Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสาร-แนวปฎิบัติที่ดี-ปี-59-1 ครูใหม่

เอกสาร-แนวปฎิบัติที่ดี-ปี-59-1 ครูใหม่

Description: เอกสาร-แนวปฎิบัติที่ดี-ปี-59-1 ครูใหม่

Search

Read the Text Version

เรอ่ื ง ฝา้ ยศักดิ์สทิ ธ์ิ ในคืนจันทรปุ ราคา นางสาวสจุ ิวรรณ จอนู ศูนยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา“แมฟ่ ้าหลวง”บ้านหว้ ยไก่ปา่ หม่ทู ่ี ๑๔ ตาบลแมต่ ืน่ อาเภออมก๋อย จงั หวดั เชียงใหม่ สงั กัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภออมกอ๋ ย แนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี ดา้ นการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมทอ้ งถิ่น

แนวปฏบิ ตั ทิ ีด่ ี ดา้ นการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมท้องถ่ิน ฝ้ายศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ในคืนจนั ทรุปราคา ผ้ศู กึ ษา นางสาวสจุ วิ รรณ จอนู นางสาวบัวจนั ทร์ สรณ์สริ ิศภุ ทนิ สถานศึกษา ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “ แม่ฟ้าหลวง ” บ้านหว้ ยไก่ปา่ หมู่ท่ี ๖ ตาบลแม่ตื่น อาเภออมกอ๋ ย จงั หวดั เชยี งใหม่ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภออมก๋อย สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดเชียงใหม่ บทคดั ยอ่ แนวปฏิบัติที่ดีด้านการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น เร่ือง ฝ้ายศักดิ์สิทธิ์ ในคืนจันทรุปราคา เป็นการ นาเอาความเช่ือเกี่ยวกับการป่ันฝ้าย มาส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งเป็น วัฒนธรรมที่ชาวบ้านยึดถือปฏิบัติกันมาในเรื่องความเชื่อเก่ียวกับการปั่นฝ้ายในคืนที่มีจันทรุปราคาหรือ ในเดือนน้ัน ท่ีเชื่อว่าจะทาให้ฝ้ายมีความศักด์ิสิทธิ์ เม่ือนาฝ้ายมาใช้ในพิธีผู้ข้อมือในวันข้ึนปีใหม่ของ ชาวกะเหรี่ยง พิธีแต่งงาน หรือทาฝ้ายสายสิญจน์ต่าง ๆ หรือนาฝ้ายท่ีป่ันมาแปรรูปเป็นเส้ือ กระเป๋า ผ้าซ่ิน ฯลฯ ซ่ึงผลิตภัณฑ์ที่ได้ออกมาน้ันมีความเช่ือว่าเวลานาไปใช้หรือสวมใส่จะทาให้คนท่ีสวมใส่อยู่เย็นเป็นสุข พ้นจากโรคภยั ไข้เจ็บต่าง ๆ ส่ิงท่ีไม่ดีจะไม่เข้าใกล้ตัวเรา หรือเอาไว้ที่บ้านก็จะทาให้บ้านรม่ เย็นอยดู่ ีมีสขุ ทกุ คน พ้นภัยอันตรายต่าง ๆ และมีเสน่ห์ต่อผู้ท่ีพบเห็น โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ๑) รวบรวมบันทึกความเช่ือเร่ือง การปนั่ ฝา้ ยศักด์ิสทิ ธ์ิในคืนท่ีมจี นั ทรปุ ราคา ๒) จดั กิจกรรมการเรียนรู้และฝึกทักษะการปัน่ ฝา้ ย และ ๓) สบื สาน ประเพณีวัฒนธรรมของท้องถ่ินในการปั่นฝ้ายให้คงอยู่ในวิถีชีวิตของคนในชุมชน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย จานวน ๒๘ คนได้แก่ ๑) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ของ ศศช.จานวน ๑๘ คน และ ๒) นักศึกษา กศน. ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นและมธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๑o คน ดาเนินการศึกษาโดยทาประชาคมกับชาวบ้าน ห้วยไก่ป่า และร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรม เรื่อง การปั่นฝ้ายศักด์ิสิทธใ์ิ นคืนจันทรุปราคา โดยเริ่มจากการ จดั กิจกรรมการเรียนการสอนใน ศศช. โดยครใู ห้นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ จานวน ๑๘ คน สัมภาษณ์ บดิ ามารดาและผ้รู ู้เก่ยี วกับความเชอ่ื เรอื่ งการป่ันฝ้ายศกั ด์ิสิทธ์ิในคนื จันทรุปราคา เพ่อื รวบรวมและบันทกึ ข้อมูล แล้วนาข้อมูลที่ได้มาเล่าเป็นนิทานและวาดภาพระบายสีเก่ียวกับการป่ันฝ้ายในคืนจันทรุปราคา สาหรับกลุ่ม นักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้ศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อเร่ือง การป่ันฝา้ ยในคืนจนั ทรปุ ราคา พันธุ์ฝ้าย วธิ ีปลูก การเก็บเกยี่ วและวธิ กี ารป่ันฝ้าย แล้วให้นักศึกษาเขียนบันทึก ผลการเรียนรู้ส่งครู จากนั้นครูจัดกิกรรมการเรียนการสอนเร่ือง การปั่นฝ้ายโดยเชิญปราชญ์ชาวบ้าน มาให้ความรู้ สรุปองค์ความรู้ และตอบข้อซักถามของผู้เรียนเก่ียวกับการปั่นฝ้ายในคืนจันทรุปราคา ครู

