Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ม.ค.63 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.ธรรมเสน อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

ม.ค.63 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.ธรรมเสน อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

Published by kl_1270070001, 2020-11-12 16:47:37

Description: กศน.ตำบลธรรมเสน-ม.ค.63

Search

Read the Text Version

คำนำ ด้วย กศน.ตำบลธรรมเสน ได้ดำเนินกำรจัดทำทำเนยยบภูมิปัญญำในท้องถ่ิน ให้กับ ประชำชนในพื้นทย่ตำบลธรรมเสน เพื่อเพิ่มพูนควำมรู้และทักษะในกำรดำเนินชยวิตแบบพอเพยยง สำมำรถ เรยยนรู้และฝึกฝนได้ท้ังจำกกำรศึกษำด้วยตนเอง และได้รับกำรถ่ำยทอดจำกผู้อ่ืน กำรนำภูมิปัญญำมำ เผยแพร่เพ่ือให้ประชำชนในพื้นท่ยได้นำไปใช้และเรยยนรู้เพ่ือเพิ่มอำชยพ และประสบกำรณ์ให้กับตนเองและ ครอบครวั ให้มยกำรเจริญเติบโตอย่ำงต่อเน่ืองและเก้ือกลู ในกำรผลิตซ่ึงกันและกัน โดยกำรใช้ทรัพยำกรทย่มยอยู่ ให้เกิดประโยชน์ และไม่มยสำรพิษ เช่น ดิน น้ำ แสงแดดอย่ำงเหมำะสม เกิดประโยชน์สูงสุด มยควำมสมดุล ของสภำพแวดล้อม อย่ำงต่อเน่ือง และเกิดผลในกำรเพิ่มพูนควำมอุดมสมบูรณ์ของทรัพยำกรธรรมชำติดว้ ย กศน.ตำบลธรรมเสน หวังว่ำเอกสำรเล่มนคย้ งมยประโยชน์ตอ่ ผอู้ ่ำนและผปู้ ฏิบัติงำนตอ่ ไป กศน.ตำบลธรรมเสน มกรำคม 256๓

สำรบัญ หนำ้ คำนำ 1 สำรบญั 4 7 กศน.ตำบลธรรมเสน - ภมู ปิ ญั ญำ การพน่ เริม: นางสารอง เนียมเตยี ง - ภูมิปัญญำ การเลยี้ งปลาดกุ บ๊ิกอยุ : นางวรรทณา แขวงโสภา - ภูมปิ ญั ญำ การปลูกบัวพนั ธุเ์ กษตร : นางจีรพนั ธ์ รอดนติ ย์ คณะผู้จัดทำ

