.10 หากต้องการลบข้อมูลรายชอ่ื ให้ทาการคลิก ทป่ี ุ่มลบ ก็จะข้ึนข้อความวา่ “ลบขอ้ มลู เรียบร้อยแลว้ ” ดงั ภาพ ภาพที่ 4-10 หนา้ ลบขอ้ มลู รายชอ่ื ผู้สง่ั สนิ ค้า

21 4.1.11 หากตอ้ งการดูรายชื่อที่ลบไป ให้เข้าไปดูทีห่ น้า “รายช่อื ผสู้ ั่งสนิ คา้ ” ดงั ภาพ ภาพที่ 4-11 หน้าลบรายชอ่ื ผสู้ ่ังสนิ ค้าเรียบรอ้ ย 4.1.12 หากตอ้ งการดูสินค้าท่ีขายออกไปและจานวนที่ขายออกไป ให้ไปทห่ี น้า “สนิ ค้าท่ี ขายออกไป” จะแสดง ID จานวนทีส่ ่งั ซือ้ ราคา รหัสสินค้า รหสั ส่ังสินคา้ และสามารถทาการแก้ไข- ลบได้ ดงั ภาพ ภาพท่ี 4-12 หนา้ สินคา้ ที่ขายออกไป

22 4.1.13 หนา้ แก้ไขสนิ คา้ ท่ีขายออกไป ในกรณีท่ใี ส่หรือกรอกจานวนช้นิ เพม่ิ ผดิ สามารถแก้ไข ได้โดยใหพ้ ิมพ์ จานวนที่ซ้ือ แก้ไขราคา หากเลือกสินคา้ ผิดสามารถเปล่ียนรหสั สนิ คา้ ได้ (สามารถ พิมพ์ได้แค่ตัวเลขเท่าน้ัน) ภาพที่ 4-13 หนา้ แก้ไขสินคา้ ทข่ี ายออกไป 4.1.14 เม่อื บันทกึ ข้อมูลหนา้ แกไ้ ขสินค้าขายออกไปเรียบร้อยแลว้ การบันทึกจะเสร็จสมบรู ณ์ เม่ือขึ้นประโยค “บนั ทึกข้อมูลเรยี บร้อยแลว้ ” ดังภาพ ภาพท่ี 4-14 หน้าการบันทึกแก้ไขสินค้าขายออกไปเรียบรอ้ ยแลว้

23 4.1.15 จากนนั้ กลับมาตรวจสอบทหี่ นา้ สนิ คา้ ท่ขี ายออกไปวา่ การบันทึกข้อมลู เสรจ็ เรียบรอ้ ย แล้วดงั ภาพ ภาพที่ 4-15 หน้าตรวจสอบข้อมลู รายชอ่ื ที่บันทกึ เรยี บร้อยแลว้ 4.1.16 หากต้องการลบข้อมูลสนิ ค้าที่ขายออกไป ให้ทาการคลกิ ที่ปมุ่ ลบ กจ็ ะขึ้นขอ้ ความ ว่า “ลบขอ้ มลู เรียบร้อยแล้ว” ดงั ภาพ ภาพท่ี 4-16 หน้าลบข้อมูลสินค้าทีข่ ายออกไป

24 4.1.17 หากตอ้ งการดูข้อมลู สนิ คา้ ทล่ี บไป ให้เขา้ ไปดทู หี่ น้า “สินค้าทีข่ ายออกไป” ดังภาพ ภาพที่ 4-17 หนา้ ลบข้อมูลสินคา้ ทีข่ ายออกไปเรียบรอ้ ย 4.1.18 หน้าแสดงเลขที่สนิ ค้าต่าง ๆ เม่ือตอ้ งการเช็คสนิ ค้าใหเ้ คา้ มาทหี่ น้า เลขท่ีแสดงสินค้า ภาพท่ี 4-18 หน้าแสดงเลขทส่ี นิ ค้า

