Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ก.พ.63 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.บ้านเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

ก.พ.63 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.บ้านเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

Published by kl_1270070001, 2020-11-12 16:49:08

Description: กศน.ตำบลบ้านเลือก-ก.พ.63

Search

Read the Text Version

ทำเนยี บภูมิปญั ญำท้องถนิ่ เดอื นกมุ ภำพันธ์ 256๓ กศน.ตำบลบำ้ นเลือก ศนู ย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยอำเภอโพธำรำม สำนักงำนส่งเสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจงั หวดั รำชบรุ ี สำนกั งำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย สำนกั งำนปลัดกระทรวงศกึ ษำธิกำร

คำนำ ด้วย กศน.ตำบลบ้ำนเลือก ได้ดำเนินกำรจัดทำภูมิปัญญำในท้องถิ่น ให้กับประชำชนใน พืน้ ทตี่ ำบลบำ้ นเลอื ก เพ่อื เพิม่ พนู ควำมร้แู ละทกั ษะในกำรดำเนนิ ชีวิตแบบพอเพียง สำมำรถเรียนรู้และฝึกฝน ได้ท้ังจำกกำรศึกษำด้วยตนเอง และได้รับกำรถ่ำยทอดจำกผู้อ่ืน กำรนำภูมิปัญญำมำเผยแพร่เพื่อให้ ประชำชนในพ้นื ท่ีไดน้ ำไปใชแ้ ละเรยี นรู้เพ่ือเพิ่มอำชีพ และประสบกำรณ์ให้กับตนเองและครอบครัวให้มีกำร เจริญเติบโตอย่ำงต่อเน่ืองและเกื้อกูลในกำรผลิตซ่ึงกันและกัน โดยกำรใช้ทรัพยำกรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี ได้อย่ำงเหมำะสม เกิดประโยชน์สูงสุด มีควำมสมดุล ของสภำพแวดล้อม อย่ำงต่อเน่ือง และเกิดผลในกำรเพิ่มพนู ควำมอดุ มสมบูรณ์ของทรัพยำกรธรรมชำติด้วยกศน.ตำบลบ้ำนเลือก หวังว่ำเอกสำรเล่มนคี้ งมปี ระโยชน์ต่อผู้อ่ำนและผ้ปู ฏบิ ัตงิ ำนตอ่ ไป กศน.ตำบลบ้ำนเลอื ก กมุ ภำพนั ธ์ 256๓

สำรบัญ คำนำ อรชร 1 สำรบญั 2 หนำ้ 3 กศน.ตำบลบ้ำนเลอื ก - กำรประดิษฐ์เครื่องทนุ แรง : นำยนอ้ ย กญั ญำ - ศิลปะวัฒนธรรมลำวเวียง : นำยรังสรรค์ เสลำหลกั - ช่ำงฝมี อื ด้ำนศลิ ปะงำนปัน้ และแกะสลักช่อฟ้ำใบระกำ : นำยประเสริฐ คณะผู้จดั ทำ