1 แบบบันทกึ ชดุ ขอ้ มลู คลงั ปญั ญำ-ภูมปิ ญั ญำท้องถน่ิ ตำบลธรรมเสน อำเภอโพธำรำม จงั หวดั รำชบรุ ี ชื่อภูมิปัญญำ : การกวาดยา/การพน่ เรมิ ชื่อ นางสารอง นำมสกุล เนียมเตียง วันเดอื นปีเกดิ : – กรกฎาคม พ.ศ. 2496 ที่อยู่ปัจจบุ นั (ทสี่ ำมำรถติดต่อได้) : บา้ นเลขที่ 26 หมู่ท่ี 7 ตาบลธรรมเสน อาเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 70120 โทรศพั ท์ : 098-315-1120 ควำมเปน็ มำของบุคคลคลงั ปญั ญำ เนื่องจากคุณสารอง เนียมเตียง เป็นชาวบ้านทั่วไปธรรมดาแต่ตนถูกปลูกฝังให้เข้าวัดทาบุญต้ังแต่ยัง เด็ก อีกท้ังยังร่วมงานวันสาคัญต่างๆท่ีวัดจัด และทุกๆปีที่เช้าพรรษา ตนเองจะเข้าร่วมทาบุญจาพรรษาอยู่วัด ตั้งใจเล่าเรียนทางหลักธรรมคาสอนทางพระพุธศาสนา เป็นเวลานานต้ังแต่เด็กจนถึงปัจจุบัน จนมีความรู้ ประจวบกับพ่ีชายของตนถ่ายทอดความรู้เก่ียวกับวิธีการกวาดยาเด็ก การพ่นเริ่มต่างๆ และตนได้ใช้วิชาท่ีเล่า เรยี นมารกั ษาเดก็ ๆและคนในหมู่บา้ นเรอ่ื ยมาจนถึงปัจจบุ ัน จดุ เดน่ ของภมู ิปัญญำ - เปน็ แหล่งศกึ ษาดงู าน - เปน็ สถานทถี่ ่ายทอดความรู้ วัตถุดิบที่ใช้ประโยชน์ในกำรผลิตภณั ฑท์ ีเ่ กิดจำกภูมิปัญญำ ซึ่งพน้ื ท่ีอืน่ ไมม่ ี ได้แก่ - พชื สมนุ ไพรในท้องถน่ิ ท่วั ไป รำยละเอียดของภมู ิปัญญำท้องถ่ิน - รูปแบบในการถา่ ยทอดความรู้ มที ัง้ การศกึ ษาดูงาน การเข้ารบั การอบรมและฝึกปฏิบัตจิ รงิ เพอ่ื นาประโยชนท์ ่ไี ด้รบั ไปปฏบิ ตั ิใช้ไดจ้ ริงในชวี ิตประจาวัน รปู แบบและลักษณะกำรถำ่ ยทอด กำรประชำสมั พันธ์ เผยแพรภ่ มู ปิ ัญญำท้องถนิ่ ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร่/ ใชเ้ ฉพาะบุคคล / เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน มกี ารเผยแพร่ผา่ นส่อื มวลชนและสอื่ อย่างแพรห่ ลาย/ มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน........-........ค/รง้ั จานวน.......-......คน มกี ารนาไปใช้ ในพนื้ ที่........-.......คน นอกพื้นที่....-.....คน อ่นื ๆ (ระบ)ุ

2 ลักษณะของภูมิปัญญำท้องถ่ิน กำรพัฒนำต่อยอดภมู ปิ ญั ญำใหเ้ ปน็ นวตั กรรม คุณค่ำ (มูลค่ำ) และควำมภำคภมู ใิ จ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ /นวัตกรรมท่ีคิดคน้ ขึ้นมาใหม่ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินดั้งเดิมได้รบั การถา่ ยทอดมาจาก ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ท่ีไดพ้ ัฒนาและต่อยอด ถำ่ ยทอดมำจำก พ่ีชายและได้ศึกษาด้วยตนเองจากตาราของทางวดั ทตี่ นไปปฎิบตั ิธรรม กำรพัฒนำตอ่ ยอดคือ วิธีกวาดยาหมอสว่ นใหญ่ใช้นิ้วชห้ี รือนิ้วก้อยป้ายยาและกวาดใหล้ ึกถึงโคน ล้ิน วันละครั้ง ตารับที่ใช้กวาดมักจะผสมเหล้าเป็นน้ากระสาย และเป็นสูตรตารับประจาตระกูล. หมอราย หน่ึงใช้เฉพาะยาสามัญประจาบ้านแผนโบราณ ค่าบริการครั้งละ 10-29 บาท ผูกข้อมือเรียกขวัญเด็กคิด ค่าบริการเพิ่ม 5 บาท. ผู้ปกครองท่ีพาเด็กมารับบริการส่วนใหญ่เคยรักษาด้วยการกวาดยา พอใจในการ รักษา และจะซ้ือของเล็กๆน้อยๆมาให้ การดารงอยู่ของหมอเกิดจากมีผู้ป่วยศรัทธามารับบริการ ต่อเนอ่ื ง คา่ บริการไม่แพง รักษาโรคหาย มชี อื่ เสียงมายาวนาน ภำพถ่ำยบคุ คล และอปุ กรณ/์ เคร่ืองมอื /สิ่งทป่ี ระดิษฐ์ (ชิ้นงำนหรือผลงำน)