มอบหมายให้ผเู้ รียนไปเรียนรู้และฝกึ ทกั ษะการป่นั ฝา้ ยจากผู้ปกครองและผูร้ ู้จนสามารถป่ันฝ้ายเป็น จากน้ันให้ ผู้เรียนแตล่ ะคนเข้ารับการประเมินโดยการทดสอบการปนั่ ฝ้ายกบั ปราชญ์ชาวบ้าน ผลการดาเนินงาน พ บว่า ผู้เรียน สามารถรวบรวมบันทึกความเช่ือการปั่น ฝ้ายศักดิ์สิทธิ์ ในคืนจันทรุปราคาทาให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความเช่ือการป่ันฝ้ายศักดิ์สิทธ์ิในคืนจันทรุปราคา และมี ทักษะสามารถป่นั ฝ้ายได้ จานวน ๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๑๔ นอกจากน้ีผเู้ รียนยังเกิดความภาคภูมิใจและ เห็นคุณค่าความสาคัญของวัฒนธรรมของตนเอง ส่งผลให้เกิดการอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมที่ดีงามของ ชุมชนให้คงอยู่สืบไป มีความศรัทธาต่อปราชญ์ชาวบ้านในท้องถิ่นของตนเอง เป็นกิจกรรมภายในครอบครัว ให้เกิดความรักความสามัคคีความสมั พันธ์ท่ีดีระหว่างกนั ภายในครอบครัวและชมุ ชน ในการดาเนินโครงการน้ี พบว่าไม่สามารถจัดกิจกรรมได้ทุกปี เนื่องจากการเกดิ จันทรุปราคาเปน็ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติไม่สามารถ ควบคุมได้ อีกทั้งในช่วงที่เกิดจันทรุปราคาก็ไม่มีฝ้ายสาหรับการปั่น เพราะว่าการปั่นฝ้ายหมดช่วงไปแล้ว นอกจากน้ีคนในชมุ ชนบางคนป่ันฝา้ ยไม่เปน็ ส่งผลให้การจดั กจิ กรรมภาคปฏบิ ตั ิต้องรอเวลาในการศกึ ษา วธิ กี าร แก้ไขควรตดิ ตามข่าวสารเก่ียวกบั การเกิดจนั ทรปุ ราคา จากส่ือต่าง ๆ และควรเตรยี มวสั ดุให้พร้อม อีกท้งั คนใน ชุมชนต้องฝึกการป่ันฝ้ายให้ได้ก่อน นอกจากน้ียังพบว่า ฝ้ายท่ปี ่ันในคืนทีม่ ีจันทรุปราคา เป็นท่ีต้องการของชาว กะเหร่ียงเป็นอย่างมาก ทาให้มีราคาสูงกว่าฝ้ายทั่วไป จึงเป็นแรงจูงใจให้ชาวบ้านสนใจท่ีจะปั่นฝ้ายในคืนที่มี จนั ทรปุ ราคา ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา สมยั บรรพบุรุษได้ปลกู ฝา้ ยไวใ้ นไร่ข้าวของตนเอง แล้วนามาปนั่ เปน็ เสน้ ฝ้าย และทอ ออกมาเป็นเสือ้ ผ้า และย่าม นอกจากนี้ยังนาฝ้ายมาใช้ในการทาพิธกี รรมต่าง ๆ ได้แก่ ใชใ้ นการประกอบพธิ ีงานมงคล เช่น การทา พิธีผูกข้อมือในวันขึ้นปีใหม่ ทาฝ้ายสายสิญจน์ และงานอวมงคล เช่นการประกอบพิธีงานศพ ความเช่ือเร่ือง การป่ันฝ้ายในคนื ท่ีมจี ันทรุปราคาหรือภายในเดือนนัน้ เชื่อวา่ จะทาให้ฝ้ายมีความศักดิ์สิทธ์ิ เมื่อนาฝ้ายมาใชใ้ น พธิ ีผ้ขู ้อมือในวันขน้ึ ปีใหม่ของชาวกะเหร่ียง พธิ ีแต่งงาน หรอื ทาฝ้ายสายสิญจน์ต่าง ๆ หรือนาฝ้ายทปี่ ั่นมาแปร รูปเป็นเสอื้ กระเป๋า ผา้ ซิ่น ฯลฯ ซึ่งผลิตภณั ฑ์ทีไ่ ด้ออกมานัน้ มีความเชื่อวา่ เวลานาไปใชห้ รอื สวมใส่จะทาใหค้ นที่ สวมใส่อยู่เย็นเปน็ สุข พ้นจากโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ สิ่งท่ีไมด่ ีจะไม่เข้าใกล้ตัวเรา หรือเอาไว้ท่ีบ้านก็จะทาให้บ้าน ร่มเย็นอยูด่ มี ีสขุ ทกุ คน พน้ ภัยอันตรายต่าง ๆ และมเี สน่ห์ตอ่ ผทู้ พ่ี บเห็น ในปัจจุบันนี้ความเช่ือการปัน่ ฝ้ายศักด์สิ ิทธิ์ในคืนจนั ทรปุ ราคากาลังจะหายไปรวมถึงการทอผ้า การแต่ง กาย ด้วยผ้าฝ้ายทอมือลดนอ้ ยลง เนอ่ื งจากสมัยใหมม่ ี ส่ือ เทคโนโลยเี ข้ามาเก่ยี วข้องในการดารงชีวิตของคนใน ชุมชน มีการเลียนแบบในการแต่งกาย ของคนพ้ืนราบ ทาให้เยาวชน ผปู้ กครองไมใ่ ส่ใจในวัฒนธรรมด่ังเดิมของ ตนเอง สืบเนื่องมาจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีทรงเห็นว่าพื้นท่ีเป้าหมายในการ พัฒนาตามโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดาร เป็นชุมชนท่ีก่อตั้งมานานมีความหลายหลายทาง วฒั นธรรมประเพณีตลอดจนภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ของกล่มุ ชาติพันธุน์ ั้น ๆ ให้คงไว้ในชุมชน นั้นสืบต่อไป

ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทย “แม่ฟา้ หลวง” บ้านห้วยไกป่ ่า ตระหนักถึงความสาคัญของการอนุรกั ษ์ สบื สานประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาเก่ยี วกับการปั่นฝ้ายศักดิ์สทิ ธ์ิ ในคืนที่มีจนั ทรุปราคา ดังน้ันจงึ ได้มี การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเร่ืองการป่ันฝ้ายศักด์ิสิทธ์ิ ในคืนจันทรุปราคา เพ่ือฟื้นฟูวัฒนธรรมของชุมชน ท้องถิ่น ด้านความเชอ่ื และสง่ิ ทอให้คงอยกู่ ับเยาวชนคนรุ่นหลังได้สืบทอดต่อไป และสอดคล้องกับแผนพัฒนา เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบบั ท่ี ๔ (พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๙) ตามวัตถุประสงค์ที่ ๖ เสริมสรา้ งศักยภาพของเดก็ และเยาวชนในการอนุรกั ษ์ สบื ทอดวฒั นธรรมภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ ๑) เพ่ือรวบรวมบันทึกความเชือ่ การป่นั ฝา้ ยศกั ดสิ์ ิทธใิ์ นคืนทีม่ จี ันทรปุ ราคา ๒) เพือ่ จดั กิจกรรมการเรียนรู้และฝึกทักษะการปัน่ ฝา้ ย ๓) เพือ่ สืบสานประเพณีวัฒนธรรมของท้องถ่นิ ในการปน่ั ฝ้ายให้คงอย่ใู นวถิ ีชวี ติ ของคนในชุมชน เปา้ หมาย เชิงปริมาณ ๑) นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๖ ของ ศศช. จานวน ๑๘ คน ๒) นกั ศึกษา กศน. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นและระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน ๑o คน เชงิ คณุ ภาพ ๑) ผเู้ รียนมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับวฒั นธรรมการปน่ั ฝ้ายในคนื ทม่ี ีจันทรุปราคา ๒) ผูเ้ รยี นมีทักษะในการปัน่ ฝา้ ย ๓) ผูเ้ รียนเห็นคุณค่าในวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ของชมุ ชน วิธกี ารจัดกิจกรรม ๑) ครู ศศช.บ้านห้วยไก่ป่า ทาประชาคมกับชาวบ้านห้วยไก่ป่าร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรม เรื่อง การปน่ั ฝา้ ยศักดิ์สทิ ธิ์ ในคืนจนั ทรุปราคา