25 4.2 สรปุ ผลการวิเคราะห์แบบสอบถาม จากการสอบถามความคิดเห็นของครทู ปี่ รกึ ษาโครงการและเจา้ หนา้ ทห่ี ้องสวัสดกิ าร จานวน ผูต้ อบแบบสอบถาม 4 ฉบับ มีรายละเอียดดงั นี้ เกณฑ์การวดั คะแนนคา่ เฉล่ยี ความพึงพอใจ 4.50 – 5.00 ดีมาก 3.50 – 4.49 ดี 2.50 - 3.49 ปานกลาง 1.50 – 2.49 พอใช้ 0.00 – 1.49 ปรับปรงุ ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ร้อยละ ตารางที่ 4-1 แสดงรอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกขอ้ ตามเพศ 0 100 เพศ จานวน (คน) 100 ชาย 0 หญงิ 4 รวม 4 จากตารางท่ี 4-1 พบว่าสว่ นใหญ่ผู้ตอบแบบสอบถามเปน็ เพศหญงิ จานวน 4 คน คดิ เป็น ร้อยละ 100 ตารางที่ 4-2 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกอายุ อายุ จานวน (คน) รอ้ ยละ 0 21-30 ปี 0 100 0 31-49 ปี 4 100 50 ปีขึน้ ไป 0 รวม 4 จากตารางท่ี 4-2 พบว่าสว่ นใหญ่ผูต้ อบแบบสอบอายุ 31-49 ปีจานวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

26 ตารางที่ 4-3 แสดงร้อยละของตอบแบบสอบถาม จาแนกระดับการศึกษาสงู สดุ ระดบั ชน้ั จานวน ( คน ) ร้อยละ 25 ปรญิ ญาตรี 1 50 25 ปริญญาโท 2 0 100 สงู กวา่ ปริญญาโท 1 อ่ืน ๆ 0 รวม 4 จากตารางที่ 4-3 พบวา่ สว่ นใหญผ่ ู้ตอบแบบสอบถามระดบั ชนั้ ปรญิ ญาโท จานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50 รองลงมาปรญิ ญาตรีและสงู กวา่ ปริญญาโท จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ตารางท่ี 4-4 แสดงรอ้ ยละของตอบแบบสอบถาม จาแนกสถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม สถานภาพ จานวน ( คน ) รอ้ ยละ คร/ู อาจารย์ 3 75 ผเู้ ชยี่ วชาญ 0 0 อืน่ ๆ 1 25 รวม 4 100 จากตารางท่ี 4-4 พบวา่ สว่ นใหญผ่ ตู้ อบแบบสอบเป็นครู/อาจารย์ จานวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75 รองลงมาเป็นอ่ืนๆ จานวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 25

27 ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นของครูทป่ี รกึ ษาโครงการและเจ้าหนา้ ที่หอ้ งสวัสดิการ ตารางท่ี 4-5 ตารางสรุปแบบสอบถามความคิดเห็นของครูท่ีปรึกษาโครงการและเจ้าหน้าท่ีห้อง สวสั ดกิ าร ประเดน็ ความคิดเห็น คา่ เฉลย่ี ส่วน ระดบั ลาดับ ̅ เบีย่ งเบน ความ มาตรฐาน คิดเหน็ 1. ดา้ นประสิทธภิ าพและความปลอดภัย 4.25 0.95 ดี 5 ของโปรแกรม 4.25 0.5 ดี 6 1.1 โปรแกรมใชง้ านสะดวกและไม่ซับซอ้ น 1.2 สามารถคน้ หาหรือเข้าถงึ ขอ้ มลู ท่ีต้องการได้ 4.00 0.81 ดี 12 ง่าย 1.3 ประสิทธิภาพ/ความรวดเรว็ ในการตอบสนอง 4.50 0.57 ดีมาก 1 ของโปรแกรม 4.00 0.81 ดี 13 1.4 ลดความซา้ ซ้อนของขั้นตอนการทางาน 1.5 การจดั การระดับความปลอดภยั หรอื กาหนด 4.00 0.81 ดี 14 สทิ ธ์ใิ นการเข้าถึงข้อมูล ได้อย่างเหมาะสม 2. ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบ 3.50 1 ดี 15 2.1 การจดั รูปแบบของโปรแกรมงา่ ยต่อการอ่าน และการใช้งาน 4.25 0.5 ดี 7 2.2 ความสวยงาม ความทนั สมัย นา่ สนใจของ 4.25 0.5 ดี 8 โปรแกรม 2.3 การจดั วางองคป์ ระกอบเหมาะสม 4.25 0.5 ดี 9 2.4 ขนาดตัวอกั ษร และรปู แบบตัวอกั ษร อา่ นได้ ง่ายและสวยงาม 2.5 ภาพกับเนื้อหามีความสอดคลอ้ งกนั

28 ประเดน็ ความคิดเห็น คา่ เฉลยี่ ส่วน ระดับ ลาดับ ̅ เบ่ียงเบน ความ มาตรฐาน คดิ เหน็ 3. ด้านประโยชนข์ องโปรแกรมต่อการปฏิบตั ิงาน 4.50 0.57 ดีมาก 2 3.1 เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัติงานรวดเร็ว ข้ึน 4.50 0.57 ดมี าก 3 3.2 ชว่ ยในการเก็บรวบรวมข้อมลู และการ ประมวลผลข้อมลู ในการจัดทารายงาน 4.50 0.57 ดีมาก 4 3.3 ตรงตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ 4.25 0.5 ดี 10 3.4 ความสามารถของระบบ ในการนาไปใช้ 4.25 0.5 ดี 11 ประโยชน์ 3.5 ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการใช้งาน 4.22 0.64 ดี - ระบบ รวมค่าเฉล่ยี จากตารางที่ 4-5 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับโปรแกรมระบบ สารสนเทศเพอ่ื การจัดการสนิ คา้ เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายด้านแล้วพบว่าคา่ เฉลยี่ ในด้านประสิทธิภาพและ ความปลอดภัยของโปรแกรม มีค่าเฉลี่ย 4.50 (S.D.= 0.57) ค่าเฉล่ียในด้านการออกแบบและการ จัดรูปแบบ มีค่าเฉล่ีย 4.25 (S.D.= 0.5) ค่าเฉลี่ยในด้านประโยชน์ของโปรแกรมต่อการปฏิบัติงานมี ค่าเฉลยี่ 4.50 (S.D.= 0.57) ในภาพรวมอยู่ในระดับดี ได้ค่าเฉลี่ยรวม 4.22 เมื่อพิจารณาแยกเป็นราย ข้ออยู่ในระดับดี โดยข้อที่ได้ค่าเฉล่ียมากที่สุดมี 4 ข้อ ได้แก่ ลาดับท่ี 1 ลดความซ้าซ้อนของข้ันตอน การทางาน ได้ค่าเฉล่ีย 4.50 (S.D.= 0.57) ลาดับที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานรวดเร็วข้ึน ไดค้ า่ เฉลี่ย 4.50 (S.D.= 0.57) ลาดับท่ี 3 ชว่ ยในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการประมวลผลข้อมูลใน การจัดทารายงาน ได้ค่าเฉลี่ย 4.50 (S.D.= 0.57) ลาดับท่ี 4 ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ 4.50 (S.D.= 0.57) ผลสรุปจากตารางของความพึงพอใจของผู้ใช้งานโปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ สินค้าแสดงให้เห็นในรูปแบบของความคิดเห็นได้ว่า มีความพึงพอใจในระดับดี ของการใช้งาน โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การสนิ คา้ (กรณีศกึ ษางานสวสั ดกิ ารวทิ ยาลัยเทคนิคจันทบุร)ี

29 บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ยั อภิปรายและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการดาเนนิ งาน จากการศึกษาเฉพาะกรณี ท่ีพัฒนาขึ้นจากภาษาสคริปต์ PHP และ MySql ในครั้งน้ีผู้ศึกษาได้ทา คิดค้นและออกแบบ โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า (กรณีศึกษางานสวัสดิการ วทิ ยาลัยเทคนิคจันทบุร)ี และจากการที่ได้ทาการศึกษาถึงการทางานของภาษาสคริปต์ PHP และ MySql กไ็ ดพ้ บวา่ เปน็ ภาษาสครปิ ต์ท่ชี ่วยใหส้ ามารถสร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีลูกเล่นมากข้ึนและเป็นภาษาทีไ่ ดร้ ับความนิยมนามาใช้งานมากท่ีสุดภาษาหน่ึงในขณะน้ี จากเหตุผล ที่กล่าวมาจึงทาให้ผู้ศึกษาเลือกใช้ภาษาสคริปต์ PHP และ MySql มาใช้ในการสร้างโปรแกรมระบบ สารสนเทศเพ่ือการจัดการสินค้า (กรณีศึกษางานสวัสดิการวิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี) ซึ่งในการศึกษา เฉพาะกรณผี ูศ้ ึกษาไดท้ าการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล 5.2 อภปิ ราย เน่ืองจากการพัฒนา โปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสินค้า (กรณีศึกษางานสวัสดิการ วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี)มีการวางแผน และออกแบบก่อนการพัฒนาจริง เมื่อมีการพัฒนาได้มีการ ตรวจสอบโปรแกรมอย่เู ปน็ ระยะ ดงั นนั้ ผลการประเมินแบบสอบถามความพงึ พอใจจึงได้ในระดับดี การสอบถามความคิดเห็นในการใช้โปรแกรมอยู่ในระดับดี เพราะโปรแกรมสามารถนามา ประยุกต์ใชไ้ ดจ้ รงิ ทาไดง้ า่ ยตอ่ การใชง้ านมหี นา้ รายการสนิ ค้าทท่ี าการสัง่ ซ้ือสินค้าได้ สามารถดูรายช่ือผู้สั่ง ได้และสามารถดูสินค้าที่ขายออกไปได้ สอดคล้องกับงานวิจัยของธนินทร์ น้อยรังศรี และคณะได้สร้าง ระบบจดั การงานบารุงรักษาเคร่ือง (PMMS) เป็นระบบฐานข้อมูลและโปรแกรมท่ีสามารถใช้จัดการข้อมูล เครื่องจักรอะไหล่ การซ่อมบารุงเครื่องจักรและงานบารุงรักษาเคร่ืองจักร โดยสามารถนาไปใช้กับโรงงาน บริษัท หรือ องค์กรใดๆ ที่มีเคร่ืองจักรในความดูแลจานวนมากPMMSออกแบบมาให้มีคุณสมบัติในการ จัดเก็บและจัดการข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมและถูกต้องตามหลักการออกแบบฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์ (RDBMS) เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการจัดเก็บ และจัดการเก็บข้อมูลในทุกส่วนงาน ดังน้ัน ความพงึ พอใจของผู้ใช้งานที่มตี อ่ โปรแกรมจงึ อย่ใู นระดบั ดี จากการประเมนิ ความพึงพอใจน้ันทาให้ทรายว่าโปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสินค้า (กรณศี ึกษางานสวสั ดกิ ารวิทยาลัยเทคนคิ จันทบุรี) ท่ีสรา้ งขึน้ นั้นสามารถนาไปใช้งานไดจ้ ริง

30 5.3 ปัญหาและอุปสรรค เน่ืองจากในการสร้างโปรแกรมจาเป็นต้องมีความรู้ในการจัดทาที่เพียงพอ ระบบงานท่ีสร้างข้ึน น้ันถึงจะใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงผู้พัฒนามีความชานาญในการออกแบบระบบฐานข้อมูลไม่มาก นัก ซ่ึงระบบฐานข้อมูล ที่พัฒนาขึ้นจะต้องออกแบบโดยใช้โปรแกรม Microsoft SQL Server และ ฐานข้อมูลจะต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างกันด้วย โดยจะต้องทาการวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูลใน เบื้องตน้ ใหม้ คี วามถกู ตอ้ งและมคี วามสัมพนั ธก์ นั ถา้ ฐานข้อมูลไม่มคี วามสมั พนั ธ์กนั แล้ว ในระหว่างพัฒนา เขียนโปรแกรมเช่ือมต่อกับระบบฐานข้อมูล จะเกิดข้อผิดพลาดหลายตาแหน่งในโปรแกรม จะต้องกับไป แก้ไขท่ีฐานข้อมูลใหม่อีกครั้ง เม่ือทาการแก้ไขแล้วฐานข้อมูลไม่เกิดปัญหาอีก จึงสามารถพัฒนาเขียน โปรแกรมได้และผู้พัฒนาจะต้องมีจินตนาการควบคู่กันไปด้วย ถ้าคลิกท่ีปุ่มน้ีแล้ว เหตุการณ์อะไรจะ เกิดข้ึน ทาให้ต้องใช้เวลานานในการพัฒนาและเขียนโปรแกรมเพ่ือให้ตรงตามขอบเขตของระบบงานที่ได้ กาหนดไว้ ผู้พัฒนาจะต้องมคี วามอดทนตอ่ อุปสรรคท้งั ปวงถา้ มีขอ้ ผดิ พลาดเกิดขึ้นกจ็ ะต้องแก้ไขให้ได้ 5.4 ข้อเสนอแนะ 5.4.1 ข้อเสนอแนะในการนาผลวจิ ัยไปใช้ จากผลการวิจัยพบวา่ โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินคา้ (กรณีศึกษางานสวสั ดิการ วทิ ยาลัยเทคนคิ จนั ทบุร)ี สามารถนาไปประยกุ ต์ใชป้ ระกอบการขายไดโ้ ดยเพิ่มรายการสินค้าและ รายละเอียดสนิ ค้าตา่ งๆ 5.4.2 ข้อเสนอแนะนาในการทาวิจัยคร้งั ต่อไป 5.4.2.1 ควรปรบั แต่งหน้าโปรแกรมใหด้ นู ่าใช้งาน เพิ่มสสี ันภาพจะดมี าก

บรรณานกุ รม AppServ คืออะไร ?. [ออนไลน]์ .[สืบคน้ เม่อื 9 สงิ หาคม 2561]. จาก http://purinutzaba.blogspot. com/2014/02/appserv.html Database คืออะไร ระบบฐานขอ้ มูล คือ.[ออนไลน]์ .[สืบค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2561]. จาก http:// mindphp.com/ค่มู ือ/73-คอื อะไร/2055-database-คอื อะไร23.html Editplus คือโปรแกรม.[ออนไลน]์ .[สบื ค้นเม่ือ 9 สงิ หาคม 2561]. จาก http://www.mindphp.com/ คมู่ ือ/73-คืออะไร/2234-editplus-คอื อะไร.html HTML คอื .[ออนไลน์].[สบื ค้นเมื่อ 9 สิงหาคม 2561]. จาก http://www.codingbasic.com/html. PHP คืออะไร.[ออนไลน์].[สืบค้นเม่อื 9 สงิ หาคม 2561]. จาก http://www.mindphp.com//คมู่ ือ/73- คืออะไร/2127-php-คอื อะไร.html ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร.์ [ออนไลน์].[สืบคน้ เม่ือ 21 กรกฎาคม 2561]. จาก http:// nattawootblog.wordpress.com/ความหมายของโปรแกรม/ ธนากร รักแจ้ง และรงุ่ เรือง สมอหา.[ออนไลน์].[สบื ค้นเมอ่ื 2 สงิ หาคม 2561].จาก www.primary. satit.kku.ac.th/main/.../mod.../20160317125210_yearbook_2557.pdf ธนนิ ทร์ นอ้ ยรงั ศรี และคณะ.[ออนไลน]์ .[สืบค้นเมอ่ื 2 สิงหาคม 2561].จาก maintenance.drr.go.th /sites/maintenance.drr.go.th/files/PMMS2_User_Manual..pdf ธรี เดช เขมะธีรรัตนว์ ิศษิ ฐ์ โชติอทุ ยางกรู และสทุ ศิ า จรี ยานวุ ัฒน์.[ออนไลน์].[สืบค้นเม่อื 2 สิงหาคม 2561].จาก http://www.dent.psu.ac.th/unit/it/index.php/2017-04-21-08-59.html โปรแกรม คอื อะไร.[ออนไลน]์ .[สืบค้นเมอ่ื 21 กรกฎาคม 2561]. จาก https://sites.google.com/ site/krooariya/it6/program1 โปรแกรมระบบจดั การฐานข้อมูล MySQL. [ออนไลน์].[สบื ค้นเม่ือ 9 สงิ หาคม 2561]. จาก http:// th.easyhostdomain.com/dedicated-servers/mysql.html

ภาคผนวก ก - แบบเสนอโครงการ - บทคัดยอ่ ภาษาอังกฤษ - บนั ทกึ ข้อความ

ภาคผนวก ข - สตอรบี่ อร์ด

ภาคผนวก ค - ระยะเวลาความคบื หน้า

ภาคผนวก ง - Code - ภาพดาเนินงาน - วธิ กี ารใช้โปรแกรม - แบบสอบถาม

ภาคผนวก จ - ความพงึ พอใจของผ้เู ชี่ยวชาญ

แบบเสนอขออนมุ ัตโิ ครงการ โครงการ โปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสินค้า (กรณีศึกษางานสวัสดกิ ารวิทยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี) ผูเ้ สนอโครงการ นางสาวณชิ นนั ทน์ ทองประไพ นางสาวกรรวี พูลพฒั น์ แบบเสนอขออนุมตั ิโครงการน้เี ป็นส่วนหนงึ่ ของวิชาโครงการ รหัสวิชา 3204 - 8501 ประเภทวชิ า บรหิ ารธรุ กจิ สาขาวิชา คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออก

ใบเสนอโครงการ 1. ชอ่ื โครงการ โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การสนิ ค้า(กรณีศึกษางานสวัสดกิ ารวิทยาลัยเทคนิคจันทบรุ ี) 2. ประเภทโครงการ ประเภทท่ี 6 ส่ิงประดษิ ฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟตแ์ วร์ และระบบสมองกลฝงั ตวั ( Software & Embedded System Innovation ) (กลมุ่ ท่ี 1 กลมุ่ นวัฒกรรมซอฟต์แวร์Software Development) 3. ผ้เู สนอโครงการ 3.1 นางสาวณชิ นนั ทน์ ทองประไพ 3.2 นางสาวกรรวี พลู พัฒน์ 4. ครทู ปี่ รึกษา มะลาไสย 4.1 นางจริ วรรณ ดุนขนุ ทด 4.2 นางพีรญา ดสิ สร 4.3 นางสาววาสนา 5. ข้อมูลท่ัวไป ลกั ษณะท่วั ไป  เป็นผลงานโครงการท่ีคดิ ค้นข้ึนใหม่  เป็นผลงานโครงการที่พัฒนาหรอื ปรบั ปรงุ แก้ไขใหม่ รายการที่พัฒนาหรือปรบั ปรุงเพิ่มเติมจากของเดมิ 6. หลกั การและเหตุผล ในปัจจุบันการสต๊อกเส้ือผ้าในแต่ละร้านค้าและสถาบันการศึกษา เร่ิมมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ถ้าการจัดเก็บข้อมูลนั้นใช้ระบบเดิมคือระบบเอกสารท่ีใช้เก็บบันทึกในกระดาษหรือใน โปรแกรม Microsoft office Excel อาจทาให้เกิดการสูญหายหรือเสียหายของข้อมูลได้ง่าย และหากมี ขอ้ มูลเป็นจานวนมากจะทาใหค้ ้นหาและการแก้ไขมีความล่าช้าและยากลาบากอีกทั้งไม่เป็นระบบระเบียบ เพราะเสื้อผ้ามีความหลากหลายและมจี านวนมากทาให้ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้อย่างทั่วถึงการค้นหาขนาด

เส้ือผา้ และจานวนเสอื้ ผา้ นักเรียน-นกั ศึกษา อาจทาให้ไม่ทราบจานวนของเส้ือผ้าท่ีมีอยู่และเกิดการสับสน ในการหาเส้อื ผ้าได้ “Editplus” คือโปรแกรม text editor ตัวหน่ึง คล้ายกับโปรแกรม Dreamweaver Notepad (ซ่ึงมีคุณสมบัติเป็นท้ังโปรแกรมสาเร็จรูปในการสร้างเว็บเพจด้วย) ท่ีใช้ในการพัฒนาสคริปต์โปรแกรม ตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นเขียนและแก้ไข Source code ในการสร้างเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML,PHP,Java เป็น ตน้ เป็น tools ทร่ี นั บน windows เท่านนั้ ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงได้มีแนวคิดที่จะนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน ดงั กล่าว จงึ ไดม้ กี ารจัดทาโครงการ เร่ือง โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า(กรณีศึกษางาน สวัสดิการวิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี) โครงการน้ีจัดทาข้ึนเพ่ืออานวยความสะดวกแก่ผู้ขาย ให้สามารถ ดาเนนิ งานตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 7. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 7.1 เพ่อื สร้างโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การสินคา้ 7.2 เพ่อื หาความพึงพอใจของการสร้างโปรแกรมระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสนิ ค้า 8. ทฤษฎี/หลักวิชาการทีน่ ามาใช้ในการจัดทาโครงการ ธนินทร์ น้อยรังศรี และคณะ(2538) ได้ศึกษาการสร้างระบบจัดการงานบารุงรักษาเคร่ือง(PMMS) เป็นระบบฐานข้อมูลและโปรแกรมที่สามารถใช้จัดการข้อมูลเครื่องจักรอะไหล่ การซ่อมบารุงเครื่องจักร และงานบารุงรักษาเคร่ืองจักร โดยสามารถนาไปใช้กับโรงงานบริษัท หรือ องค์กรใดๆ ที่มีเครื่องจักรใน ความดูแลจานวนมากPMMSออกแบบมาให้ มีคุณสมบัติในการจัดเก็บและจัดการข้อมูลอย่างมี ประสิทธิภาพ ครอบคลุมและถูกต้องตามหลักการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์(RDBMS)สาหรับการ ทางานในส่วนติดต่อผู้ใช้จะเป็นระบบแผงเมนูแบบปุ่มกด(Switch Button Panel )ในการเข้าไปยังส่วน งานต่างๆและกลับออกมาได้อย่างรวดเร็ว โดยฟอร์มที่ใช้ประกอบด้วยส่วนบน ที่มีระบบสืบค้นข้อมูล หลากหลายรูปแบบให้เลือกใช้สวนเนื้องานมีฟิลด์รบตามลักษณะงานพร้อมทั้งมีการเตรียมข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับระบบงานไว้ให้เลือกเพ่ือความสะดวกรวดเร็วในการจัดเก็บ และจัดการเก็บข้อมูลในทุกส่วน งาน ส่วนล่างมีปุ่มควบคุมการใช้งานท่ัวไปให้ใช้เพื่อเสริมความสะดวกPMMSยังสามารถนาเสนอเป็นรูป รายงานบนหนา้ จอหรอื ให้ออกทางเครอื่ งพมิ พไ์ ดห้ ลายรปู แบบ รวมทัง้ มีสรุปผลข้อมูลที่ช่วยนาไปวิเคราะห์ เชิงการจัดการและบริหารไดใ้ นรปู ของเวลา คา่ ใช้จา่ ยทส่ี ญู เสียไปอกี ดว้ ย ธนากร รักแจ้ง และรุ่งเรือง สมอหา(2554) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นระบบท่ี พัฒนาจากโปรแกรม Microsoft SQL Server 2008 และAdobe Dreamweaver CS4 ซ่ึงโปรแกรมนี้ใน

ส่วนของการแจ้งครุภัณฑ์ชารุด จะสามารถแจ้งได้จาก User ท่ีเข้ามาใช้งานระบบ เม่ือ User กรอก ID ของครุภัณฑ์ที่ชารุด ระบบจะทาการดังข้อมูลเก่ียวกบครุภัณฑ์นั้นมาแสดงให้ User และให้ทาการกรอก รายละเอียดเพ่ิมเติมในส่วนต่างๆเช่น อาการ วันเวลา เป็นต้น ระบบจะทาการ จัดเก็บข้อมูลลงใน ฐานข้อมลู ของระบบ โดยข้อมูลของครภุ ัณฑจ์ ะถกู ดึงมาจากฐานข้อมลู ของระบบครภุ ณั ฑ์ ธีรเดช เขมะธีรรัตน์วิศิษฐ์ โชติอุทยางกูร และสุทิศา จรี ยานุวัฒน์(2552) สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเ์ ป็นระบบท่พี ฒั นาจากโปรแกรม Fedora Core6, PHP, Apache และ MySQL ซ่ึงโปรแกรมนี้ระบบจะทาการบันทึกการแจ้งซ่อมลงในระบบพร้อมกับสั่ง ข้อความไปเพิ่ม รายการที่ Google Calendar ของเจ้าหน้าฝ่ายซ่อมบารุง จากน้ัน Google Calendar จะทา การ SMS แจ้งเตอื นไปยังมอื ถือของเจา้ หน้าที่ฝ่ายซ่อมบารุงโดยจะส่งเฉพาะ E-mail และเบอร์โทรศพั ท์เทา่ น้นั 9. ข้นั ตอนการทางานของผลงานโครงการ 9.1 รับมอบหมายหัวข้อจากครูผ้สอนโครงการ 9.2 ปรึกษาครูทป่ี รึกษาโครงการ 9.3 เสนอขออนุมตั โิ ครงการ 9.4 ดาเนินงานตามโครงการ 9.5 จัดทาเอกสาร 9.6 แสดงผลโครงการ 9.7 ประเมินผลโครงการ 10. ขอบเขตของโครงการ 10.1 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 10.1.1 ประชากร คอื เจา้ หน้าท่หี ้องสวสั การ วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี 10.1.2 กลุ่มตัวอยา่ ง คอื อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการและเจา้ หนา้ ที่ห้องสวัสดกิ าร จานวน 4 คน 10.2 ตัวแปรทศ่ี ึกษา 10.2.1 ตัวแปรต้น คือ โปรแกรม เรื่อง ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า(กรณีศึกษางาน สวัสดิการวิทยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี) 10.2.2 ตัวแปรตาม คือ ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อโปรแกรม เร่ือง ระบบสารสนเทศเพ่ือการ จดั การสนิ ค้า(กรณีศึกษางานสวสั ดกิ ารวทิ ยาลัยเทคนิคจนั ทบรุ ี) 10.3 เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นโครงการ 10.3.1 เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ Intel Core i7-6500U CPU @ 3.10GHz (RAM) 4.00GB

System Type 32-bit Operating System 10.3.2 โปรแกรม Editplus 10.3.3 โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 10.4 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 10.4.1 ศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มลู 10.4.1 จัดทาโปรแกรม เรื่อง ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสินค้า(กรณีศึกษางานสวัสดิการ วทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบุรี) 10.4.2 อาจารย์ทปี่ รึกษาโครงการและเจ้าหน้าทหี่ อ้ งสวสั ดกิ ารทดลองใช้โปรแกรม 10.4.3 นาแบบสอบถามความพึงพอใจให้ผใู้ ช้งานไดล้ งความคดิ เหน็ 10.4.4 เก็บรวบรวมแบบสอบถามท้งั หมดและนามาประมวลผลให้สมบูรณต์ อ่ ไป 10.5 สถิติท่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 10.5.1 การสรา้ งแบบสอบถามความคดิ เหน็ ในการใช้งานโปรแกรม แบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้งานโปรแกรม ผู้วิจัยได้สร้างข้ึนมาน้ีเป็นแบบ ประเมินท่ียึดตาม หลักเกณฑ์การประเมนิ ของ Likert Scale ซ่ึงมขี ้ันตอนสร้างดังนี้ 10.5.1.1 รวบรวมข้อมูลและศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้อง เพื่อกาหนดแนวทางทางการ สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้งานโปรแกรม 10.5.1.2 สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้งานโปรแกรม โดยมีตัวเลือก 5 ตวั เลือก 5 ระดบั คอื พงึ พอใจระดบั มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย และนอ้ ยทีส่ ุด 10.5.2 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม นามาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ และทาการประมวลผล ด้วยเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ โดยใชโ้ ปรแกรมสแปรดชสี ซง่ึ ใชส้ ถติ ใิ นการวเิ คราะห์ ดงั น้ี 10.5.2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณ (Quantitative data) คณะผู้วิจัยดาเนินการ วิเคราะห์ ข้อมูลท่ีได้รับจากแบบประเมินคุณภาพ และแบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้งานโปรแกรม แบบมาตราส่วนประมาณค่า ดว้ ยสถิตเิ ชิงพรรณนา (Descriptive statistics) เพือ่ หาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ียเลขคณิต (Mean)และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard deviation) เพ่ืออธิบายลักษณะข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงนาเสนอในรูป ตาราง ประกอบคาอธบิ าย 10.5.2.2 เกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การแปลความหมายสาหรับข้อมูลแบบมาตรา ส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) คณะผู้วิจยั กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนของลเิ คอร์ท ไวด้ ังนี

1) แบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการใช้งานแอพพลิเคชนั่ เกณฑก์ ารให้คะแนนการประเมนิ คุณภาพแอพพลิเคช่นั 5 หมายถึง ดีมาก 4 หมายถึง ดี 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถงึ น้อย 1 หมายถงึ ปรับปรงุ เกณฑ์การให้คา่ รบั ระดบั คะแนนคุณภาพของแอพพลิเคช่นั 4.50-5.00 หมายถึง ดีมาก 3.50-4.49 หมายถึง มาก 2.50-3.49 หมายถงึ ปานกลาง 1.50-2.49 หมายถงึ น้อย 1.00 -1.49 หมายถงึ ปรงั ปรุง 2) แบบสอบถามความคดิ เหน็ ในการใช้งานโปรแกรม เกณฑ์การให้คะแนนความคิดเห็นในการใช้งานโปรแกรม 5 หมายถงึ มากทส่ี ุด 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถงึ น้อยท่ีสดุ เกณฑ์การแปลความหมายค่าเฉล่ยี ของคะแนนไวด้ งั นี้ 4.50-5.00 หมายถงึ มากทีส่ ุด 3.50-4.49 หมายถึง มาก 2.50-3.49 หมายถงึ ปานกลาง 1.50-2.49 หมายถึง น้อย 10.5-1.49 หมายถงึ นอ้ ยทส่ี ุด