3 ภาพสถานที่ที่ใช้กวาดยาเด็กๆ โดยเปน็ ท่ีใดก็ไดแ้ ละไมม่ ีอปุ กรณ์ใดนอกจากคุณสารอง เนยี มเตยี ง และ ความสามารถเฉพาะสว่ นบคุ คล

4 แบบบันทึกชุดข้อมลู คลงั ปัญญำ-ภมู ิปัญญำท้องถิ่น ตำบลธรรมเสน อำเภอโพธำรำม จังหวดั รำชบรุ ี ช่อื ภูมปิ ัญญำ : การเลีย้ งปลาดกุ บก๊ิ อยุ ชือ่ นางวรรทณา นำมสกลุ แขวงโสภา วันเดอื นปีเกดิ : 27 พศจกิ ายน พ.ศ. 2499 ท่ีอยู่ปจั จบุ ัน (ทีส่ ำมำรถตดิ ต่อได้) : บ้านเลขท่ี 111 หมู่ท่ี 2 ตาบลธรรมเสน อาเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี รหัสไปรษณีย์ 70120 โทรศพั ท์ : 089-744-3191 ควำมเปน็ มำของบุคคลคลังปญั ญำ องคค์ วามรู้ ถูกถา่ ยทอด จากพี่สาวและเกิดจากการศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเองจนทาใหม้ ีความชานาญ ต่อมาก็ได้เร่ิมถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีมีให้กับคนในชุมชน และการเลี้ยงปลาดุกนั้นเป็นอาชีพหลังเกษียณ ประกอบกับตนเองชอบทางานอยู่กบั บ้าน เพราะได้ใกลช้ ดิ กับครอบครวั ปจั จบุ ันน้ี พบว่า ปลาดุกมขี ายอยู่ตาม ท้องตลาดทั่วไปและมีราคาสูง เน่ืองจากความนิยมของประชาชนและค่านิยมในการเล้ียงได้ลดน้อยลง แต่การ เล้ียงสามารถเล้ียงได้ง่าย โตเร็ว และอดทนต่อสภาพแวดล้อมจึงทาให้มีผทู้ ี่สนใจในการเลยี้ งมากขึ้นในปจั จุบนั การเลย้ี งปลาดุกในปัจจุบันปลาดกุ ทนี่ ยิ มเล้ยี งกนั มากคือ ปลาดุกลกู ผสมหรอื ท่ีเรยี กกนั ทัว่ ไปว่า \"บ๊ิกอุย\"ซึ่งเป็น ลูกผสมระหว่างปลาดุกอุยกับปลาดุกรัสเซีย(ดุกยักษ์ หรือดุกเทศ) ซึ่งปลาดุกลูกผสมนี้จะเลี้ยงง่ายโตเร็วและ ต้านทานโรคได้ดี ประกอบกับชุมชนเป็นพ้ืนที่ติดคลองบาง 200 จึงเหมาะแก่การเล้ียงปลา หรือสัตย์น้าใน ท้องถ่นิ อกี ดว้ ย จุดเด่นของภูมปิ ัญญำ - เป็นแหล่งศึกษาดูงาน - เป็นสถานที่ถา่ ยทอดความรู้ วัตถดุ บิ ทใ่ี ชป้ ระโยชนใ์ นกำรผลิตภัณฑท์ ีเ่ กิดจำกภูมิปัญญำ ซึ่งพ้นื ทีอ่ ่นื ไมม่ ี ไดแ้ ก่ - ปลาดกุ บิก๊ อุย รำยละเอียดของภูมิปญั ญำทอ้ งถิ่น - รปู แบบในการถ่ายทอดความรู้ มที งั้ การศึกษาดงู าน การเข้ารับการอบรมและฝึกปฏิบัตจิ ริง เพื่อนาประโยชน์ท่ีไดร้ บั ไปปฏิบัติใช้ไดจ้ ริงในชวี ติ ประจาวนั รูปแบบและลักษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสมั พันธ์ เผยแพรภ่ มู ปิ ญั ญำท้องถน่ิ ยงั ไมเ่ คยมกี ารเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มกี ารเผยแพร่ผ่านส่ือมวลชนและส่ืออย่างแพร่หลาย มกี ารดงู านจากบุคคลภายนอก จานวน........-........ครั้ง จานวน.......-......คน มกี ารนาไปใช้ ในพ้นื ที.่ .......-.......คน นอกพืน้ ที่....-.....คน อืน่ ๆ (ระบ)ุ