๒) ครูให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ จานวน ๑๘ คน สัมภาษณ์บิดามารดา และผู้รู้ เก่ียวกับ ความเช่อื เรอื่ ง การปั่นฝา้ ยศกั ดิ์สทิ ธ์ิ ในคืนจันทรุปราคา เพือ่ รวบรวม และบันทึกข้อมลู แล้วนาข้อมูลทไ่ี ดม้ าเล่า เปน็ นิทาน และวาดภาพระบายสเี กยี่ วกับการป่ันฝ้ายในคนื จนั ทรปุ ราคา ๓) ครูให้กลุ่มนกั ศกึ ษา กศน. ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๑๐คน ไป ศกึ ษาเก่ยี วกบั ความเช่ือเรือ่ ง การป่นั ฝ้ายในคืนจนั ทรุปราคา พนั ธฝ์ุ ้าย วิธีปลูกฝา้ ย การเก็บเก่ยี วฝ้ายและวิธีการ ปน่ั ฝา้ ย แลว้ ใหน้ กั ศึกษาเขียนบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ส่งครู ๔) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเร่ือง การปั่นฝ้ายในคืนจันทรุปราคาโดยเชิญปราชญ์ชาวบ้านมาให้ ความรู้ สรปุ องคค์ วามรู้ และตอบขอ้ ซักถามของผเู้ รยี นเกีย่ วกบั การป่ันฝ้ายในคืนจันทรุปราคา ๕) ครูมอบหมายให้ผเู้ รียนไปเรยี นรแู้ ละฝึกทักษะการป่นั ฝ้ายจากผูป้ กครอง และผรู้ ูจ้ นสามารถปั่นฝ้าย เปน็ จากน้นั ให้ผู้เรียนแตล่ ะคนเขา้ รบั การประเมิน โดยทดสอบการป่ันฝ้ายกบั ปราชญช์ าวบ้าน

ผลท่ีเกดิ กับผูเ้ รียนและชุมชน ผลท่ีเกดิ กบั ผเู้ รยี น ผู้เรียนสามารถรวบรวมบันทึกความเชื่อการปั่นฝ้ายศักด์ิสิทธิ์ ในคืนจันทรุปราคาทาให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความเชอื่ การป่ันฝา้ ยศกั ดิ์สิทธิ์ ในคืนจนั ทรุปราคา และมีทักษะสามารถปั่นฝ้ายได้ จานวน ๒๓ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๒.๑๔ ผลทเ่ี กิดกบั ชุมชน ผู้เรียนยงั เกิดความภาคภูมิใจและเหน็ คณุ ค่าความสาคัญของวัฒนธรรมของตนเอง ส่งผลใหเ้ กดิ การ อนรุ ักษแ์ ละสืบทอดวฒั นธรรมที่ดีงามของชุมชนให้คงอย่สู ืบไป มคี วามศรทั ธาต่อปราชญ์ชาวบ้านในท้องถ่ินของ ตนเอง เป็นกิจกรรมภายในครอบครัว ทาให้เกิดความรักความสามัคคีความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างกันภายใน ครอบครวั และชุมชน นอกจากนี้ยังพบว่า ฝา้ ยทป่ี ่ันในคืนทมี่ ีจันทรุปราคา เป็นทตี่ อ้ งการของชาวกะเหรย่ี งเปน็ อยา่ งมาก ทาใหม้ รี าคาสูงกวา่ ฝา้ ยท่วั ไป จงึ เป็นแรงจงู ใจให้ชาวบา้ นสนใจท่จี ะปั่นฝ้ายในคนื ที่มจี ันทรปุ ราคา ปัญหา-อุปสรรคและวธิ ีแกไ้ ข ปัญหา อปุ สรรค การป่ันฝ้ายในคืนท่ีมีจันทรุปราคา ไม่สามารถจัดกิจกรรมได้ทุกปี เน่ืองจากการเกิดจันทรุปราคาเป็น ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติไม่สามารถควบคุมได้ อีกท้ังในช่วงที่เกิดจันทรุปราคาก็ไม่มีฝ้ายสาหรับการปั่น เพราะว่าการป่ันฝ้ายหมดช่วงไปแล้ว นอกจากน้ีคนในชุมชนบางคนป่ันฝ้ายไม่เป็นส่งผลให้การจัดกิจกรรม ภาคปฏบิ ตั ติ อ้ งรอเวลาในการศึกษา วิธีการแกไ้ ข ควรติดตามข่าวสารเก่ียวกับการเกิดจันทรุปราคา จากสื่อต่าง ๆ และควรเตรียมวัสดุให้พร้อม อกี ท้ังคนในชมุ ชนต้องฝกึ การป่นั ฝ้ายใหไ้ ดก้ อ่ น การเผยแพร่ ๑ ) จัดทามุมการเรียนรู้เรื่อง การปั่นฝ้าย ในศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บา้ นห้วยไก่ป่าโดยมนี กั เรยี นในศศช.เป็นผู้สาธติ เปิดให้บคุ คลท่ัวไปเข้าชมศกึ ษา ๒ ) จัดทาเอกสารแผ่นพับให้กับคณะท่เี ยยี่ มชม ๓ ) เผยแพร่ทาง web site ของ กศน.อาเภออมก๋อยและสานกั งาน กศน.จังหวดั เชียงใหม่

แนวทางการพฒั นาต่อเนอื่ ง ๑ ) ส่งเสรมิ ให้เดก็ นักเรยี นใน ศศช.และนักศึกษา กศน. และคนในหมบู่ ้านทุกคนป่นั ฝ้ายใหเ้ ป็น ๒ ) สง่ เสริมใหค้ นในชมุ ชนอนุรักษ์การปลูกฝา้ ยในไรข่ ้าวตอ่ ไป เพอ่ื จะไดม้ ีฝ้ายใชต้ ลอดไป ๓ ) ผลิต ผลิตภัณฑ์จากการฝ้ายศักดิ์สิทธิ์เพิ่มข้ึน เช่น เส้นฝ้ายส่ิงทอต่างๆ เพ่ือสร้างรายได้ให้กับ ครอบครัว เอกสารอ้างองิ -โครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี,สานกั งาน.แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนใน ถ่ินทุรกันดารตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๔ พ.ศ.๒๕๕๐- ๒๕๕๙.กรงุ เทพ: บรษิ ทั อมรินทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนดพ์ ับลชิ่ ชง่ิ จากดั (มหาชน),๒๕๕๑

รปู ภาพการต่อยอดสู่ชมุ ชน