1 แบบบนั ทึกชดุ ขอ้ มูลคลังปัญญำ-ภูมิปัญญำท้องถิน่ ตำบลบ้ำนเลือก อำเภอโพธำรำม จงั หวัดรำชบุรี ชือ่ ภูมิปญั ญำ : ด้านการประดษิ ฐเ์ ครื่องทุนแรงจากวสั ดุเหลอื ใช้ ชื่อ นายนอ้ ย นำมสกุล กัญญา วันเดอื นปีเกิด : 23 สิงหาคม พ.ศ. 2507 ทอี่ ยู่ปัจจุบัน (ท่ีสำมำรถตดิ ต่อได)้ : 127 หม่ทู ี่ 6 ตาบล บ้านเลือก. อาเภอโพธาราม จังหวดั ราชบรุ ี รหสั ไปรษณีย์ 70120 โทรศพั ท์ : 0817265447 ควำมเป็นมำของบุคคลคลังปัญญำ นายน้อย กญั ญา ปราชญ์ ทางด้านการประดษิ ฐเ์ ครื่องทุนแรงจากวสั ดเุ หลอื ใช้มีทีม่ าจากการที่ตัวเอง นน้ั มีอาชพี ค้าขายของเกา่ ซึ่งจะมที ้งั เศษเหล็กและวัสดทุ ่ีเหลือใช้อีกมากมายและมีอยูช่ ่วงหนงึ่ เศรษฐกิจยา่ แย่ ไม่มีทางออกบ้านก็ต้องผ่อนรถยนตก์ ต็ ้องผอ่ นและลกู ๆกย็ งั อย่ใู นวยั เรียนและต้องใชเ้ งนิ ท้ังน้นั จนม่มีทางออก ของชวี ติ จึงลุกขน้ึ สู้อกี ครงั้ โดยนาวตั ถุดบิ ของตนเองท่ีเป็นเศษเหลก็ และวัสดเุ หลอื ใช้มาดดั แปลงเปน็ เคร่ือง รอ่ นขีไ้ ส้เดือนขายให้กับฟาร์มไสเ้ ดอื นตา่ งๆและก็ไดร้ บั การตอบสนองทางการตลาดเป็นอย่างดีโดยไดน้ าภูมิ ปญั ญาทางด้านอาชีพช่างเชือ่ มที่พอเป็นอยู่บ้างมาออกแบบเป็นผลติ ภัณฑ์ตา่ งๆในภาคเกษตรและ อสุ าหกรรมทาใหป้ จั ุจบันนนั้ สามารถเล้ียงครอบครัวไดอ้ ีกครง้ั สาหรบั คนทชี่ อบทางชา่ งบ้าง หรอื ชอบ อยูแ่ ลว้ มีทักษะทางชา่ ง หรอื มีอุปกรณ์พร้อม มาลุยกนั เลยครับผม (ผมก็ไมไ่ ดจ้ บทางชา่ งนะแตม่ ีประสบการณ์อยู่ บ้าง) สาหรบั เครื่องร่อนมลู ไส้เดือนจะเป็นแบบไหน กแ็ ลว้ แต่ละคนสะดวก วนั น้ีขอเสนอเคร่ืองร่อนมลู แบบ ใชไ้ ฟฟ้าเปน็ ตัวกาลังขับเคลื่อนแลว้ กนั ครับผมส่วนสาคญั ในการทางานของเคร่ืองจริงๆ มีอย่แู คส่ ามส่วนครับ ผม สว่ นแรกคือโครงสร้างรบั น้าหนัก ซึ่งจะทาเปน็ เหล็กหรือไม้ก็แลว้ แต่สะดวกกนั ครบั ผม (ภาพจะปนๆ กัน ระหว่างตัวเครื่องปจั จบุ นั และเครอื่ งเริ่มแรกๆ ทเ่ี ราทาครบั ผม) สว่ นของตะแกรงครบั เป็นตะแกรงเหล็กเพ่ือ ความคงทนและเคาะได้(เคาะไดเ้ ป็นจดุ ประสงค์หลักเลยครับผม) สว่ นใหก้ าลงั คือส่วนทท่ี าใหว้ งตะแกรง หมนุ นะครบั เราใชเ้ หลก็ กล่อง เพื่อให้มนี ้าหนกั เบา และแข็งแรง เพราะจุดประสงค์ของการสรา้ งตวั แรกขนึ้ มา คือ ต้องการเคล่ือนย้ายไดง้ า่ ยๆ ครบั ทากนั บ้าน บา้ นไหนจะร่อนก็ยกใส่รถยนต์ไปได้ส่วนของตัวผมไม่ใช่ ช่างนะครบั เพียงแตม่ ีพน้ื ฐานนิดหน่อย และไดท้ าบ่อยๆ แคน่ ้ันนะครับ จุดเดน่ ของภูมปิ ัญญำ - เปน็ แหลง่ ศกึ ษาดูงาน - เป็นสถานท่ีถา่ ยทอดความรู้ ส่งิ ท่ใี ชป้ ระโยชนใ์ นกำรฝกึ ฝนทีเ่ กดิ จำกภูมปิ ัญญำ ซึง่ พน้ื ท่ีอืน่ ไมม่ ี ไดแ้ ก่ - ออกแบบการใชง้ านโดยนาเทคโนโลยมี าดดั แปลงใหต้ รงกบั บริบทของงาน - นาวสั ดทุ เ่ี หลือใชใ้ นทอ้ งถ่ินราคาถูกนามาดดั แปลง

รำยละเอียดของภูมิปัญญำท้องถ่ิน - รูปแบบในการถา่ ยทอดความรู้ มีทงั้ การศึกษาดูงาน การเข้ารับการอบรมและฝึกปฏิบัติจริง เพอื่ นาประโยชนท์ ไี่ ด้รับไปปฏิบตั ใิ ชไ้ ด้จรงิ ในชีวติ ประจาวนั รูปแบบและลักษณะกำรถำ่ ยทอด กำรประชำสัมพันธ์ เผยแพรภ่ ูมิปัญญำท้องถน่ิ ยังไม่เคยมีการเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบุคคล / เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน มกี ารเผยแพร่ผ่านส่อื มวลชนและสื่ออยา่ งแพรห่ ลาย มีการดงู านจากบุคคลภายนอก จานวน................คร้ัง จานวน............คน มกี ารนาไปใช้ ในพ้ืนที่........10.......คน นอกพื้นท่ี....-......คน อ่นื ๆ (ระบ)ุ √ ลักษณะของภูมปิ ัญญำทอ้ งถน่ิ กำรพฒั นำตอ่ ยอดภูมิปัญญำใหเ้ ปน็ นวัตกรรม คุณค่ำ (มูลค่ำ) และควำมภำคภูมิใจ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ /นวัตกรรมท่ีคิดค้นขึ้นมาใหม่ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นดงั้ เดิมไดร้ บั การถา่ ยทอดมาจาก ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นท่ีได้พัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดมิ คอื ไม่มกี ารใชเ้ ทคโนโลยีเขา้ มาใช้ กำรพัฒนำต่อยอดคอื ออกแบบการใชง้ านโดยนาเทคโนโลยีมาดัดแปลงใหต้ รงกับบริบทของ งานนาวัสดทุ ่ีเหลือใช้ในท้องถ่ินราคาถูกนามาดดั แปลงใชท้ าเป็นเครอ่ื งทุนแรงในการทางานประกอบอาชีพ

3 ภำพถำ่ ยเจ้ำของภูมิปญั ญำ นายน้อย กัญญา (เจา้ ของภมู ปิ ัญญาประดิษฐเ์ ครือ่ งทุนแรงจากวัสดุเหลือใช้)

4 รูปภำพภมู ิปญั ญำ รูปภาพคลงั ปญั ญาทเี่ ข้ามาเรียนรูแ้ ละฝึกฝน การประดิษฐเ์ คร่อื งรอ่ นขไ้ี ส้เดือนจากวสั ดเุ หลือใช้

5 แบบบนั ทึกชดุ ข้อมลู คลังปัญญำ-ภมู ิปัญญำท้องถิน่ ตำบลบำ้ นเลือก อำเภอโพธำรำม จังหวดั รำชบุรี ชอ่ื ภูมปิ ญั ญำ : การอนุรักษว์ ฒั นธรรมลาวเวียง ชื่อ นายรงั สรรค์ นำมสกลุ เสลาหลกั วันเดอื นปเี กดิ : 10 กรกฏาคม พ.ศ.2498 ท่ีอยู่ปัจจุบัน (ท่ีสำมำรถตดิ ต่อได)้ : บ้านเลขท่ี 25 หมทู่ ี่ 3 ตาบลบา้ นเลือก อาเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี รหัสไปรษณีย์ 70120 โทรศัพท์ : 0959454479 ควำมเป็นมำของบคุ คลคลังปัญญำ คณุ ลงุ รงั สรรค์ไดเ้ ราใหเ้ ราฟังว่าทาไมถงึ ตอ้ งมกี ารรวบรวมวัฒนธรรมของชนพน้ื เมืองขึ้นคนลุงเราให้ฟังวา่ ลาวเวยี ง เป็นชอ่ื เรียกกลมุ่ คนทมี่ เี ชอ้ื สายลาว อพยพจากเมืองเวียงจันทน์ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย ประชาชนลาว แตบ่ างคนเรยี กวา่ “ลาวต้ี” เนอื่ งจากคนกลุ่มนจี้ ะมีคาลงท้ายประโยคว่า “ต้ี” เสมอ หอ วฒั นธรรมลาวเวียง แหลง่ เรยี นรชู้ มุ ชนตาบลบ้านเลอื ก มีจุดเริม่ ต้นมาจากแนวคิดของ ท่านพระครูโพธาราม พทิ กั ษ์ เจ้าคณะอาเภอโพธาราม เจา้ อาวาสวัดโบสถ์ ทป่ี ระสงค์จะจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ลาวเวียง โดยได้มอบ ศาลาการเปรียญวัดโบสถ์ให้เปน็ สถานทรี่ วบรวมขา้ วของเครื่องใชข้ องชมุ ชนและศลิ ปวัตถุที่แสดงถงึ วิถชี ีวติ ความเปน็ อยู่ของชาวลาวเวยี งในชมุ ชนบา้ นเลือกและใหใ้ ช้พื้นทีส่ ว่ นหนงึ่ ของศาลาการเปรียญจดั ทาหอ้ งสมุด ขน้ึ ดว้ ย จากคาบอกเล่าความเป็นมาของชาวลาวเวียงซง่ึ เปน็ ชาวบ้านเลือกโดยสว่ นใหญว่ ่า คนลาวเวียงเร่มิ อพยพเข้ามาอยู่ในราชบุรตี ้งั แตส่ มัยกรงุ ธนบุรีถึงสมัยต้นกรุงรตั นโกสนิ ทร์ แตก่ ารอพยพครงั้ ใหญ่ อยู่ในช่วงปี พ.ศ.๒๓๖๙ – ๒๓๗๑ เหตกุ ารณ์ครง้ั นั้นนาไปสู่การกวาดต้อนชาวลาวเวยี งและหวั เมอื งใกล้เคยี งมาไวใ้ นหัว เมอื งช้ันในเป็นจานวนมาก ทุกวันน้ีชาวลาวเวียงท่เี ปน็ กลุม่ คนร่นุ ใหม่ลืมความเป็นคนลาวเวียง ในเร่ืองภาษา วัฒนธรรมการแต่งกาย ทงิ้ ไว้เพยี งแต่คนรุ่นปู่ รุ่นยา่ ต้องคอยเป็นเสมอื นนาฬิกาทีค่ อยปลุกจติ สานึกคอยเตือน การอนรุ ักษว์ ฒั นธรรม เร่มิ ตน้ ง่ายๆ โดยการปลกู ฝังถา่ ยทอดข้อมลู ให้กบั เยาวชนคนรุน่ ใหม่ มีการรณรงค์ใหม้ ี การแตง่ กายชุดประจาถิ่นอยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละหนึ่งวัน เพ่ือใหค้ นลาวเวยี งไดม้ ีโอกาสช่นื ชมและย้อนอดีตของ ตนเองและมีการบรรจุหลักสูตรวัฒนธรรมลาวเวียงให้เป็นหลักสูตรท้องถิ่นหอวัฒนธรรมลาวเวยี งแหลง่ เรียนรู้ ชุมชนตาบลบ้านเลือก จดุ เดน่ ของภมู ิปัญญำ - เป็นแหลง่ ศกึ ษาดูงาน - เปน็ สถานทถี่ า่ ยทอดความรู้ วัตถดุ บิ ทใ่ี ชป้ ระโยชนใ์ นกำรผลิตภัณฑ์ท่เี กดิ จำกภมู ิปัญญำ ซ่ึงพ้นื ทีอ่ นื่ ไม่มี ได้แก่ - มกี ารบรรจุหลกั สตู รวัฒนธรรมลาวเวียงใหเ้ ปน็ หลักสตู รท้องถนิ่ หอวัฒนธรรมลาวเวยี ง - เป็นสถานท่ีรวบรวมขา้ วของเครอ่ื งใช้ของชุมชนและศิลปะวัตถุทแ่ี สดงถงึ วถิ ชี วี ิตความเป็นอยู่ของ ชาวลาวเวยี งในชมุ ชนบา้ นเลือก

6 รำยละเอยี ดของภูมปิ ญั ญำทอ้ งถ่ิน - รูปแบบในการถา่ ยทอดความรู้ มีทัง้ การศึกษาดงู าน การเข้ารับการอบรมและฝึกปฏิบัตจิ รงิ เพื่อนาประโยชน์ทไ่ี ด้รบั ไปปฏบิ ัตใิ ช้ไดจ้ รงิ ในชีวติ ประจาวนั รปู แบบและลักษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสัมพนั ธ์ เผยแพร่ภูมปิ ัญญำท้องถ่ิน ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มกี ารเผยแพรผ่ า่ นสอื่ มวลชนและสื่ออยา่ งแพรห่ ลาย มีการดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวน........20........ครงั้ จานวน.......300......คน มกี ารนาไปใช้ ในพื้นท่.ี .......10.......คน นอกพ้นื ท.ี่ ...-.....คน อื่นๆ (ระบุ) ลักษณะของภูมปิ ญั ญำท้องถ่นิ กำรพฒั นำตอ่ ยอดภูมิปญั ญำใหเ้ ปน็ นวตั กรรม คณุ ค่ำ (มูลค่ำ) และควำมภำคภูมิใจ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ /นวัตกรรมทคี่ ิดค้นข้ึนมาใหม่ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ดั้งเดมิ ไดร้ บั การถา่ ยทอดมาจาก ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินที่ได้พัฒนาและต่อยอด แบบเดมิ คอื มีการรกั ษาแตล่ ะประเพณแี บบด้ังเดมิ โบราณ กำรพัฒนำตอ่ ยอดคือ เป็นสถานท่รี วบรวมขา้ วของเครื่องใช้ของชุมชนและศิลปะวตั ถทุ ่ีแสดงถึง วิถชี วี ิตความเป็นอยขู่ องชาวลาวเวยี งในชมุ ชนบา้ นเลือกโดยมคี ุณลงุ รังสรรค์ เสลาหลักปน็ แกนนาหลกั และ ใหใ้ ช้พ้ืนท่สี ่วนหนึง่ ของศาลาการเปรยี ญจดั ทาห้องสมุดข้นึ ดว้ ย ปี 2554 TK park และพอช. ได้ร่วมประชุม และแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นกบั ผนู้ าชุมชน ครู และทกุ ฝ่ายท่ีเก่ยี วข้อง เพ่ือจัดทาห้องสมุดของชมุ ชนอย่าง ต่อเนอ่ื ง นอกจากนั้น เม่ือเดอื นสงิ หาคม 2554 ยังไดจ้ ัดค่ายกจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ให้แกนนา ชมุ ชนกศน.ตาบลบ้านเลอื กเข้ามาเปน็ แกนหลักและเยาวชนผคู้ ดิ รเิ รม่ิ ทจี่ ะจัดทาแหล่งเรยี นร้ใู กลบ้ า้ น ได้ ร่วมกนั คดิ และทดลองจดั ทา “ห้องสมุดมีชีวติ ” ท้งั ดา้ นการจัดหมวดหมูห่ นังสือและส่ือรวมท้ังจัดกจิ กรรม สง่ เสริมการอ่านการเรียนรู้ เพอื่ นาไปประยกุ ตใ์ ช้ในแตล่ ะพ้นื ท่ี ในสว่ นของชาวชุมชนบา้ นเลือก ได้รว่ มมือ รว่ มใจกันสรา้ งสรรค์ “หอ้ งสมดุ มชี วี ิต” แหลง่ รียนรู้ใกลบ้ า้ น ในชือ่ “หอวัฒนธรรมลาวเวยี ง ศนู ยเ์ รยี นรูช้ ุมชน ตาบลบ้านเลอื ก” เพ่ือใหบ้ ริการแก่เยาวชนและชาวบ้านในพน้ื ท่แี ละชมุ ชนใกล้เคียง โดยมพี ิธีเปิดอยา่ งเป็น ทางการเม่อื วันอาทติ ย์ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ 2555 ท่ีผ่านมา นายธวชั ชัย วิสมล นายอาเภอโพธาราม ประธานใน พิธเี ปดิ กลา่ วว่า การเปดิ ศูนยเ์ รียนรู้ชมุ ชนฯ ข้นึ ในพนื้ ที่จะทาให้การสืบทอดวฒั นธรรมประเพณีดัง้ เดมิ ของ ชาวลาวเวยี งเกิดขึน้ ได้จรงิ โดยจะมีการนาภมู ิปญั ญาของชาวลาวเวยี งมารวบรวมเกบ็ รกั ษาไว้ ณ ศูนย์การ เรยี นรู้แห่งน้ี เพ่ือถา่ ยทอดสู่คนรุ่นลกู รุน่ หลานตอ่ ไป เพราะหากไม่มีการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสคู่ นอีกรนุ่ หนึ่งแล้ว เช่ือว่าภมู ิปัญญาและวัฒนธรรมดังกลา่ วจะสูญหายไปได้ “ จงึ อยากให้คนท่ีมคี วามร้เู ก่ียวกับ

ขนบธรรมเนียมประเพณีดง้ั เดิมของชาวลาวเวยี ง ได้มกี ารบันทึกไว้เปน็ ลายลักษณ์อกั ษรและนามาเกบ็ ไว้ทห่ี อ วัฒนธรรมลาวเวียง หรอื ศูนยก์ ารเรียนรแู้ ห่งน้ี เพ่ือที่จะถา่ ยทอดใหก้ ับคนรนุ่ ต่อๆ ไป นอกจากนก้ี ็ต้อง ชว่ ยกันชกั ชวนลกู หลานเข้ามาสมั ผสั กบั วฒั นธรรมประเพณีท่ีดีงาม ไมว่ า่ จะเปน็ เร่ืองของงานฝีมอื การทอ ศิลปะการร่ายรา และเพลงของชาวลาวเวียง เพื่อให้วัฒนธรรมของชาวลาวเวยี งอยู่คชู่ มุ ชนตลอดไป” ถ่ำยภำพของภูมิปญั ญำ นายรงั สรรค์ เสลาหลัก (เจา้ ของภมู ปิ ญั ญาการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมลาวเวยี ง)

9 รูปภำพภูมปิ ัญญำ ประเพณจี ดุ ใต้นา้ มนั ที่เดยี วในประเทศไทย ทร่ี วบรวมภูมปิ ญํ ญาตา่ งๆของลาวเวยี งบ้านเลอื ก

10 แบบบนั ทึกชุดข้อมูลคลังปัญญำ-ภมู ปิ ัญญำทอ้ งถิ่น ตำบลบำ้ นเลือก อำเภอโพธำรำม จงั หวดั รำชบรุ ี ชอื่ ภูมปิ ัญญำ : การแก้ไขปญํ หาหนี้นอกระบบภายในชุมชน ชื่อ นายวเิ ชยี ร นำมสกลุ ภ่รู ะหงษ์ วนั เดอื นปเี กดิ : 22 กรกฏาคม พ.ศ.2487 ท่ีอยู่ปัจจบุ นั (ทสี่ ำมำรถตดิ ต่อได)้ บ้านเลขที่ 19 หมู่ท่ี 9 ตาบลบ้านเลอื ก อาเภอโพธาราม จังหวดั ราชบุรี รหัสไปรณยี ์ 70120 โทรศัพท์ : 0801065354 ควำมเปน็ มำของบคุ คลคลงั ปัญญำ ทา่ นอาจารยว์ ิเชียร ภรู่ ะหงษ์ เล่าว่าในสมยั ก่อนมีพวกหมวกกนั นอ๊ คเขา้ มาในหมู่บ้านกันเยอะมา ปลอ่ ยเงินกู้ท่มี ีดอกเบ้ียราคาแพงและชาวบ้านต้องมาจา่ ยดอกประจาทีว่ ัดพระศรอี ารย์จึงไดน้ าเร่อื งราวต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชมุ ชนไปปรกึ ษากับท่านหลวงพอ่ สง่าเจา้ อาวาสจงึ เกดิ แนวทางแก้ไขปัญหาข้ึนมาวา่ เมื่อชุมชน ระดบั รากหญ้าผนกึ พลัง สร้างสามัคคเี กดิ ขึ้น นน่ั หมายถงึ เกราะปอ้ งกนั ท่ดี ี เมอ่ื รากหญา้ เหลา่ น้ันมารวมกลม เกลียวกนั จะทาใหล้ าต้น กิง่ ก้าน ใบ มั่นคงแข็งแรง ยากทศ่ี ัตรูจะรกุ ราน เฉกเช่นเดียวกับประเทศไทยหาก คนในสงั คมมคี วามรักและสามัคคีกนั เป็นอันหน่ึงอันเดยี วกันโดยเร่มิ จากจุดเล็กๆ กท็ าใหเ้ กิดความเข้มแข็ง ขึน้ อย่างยัง่ ยนื ได้... 'ธนาคารหมูบ่ า้ น' เปน็ อีกหนึ่งในแนวพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ที่ ใหช้ าวบ้านเกดิ ความร้รู ักสามัคคกี ันระหว่างคนในชุมชน และสามารถยกระดบั ฐานะของชาวบ้านตามท่ีชุมชน ไดห้ ลักเศรษฐกจิ พอเพียงได้ เพราะเกิดจากการเกอื้ กลู ช่วยเหลอื กนั ของคนในหม่บู า้ น โดยไมม่ นี ายทุนคอย มาเอารดั เอาเปรียบคนในชมุ ชนท้งั ยงั ปลกู สรา้ งจติ สานักของคนในชมุ ชนใหร้ จู้ ักประหยัดอดออม และขยัน สร้างรายได้อย่างสจุ รติ อีกด้วยธนาคารหมู่บา้ นเกดิ จากการหลอมรวมกลมุ่ ของคนระแวกแถบเดียวกันจัดตั้ง เพ่อื ชว่ ยเหลอื สมาชิกภายในหมูบ่ ้าน ในด้านเศรฐกจิ ดา้ นความรขู้ องการประกอบอาชพี การออมทรัพย์ ภายในครอบครวั และ เปน็ แหล่งเงินทุนสารอง พรอ้ มกับยกระดบั ความเปน็ อยใู่ หด้ ีขนึ้ ตัวอย่าง ธนาคาร ชมุ ชนหมูบ่ ้าน ท่ีจดั ต้ังและประสบความสาเร็จ “ธนาคารชุมชนหมูบ่ า้ นวดั พระศรีอารยม์ . ๙ ต.บา้ นเลือก อ.โพธาราม จังหวดั ราชบุรี ซง่ึ เป็นอกี หนึ่งธนาคารหมู่บา้ นที่ประสบความสาเร็จเปน็ อยา่ งมากในการและ ดาเนนิ งาน นายวิเชียร ภู่ระหงษ์ หัวหนา้ ธนาคารหม่บู า้ นทีจดุ เริ่มตน้ ไดใ้ นชว่ งปี พ.ศ.2545-พ.ศ.2546 เพราะชว่ งนัน้ มโี ครงการกองทุนเงนิ ลา้ นช่วยเหลอื หมู่บ้านของนายกทกั ษณิ ชาวบา้ นก็ได้ลงความเห็นวา่ น่าจะนาเงินช่วยเหลือหมู่บ้านทไ่ี ดม้ า นามาจดั ตงั้ ธนาคารของชาวบา้ น และพวกชาวบ้านกด็ าเนินงาน จุดเด่นของภูมิปัญญำ - เป็นแหลง่ ศกึ ษาดงู าน - เปน็ สถานทถ่ี า่ ยทอดความรู้ - เป็นการสร้างรายได้และหนีน้ อกระบบใหก้ บั ครอบครัวไดเ้ ป็นอย่างดี วัตถุดิบทีใ่ ช้ประโยชนใ์ นกำรผลิตภณั ฑ์ท่เี กิดจำกภูมปิ ัญญำ ซึ่งพน้ื ท่ีอ่ืนไมม่ ี ไดแ้ ก่ - เป็นการนาวัสดจุ ากธรรมชาติคอื ต้นไม้ใหญ่คือต้นยางนามาทาแบบ - เปน็ การนาแบบแกะหรือหล่อท่ีได้มาจากแผน่ ไม้ในทอ้

รำยละเอยี ดของภูมปิ ัญญำทอ้ งถิ่น - รูปแบบในการถา่ ยทอดความรู้ มที งั้ การศกึ ษาดงู าน การเข้ารับการอบรมและฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ - เพอ่ื นาประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับไปปฏบิ ตั ใิ ช้ได้จรงิ ในชวี ติ ประจาวัน รูปแบบและลกั ษณะกำรถำ่ ยทอด กำรประชำสมั พันธ์ เผยแพร่ภมู ิปัญญำท้องถิน่ ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร่/ ใชเ้ ฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มีการเผยแพรผ่ า่ นสือ่ มวลชนและสอื่ อยา่ งแพรห่ ลาย มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน........6........ครงั้ จานวน.......25......คน มกี ารนาไปใช้ ในพ้นื ที่........-.......คน นอกพนื้ ที่....-.....คน อ่นื ๆ (ระบุ) ลกั ษณะของภูมิปัญญำท้องถิ่น กำรพฒั นำตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญำใหเ้ ป็นนวัตกรรม คณุ ค่ำ (มูลค่ำ) และควำมภำคภมู ิใจ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน/นวัตกรรมทคี่ ดิ คน้ ข้นึ มาใหม่ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ดัง้ เดิมไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจาก ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ท่ีไดพ้ ัฒนาและต่อยอด แบบเดมิ คอื ไม่มกี ารวางแผนค่าใชจ้ า่ ยในครวั เรือนมปี ญั หานอกระบบในชุมชน กำรพัฒนำต่อยอดคือ เป็นการแก้ไขได้ตรงจดุ และมีการรวมกลมุ่ มีความสามัคคภี ายในชมุ ชน เปน็ การบรหิ ารโดยชมุ ชนดาเนนิ การในเร่ืองของธนาคารชมุ ชนด้วยตนเอง

12 ถ่ำยภำพเจ้ำของภมู ิปญั ญำ นายวิเชียร ภรู่ ะหงษ์ (เจ้าของภูมิปญั ญาการแกไ้ ขปัญหาหนีน้ อกระบบภายในชมุ ชน)

13 รปู ภำพภมู ปิ ัญญำ มกี ารประชุมคณะทางานภายในชมุ ชนและมีการจดั สรรเงนิ ปันผลอยา่ งเป็นระบบขนั้ ตอน

ที่ปรกึ ษำ คณะผจู้ ัดทำ นางสนุ ันทา โนรสี วุ รรณ นางโสภิญา ศรีทอง ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอโพธาราม ครู อาสาสมัคร ฯ รำ่ ง/เรียบเรยี งและจดั ทำ ครู กศน.ตาบลบ้านเลอื ก นายกติ ติ พุทธา