5 ลกั ษณะของภูมปิ ญั ญำท้องถ่ิน กำรพฒั นำต่อยอดภูมิปญั ญำให้เปน็ นวัตกรรม คณุ ค่ำ (มูลค่ำ) และควำมภำคภูมใิ จ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ /นวัตกรรมทคี่ ดิ คน้ ขน้ึ มาใหม่ ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ดั้งเดมิ ได้รับการถา่ ยทอดมาจาก ภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีไดพ้ ัฒนาและต่อยอด แบบเดิมคือ การเลี้ยงโดยขุนอาหารสาเรจ็ รปู และเลย้ี งในน้าระบบปิด กำรพัฒนำต่อยอดคือ การใช้อาหารสาเร็จรูปผสมกับโครงไก่บดและพืชทั่วไป และการทาน้า เขียว ปลาดุกเป็นปลาที่เกษตรกรนิยมเลี้ยงเนื่องจากเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว ทนทานต่อโรคและ สภาพแวดล้อมได้ดีอีกทั้งยังเป็นที่นิยมบริโภคเนื่องจากเน้ือมีรสชาติดีและราคาถูก จึงนิยมเลี้ยงกันอย่าง แพร่หลาย พันธุ์ปลาดุกบิ๊กอุยนั้นจะโตช้ากว่าพันธุ์รัสเซีย แต่เนื้อของปลาดุกบิ๊กอุยนั้นจะแน่นนุ่ม อร่อยกว่า พนั ธร์ุ ัสเซยี แตท่ ง้ั น้กี ข็ ้นึ อยู่กบั ผู้บรโิ ภคและความต้องการของตลาด ภำพถำ่ ยบคุ คล และอุปกรณ์/เครอ่ื งมอื /ส่ิงท่ีประดิษฐ์ (ชิ้นงำนหรอื ผลงำน)

6 ภาพบรรยากาศสถานที่เลี้ยงปลาดกุ บ๊ิกออุยของคุณวรรทณา แขวงโสภา ท่อี ยู่หลงั บา้ นคาดมีประมาณ 25-30 ตัน ใกล้เวลาเตรยี มโล้ขาย

7 แบบบนั ทึกชุดข้อมูลคลงั ปัญญำ-ภมู ปิ ญั ญำท้องถิ่น ตำบลธรรมเสน อำเภอโพธำรำม จังหวัดรำชบรุ ี ชอ่ื ภูมิปัญญำ : การปลกู สายบัวพันธุ์เกษตร ชื่อ นางจีรพนั ธ์ นำมสกุล รอตนติ ย์ วนั เดอื นปีเกิด : 14 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2510 ท่อี ยู่ปจั จุบัน (ท่ีสำมำรถตดิ ตอ่ ได)้ บา้ นเลขท่ี 43/2 หมทู่ ่ี 1 ตาบลธรรมเสน อาเภอโพธาราม จังหวดั ราชบุรี รหสั ไปรณยี ์ 70120 ควำมเปน็ มำของบุคคลคลงั ปญั ญำ จุดเร่ิมต้นจาก คุณพ่อของคุณทองห่อ พัชนี เป็นแพทย์ประจาตาบลธรรมเสน ตนเองมีความ ใกล้ชดิ กบั คณุ พ่อเปน็ อย่างมากจึงเกิดการเรยี นรู้ตลอดระยะเวลาที่อยู่กบั คุณพ่อตง้ั แต่ 11 ขวบจนทานเสยี ชีวิต คุณพ่อได้ถ่ายทอดวิชาความรู้ที่มีทั้งหมด และยังให้ตาราโบราณสืบทอดกันมาได้ศึกษาต่อ อีกท้ังคุณทองห่อ พัชนี ได้สืบทอดความรู้จากหลวงพ่อแทน พระอาจารย์ท่ีวัดแก้วฟ้าอีก จึงทาให้ตนเองมีความรู้มากข้ึน จนได้ รักษาคนในหม่บู า้ นสืบมาจนถงึ ปจั จุบนั จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญำ - เป็นแหลง่ ศกึ ษาดงู าน - เปน็ สถานท่ถี า่ ยทอดความรู้ - เปน็ การสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับครอบครวั ได้เปน็ อย่างดี วตั ถดุ บิ ทใี่ ชป้ ระโยชนใ์ นกำรผลติ ภณั ฑท์ เ่ี กิดจำกภมู ิปัญญำ ซึ่งพืน้ ทอ่ี ื่นไม่มี ได้แก่ - เปน็ การนาพื้นท่วี ่างเปล่า มาสรา้ งรายได้ - เปน็ การสรา้ งระบบพอเพียงในครวั เรอื น รำยละเอยี ดของภูมปิ ญั ญำทอ้ งถิ่น - รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ มที ั้งการศกึ ษาดูงาน การเข้ารบั การอบรมและฝึกปฏบิ ตั ิจรงิ เพ่อื นาประโยชนท์ ี่ไดร้ ับไปปฏิบตั ใิ ช้ไดจ้ ริงในชีวิตประจาวนั รูปแบบและลักษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสัมพนั ธ์ เผยแพร่ภมู ิปญั ญำท้องถ่นิ ยงั ไม่เคยมกี ารเผยแพร่/ ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน มีการเผยแพร่ผ่านสื่อมวลชนและสื่ออย่างแพร่หลาย มีการดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวน........-........คร้งั จานวน.......-......คน มีการนาไปใช้ ในพน้ื ท.่ี .......-.......คน นอกพ้ืนที.่ ...-.....คน อ่นื ๆ (ระบุ)

8 ลกั ษณะของภูมปิ ัญญำทอ้ งถิ่น กำรพฒั นำตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญำให้เปน็ นวตั กรรม คณุ ค่ำ (มูลค่ำ) และควำมภำคภมู ิใจ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ /นวตั กรรมทคี่ ดิ ค้นขึน้ มาใหม่ ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินดั้งเดมิ ไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจาก ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ที่ไดพ้ ัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดิมคอื การเกบ็ บัวจากบึงและลาคลอง กำรพัฒนำต่อยอดคอื การใช้พ้ืนที่ของตนเองใหเ้ กิดประโยชน์ โดยการปลูกบวั พันธเ์ุ กษตร และเลี้ยงปลาท้องถ่ินลงในบ่อบวั ได้ขายได้ และสามารถลดรายจ่ายจากการซ้ือปลามารบั ประทาน ภำพถำ่ ยบุคคล และอุปกรณ/์ เครอื่ งมอื /สิ่งทปี่ ระดิษฐ์ (ช้ินงำนหรอื ผลงำน) ภาพผลผลิตจากการเก็บสายบวั โดยพน้ื ท่ี 3 ไร่ สามารถเก็บไดถ้ ึง 150-200 กโิ ลกรัมต่อวนั

ทปี่ รกึ ษำ คณะผ้จู ัดทำ นางสุนนั ทา โนรสี ุวรรณ นางโสภิญา ศรีทอง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอโพธาราม ครู อาสาสมัคร ฯ รำ่ ง/เรยี บเรียงและจดั ทำ ครู กศน.ตาบลธรรมเสน นายธรี ชยั แย้มทับ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook