ค ว า ม รู้ เ บื้อ ง ต้ น ท า ง รั ฐ ศ า ส ต ร์ 2134109 ผ ศ . ด ร . ชั ย วั ฒ น์ โ ย ธี ห ลั ก สู ต ร รั ฐ ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต ม . ร า ช ภั ฏ ย ะ ล า
คำอธิบำยรำยวิชำ ขอบขำ่ ยและวธิ ีกำรศกึ ษำทำงรฐั ศำสตร์ ควำมสมั พนั ธร์ ะหว่ำงวชิ ำ รฐั ศำสตรก์ บั สำขำวิชำอ่ืน ควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งรฐั กบั ประชำชน และ ระหวำ่ งอำนำจกบั กฎหมำย กระบวนกำรทำงกำรเมือง รฐั บำล รฐั สภำ พรรคกำรเมือง กลมุ่ ผลประโยชน์ กลมุ่ อทิ ธิพล ลทั ธิและอดุ มกำรณท์ ำง กำรเมืองท่ีสำคญั
แบบทดสอบก่อนเรียน 1. วิชำรฐั ศำสตรเ์ ป็นวิชำท่ีศกึ ษำเก่ียวกบั อะไร 2. วชิ ำรฐั ศำสตรเ์ หมือนหรอื แตกตำ่ งจำกวิชำเหลำ่ นีอ้ ยำ่ งไร a. วิชำนิตศิ ำสตร์ b. วิชำรฐั ประศำสนศำสตร์ c. วิชำเศรษฐศำสตร์ 3. วชิ ำรฐั ศำสตรม์ ีควำมสำคญั และจำเป็นตอ่ กำรดำเนินชีวิตประจำวนั หรอื ไม่ อยำ่ งไร 4. วิชำรฐั ศำสตรม์ ีควำมสำคญั ตอ่ สงั คมไทยหรอื ไม่ อยำ่ งไร 5. เรยี นวิชำรฐั ศำสตรจ์ บไปแลว้ จะทำงำนอะไร เพรำะอะไร
รัฐ(STATE) • Aristotle (อำ้ งในอำนนท์ อำภำภิรม, 2545 : 12) ใหท้ ศั นะวำ่ รฐั เป็นสงั คม สงู สดุ โดยไดร้ วมเอำสงั คมทงั้ หลำยเขำ้ ไวด้ ว้ ยกนั ทงั้ หมด ทงั้ นีโ้ ดยมีวตั ถปุ ระสงค์ ท่ีจะบรรลคุ วำมดีงำมขนั้ สงู สดุ โดยมนษุ ยไ์ ม่สำมำรถประสบควำมสขุ และควำม สมบรู ณส์ ดุ ยอดไดห้ ำกปรำศจำกรฐั รฐั เกิดมำเพ่ือกำรมีชีวิตท่ีดงี ำม
• Andrew Hewood (2002 : 86-87) ชใี้ หเ้ หน็ ถงึ ความสับสนของการ นิยามความหมายของคาว่า “รัฐ” ว่าเป็ นการมองรัฐทแี่ ตกตา่ งกันเป็ น 3 แนวทาง คอื • แนวทางที่ 1 มองรัฐเชิงนามธรรม โดยมองว่าปัจเจกชนเป็ นเพยี งสมาชิกของ รัฐ รัฐจะมสี ถานะทส่ี ูงกว่าปัจเจกชน อกี ทงั้ รัฐเป็ นผู้กระทาตามเหตุผลสากลมี เป้าหมายเพอ่ื แสวงหาความสมบรู ณใ์ หก้ ับตนเอง และปัจเจกชนตอ้ งเชอ่ื ฟังรัฐ • แนวทางที่ 2 มองรัฐเชิงการทาหน้าที่ โดยมองว่า รัฐเป็ นสถาบันทม่ี ีบทบาท ทาหน้าทร่ี ักษาความสงบและความเป็ นระเบยี บของสังคม • แนวทางที่ 3 มองรัฐเชิงองคก์ าร มองว่ารัฐประกอบดว้ ยสถาบนั ต่าง ๆ ของ รัฐบาลเป็ นจานวนมาก เช่น ข้าราชการพลเรือน ทหาร ตารวจ ศาล แนวทางนีเ้ ป็ น การมองรัฐในสมยั ใหม่
ควำมแตกต่ำงระหว่ำง “รัฐ” (STATE) กับ “ชำติ” (NATION) “รัฐ” มักจะเน้นถงึ ความผูกพนั ทางการเมอื ง อนั หมายถงึ การท่ี ประชาชนอย่ภู ายใตร้ ะบบการเมอื งอยา่ งเดยี วกนั มอี ธิปไตยอันเดยี วกนั รวมทงั้ มเี อกราชเตม็ ทใ่ี นฐานะทเ่ี ป็ นรัฐ (จรูญ สุภาพ, 2514, หน้า 25) ส่วนคาว่า “ชาต”ิ หมายถงึ ประชาชน ส่วนใหญ่ทมี่ ีเชอื้ ชาตเิ ดยี วกนั พดู ภาษาเดยี วกนั นับถอื ศาสนาเดยี วกนั และมขี นบธรรมเนียมประเพณี รวมทงั้ ประวตั ศิ าสตรร์ ่วมกัน (ศโิ รจน์ ภาคสุวรรณ, 2516 : 61)
องค์ประกอบของรัฐ • 1. ประชากร (Population) รัฐทุกรัฐจะตอ้ งประกอบดว้ ยประชาชนอาศยั อยจู่ งึ จะเป็ นรัฐ ในทาง ตรงกันข้ามหากประชาชนใดทไี่ มม่ ดี นิ แดนตอ้ งเร่ร่อนพเนจรกไ็ ม่อาจถอื เป็ นรัฐได้ ประชากรดงั กลา่ วนี้ จะตอ้ งมแี หลง่ ทามาหากนิ ดารงชวี ติ อยภู่ ายในขอบเขตดนิ แดนทแ่ี น่นอน • รัฐจะตอ้ งประกอบไปดว้ ยประชากรจานวนหนึ่ง โดยไม่คานึงถงึ เผ่าพนั ธุ์ เพศ วยั และจานวน หรือ ขนาดของประชากร เพยี งใหส้ ามารถปกครอง ปกป้องกนั รักษาตนเองไดเ้ ทา่ นั้น ประชากรเหล่านีจ้ ะ อยกู่ ันเป็ นชุมชนทมี่ คี วามผูกพนั กันในหลาย ๆ ดา้ น โดยใหผ้ ลแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะประเทศ คอื • 1.1 ความผกู พนั ทางดา้ นการปกครอง คอื อยภู่ ายใตก้ ารปกครองของรัฐบาลเดยี วกนั รัฐมี หน้าทดี่ แู ลคุม้ ครองสทิ ธิและผลประโยชนข์ องพลเมอื งทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ เช่น สทิ ธทิ าง การเมอื ง ทางกฎหมาย สทิ ธิในทรัพยส์ นิ เป็ นตน้ และยงั จะตอ้ งดแู ล ใหค้ วามคุ้มครอง ป้องกันภยั อันตรายตา่ ง ๆ ทงั้ ทมี่ าจากภายในประเทศ และภายนอกประเทศ
• 1.2 ความผูกพนั ทางดนิ แดน คนทอี่ าศัยอยู่บนผนื แผ่นดนิ เดยี วกนั มักเกดิ ความรู้สึกผูกพนั กัน ทาใหเ้ กดิ การ รวมกันเป็ นชาติ มคี วามหวงแหนในแผ่นดนิ ไม่ตอ้ งการใหใ้ ครมารุกราน หรือแย่งชิงไปทงั้ ๆ ทค่ี นทม่ี ารวมกนั อย่ใู นดนิ แดนเดยี วกันนั้น อาจจะไม่ใช่คนทมี่ เี ชอื้ ชาตเิ ดยี วกันเลย เช่นคนจนี ทมี่ าตงั้ ถนิ่ ฐานอย่ใู นประเทศไทย อย่รู วมกบั คนไทย บงั เกดิ ความรักและหวงแหนแผ่นดนิ และเมอ่ื เดนิ ทางไปต่างประเทศกม็ กั จะบอกว่าตนเป็ น คนไทย ถงึ แมว้ ่าจะมเี ชอื้ ชาตเิ ป็ นจนี เป็ นต้น • 1.3 ความผูกพนั ทางภาษา ภาษาเป็ นสื่อทที่ าใหค้ นในชาตติ ดิ ต่อกนั ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และเป็ นส่ิงหนึ่งที่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ลักษณะเฉพาะของแตล่ ะชาติ โดยเพยี งฟังแตภ่ าษากส็ ามารถบอกไดว้ ่าเป็ นชนชาตใิ ดแม้ว่าบาง ภาษาไม่อาจทราบว่าเป็ นของชาตใิ ดโดยเฉพาะ เพราะใช้ภาษาเดยี วกัน แต่สาเนียงทพ่ี ดู กแ็ ตกต่างกันไปในแต่ ละประเทศ เช่น ภาษาองั กฤษซงึ่ มสี าเนียงตา่ งกันระหว่างชาวองั กฤษ กับชาวออสเตรเลีย และชาวอังกฤษกับ ชาวอเมริกัน เป็ นต้น แต่ในกรณีทคี่ นในชาตเิ ดยี วกันบางแหง่ เช่น ชาวสวิส ชาวแคนาดา ชาวจนี พดู กนั หลาย ภาษา ภาษากอ็ าจจะไม่ใช่สง่ิ ทผี่ ูกพนั ระหว่างคนในชาติ แต่ส่วนใหญ่แล้ว ภาษามกั จะเป็ นส่งิ ทผี่ ูกพนั คนในชาติ เข้าด้วยกนั
• 1.4 ความผูกพนั ทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมเป็ นสงิ่ ทมี่ นุษยส์ ร้างขนึ้ หรือกาหนดขนึ้ โดยมี พนื้ ฐานหรือมพี ลังผลักดนั มาจากความต้องการของมนุษยท์ ัง้ ทางร่างกาย และจติ ใจ ปรากฏ ออกมาในรูปของกจิ กรรมทางด้านการเมอื ง การปกครอง เศรษฐกจิ วถิ ชี วี ติ ในสังคม ศาสนา และอนื่ ๆ ถงึ แม้ว่าวัฒนธรรมจะเป็ นสงิ่ สบื ทอด เลอ่ื นไหลถ่ายเทได้ ซงึ่ หมายถงึ ลอกเลยี นแบบ ได้ ดดั แปลงนามาใช้กับอกี สังคมหน่ึงได้ แต่ส่วนใหญ่แล้ว วัฒนธรรมของแต่ละสังคมมักจะมี เอกลักษณเ์ ฉพาะตวั อย่างเหน็ ได้ชัด ถงึ แม้ว่า วัฒนธรรมเช่นนีจ้ ะถอื ปฏบิ ัตกิ ันอย่ใู นหลาย ๆ สังคมกต็ าม เช่น การทักทายดว้ ยการไหว้ ซงึ่ หลายชาตปิ ฏบิ ตั เิ หมอื น ๆ กัน แต่ลักษณะการ ไหว้ หรือกริ ยิ าทา่ ทางในการไหว้ของแตล่ ะชาตจิ ะแตกต่างกนั อย่างเหน็ ไดช้ ัด เช่น การไหวข้ อง ชาวอนิ เดยี กับชาวไทย • 1.5 ความผูกพนั ทางดา้ นศาสนา ศาสนามสี ่วนสร้างความผูกพนั ระหว่างคนในชาตไิ ด้ เพราะศาสนามอี ทิ ธิพลต่อความรู้สกึ นึกคดิ ของประชาชนมาก หากประเทศใดมเี พยี งศาสนา เดยี วความผูกพนั นีจ้ ะปรากฏแน่นแฟ้นมาก เช่น สาธารณรัฐอสิ ลามต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง เป็ นตน้
• 1.6 ความผูกพันทางดา้ นเชอื้ ชาติ เชอื้ ชาตเิ ป็ นเร่ืองสาคัญทส่ี ามารถสร้างความผูกพนั ให้เกดิ แก่ ประชากรของชาติ ชาตใิ ดมคี นเชอื้ ชาตเิ ดยี วกันอยู่มากมักจะมคี วามสามัคคกี ลมเกลยี วกันดี ไม่ค่อยแตกแยก แต่ความแตกแยกจะปรากฏให้เหน็ เสมอในประเทศทมี่ พี ลเมอื งปะปนกัน หลายเชอื้ ชาติ ดังเช่น ในประเทศไซปรัสซงึ่ พลเมอื งส่วนใหญ่ของประเทศมเี ชอื้ สายตุรกี และ เชอื้ สายกรกี หรือพวกนิโกร กับคนผิวขาวในสาธารณรัฐอาฟริกาใต้ เป็ นตน้ • 1.7 ความผูกพนั โดยประวัตศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตรค์ วามเป็ นมาของแตล่ ะชาตเิ ป็ นสง่ิ ทแี่ สดงให้ เหน็ ถงึ การตัง้ ถน่ิ ฐาน การตอ่ สู้ดนิ้ รน ความเจริญ และความพยายามสบื ทอดมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ เป็ นสง่ิ ทจี่ ะช่วยกระตุน้ เตอื นใหค้ นในชาตเิ กดิ ความรัก ความหวงแหนใน ความเป็ นชาตขิ องตนอันเป็ นพลังผลักดนั ใหเ้ กดิ ความรัก ความสามัคคใี นกลุ่มชน
• 2. ดนิ แดน ( Territory ) ทุกรัฐจะตอ้ งมดี นิ แดนของตนเป็ นถาวรเพราะรัฐจะเกดิ ขนึ้ ได้ นั้นจะตอ้ งมดี นิ แดนอันแน่นอน (A Fixed Territory) และกถ็ อื ว่าเป็ นองคป์ ระกอบท่ี สาคัญของรัฐ คาว่าดนิ แดนนีห้ มายรวมไปถงึ พนื้ ดนิ ทะเลและเขตทอ้ งฟ้าเหนือพนื้ ดนิ ฉะนั้น อานาจการปกครองของรัฐจงึ มอี ยูเ่ หนือดนิ แดนภายในรัฐสาหรับในเรอ่ื งดนิ แดนกม็ ไิ ดก้ าหนด ขนาดไว้แน่นอนเหมอื นกับการไม่กาหนดจานวนประชากร แต่จะกาหนดเพยี งสงิ่ กาหนดเขต พรมแดนคอื ส่วนมากการกาหนดเขตพรมแดนนั้นมักถอื เอาสง่ิ ทมี่ อี ย่ตู ามธรรมชาตเิ ป็ นเคร่ือง กาหนด เช่น ภเู ขา สันเขา แม่น้า ห้วย หนอง คลอง บงึ แตถ่ ้าไม่มสี ง่ิ ธรรมชาตเิ หล่านีก้ ม็ หี ลัก เขตกาหนดปักปันอย่างชัดเจน เครื่องหมายอันหลังนีอ้ าจจะเกดิ ปัญหาไดง้ า่ ยกว่าสง่ิ ธรรมชาติ เพราะอาจสูญหายหรือเปลย่ี นแปลงกันไดง้ ่าย ส่วนเขตแดนทเี่ ป็ นทะเลไดม้ อี นุสัญญา (convention) ระหว่างประเทศว่า ประเทศทพี่ รมแดนตดิ กับทะเลมอี านาจอธิปไตยใน เขตแดน 12 ไมลจ์ ากชายฝ่ัง และกาหนดเขตเศรษฐกจิ จาเพาะ (Exclusive Economic Zone) ไว้ 200 ไมลจ์ ากชายฝ่ัง (นงเยาว์ พรี ะตานนท์ 2541: 13)
• 3. รัฐบาล (Government) รัฐบาล คอื คณะบุคคลทใี่ ช้อานาจ อธิปไตยกาหนดนโยบายบริหารประเทศและนานโยบายนั้นไปปฏบิ ตั ใิ ห้ บงั เกดิ ผล ถา้ เป็ นรัฐบาลประชาธิปไตยคอื รัฐบาลทม่ี าจากการเลือกตงั้ ของประชาชน รัฐบาลจะปฏบิ ตั หิ น้าทบี่ ริหารประเทศไปในทางทจี่ ะสนอง เจตนารมณข์ องสาธารณชน (Public-Will) • 4. อานาจอธิปไตย (Sovereignty) อานาจอธิปไตย เป็ นอานาจ สูงสุดทรี่ ัฐใช้ปกครองบงั คบั บญั ชาปวงชนภายในรัฐอย่างอสิ ระ มิใหต้ กอยู่ ภายใตก้ ารบงการของรัฐอน่ื จงึ จะเรียกวา่ มีความเป็ นรัฐอย่างสมบรู ณ์ หรือรัฐอธิปัตย์
การกาเนิดรัฐ (ORIGIN OF STATE) • ทฤษฎเี ทวสทิ ธิ์ (The Theory of the Divine Origin of State) ทฤษฎนี ีถ้ อื ว่าเป็ นทฤษฎเี ก่าแก่มากทส่ี ุด แนวความคดิ ของทฤษฎนี ีถ้ อื ว่า พระเจา้ เป็ น ผู้ให้กาเนิดและสร้างรัฐขนึ้ มา โดยเชอ่ื กันว่าผู้ปกครองสบื เชอื้ สายมาจากพระเจ้า สาระสาคัญของทฤษฎีเทวสทิ ธิ์ นั้น คอื 1. ทฤษฎนี ีเ้ ชอื่ ว่า รัฐเกดิ ขนึ้ จากเจตนาและการบนั ดาลของพระเจ้า 2. ทฤษฎนี ีเ้ ชอ่ื ว่า การปกครองรัฐเป็ นอานาจของพระเจ้า ผู้ปกครองรัฐทาหน้าทเี่ สมอื นเป็ น ตัวแทนของพระเจ้าและได้รับอาณัตจิ ากพระเจา้ 3. ทฤษฎนี ีเ้ ชอื่ ว่า ประชาชนในรัฐเป็ นเพยี งองคป์ ระกอบของรัฐเทา่ นั้น มใิ ช่เป็ นปัจจัยทส่ี าคัญ ของรัฐแต่อย่างไร ฉะนั้นจะตอ้ งเชอ่ื ฟังเคารพผู้ปกครองรัฐโดยดุษฎี การละเมดิ อานาจของ ผู้ปกครองรัฐจะมโี ทษและเป็ นบาป
• ทฤษฎสี ัญญาประชาคม (The Social Contract Theory) ทฤษฎีนีเ้ ป็ นทน่ี ิยมกันมากในภายหลังและมอี ทิ ธิพลแทนทฤษฎีเทวสิทธิ์ ทฤษฎีอธิปไตยเป็ นของปวงชน มรี ากฐานจากความคดิ ทวี่ ่ามนุษยเ์ ป็ นผู้สร้างรัฐโดย การทม่ี นุษยย์ นิ ยอมร่วมกันทาสัญญาประชาคม ( Social Contract) ปราชญท์ มี่ ีชอื่ เสียงในฐานะทเ่ี ป็ นผู้ใหก้ าเนิดทฤษฎนี ีไ้ ดแ้ ก่ โธมัส ฮอ้ บส์ ( Thomas Hobbes) จอหน์ ล็อค ( John Locke)และจงั จ๊าคส์ รุสโซ (JeanJacques Rousseu)
• โธมสั ฮอ้ บส์ ( Thomas Hobbes) มอี ายุระหวา่ ง ค.ศ. 1588-1697 สภาพธรรมชาตทิ าใหเ้ กดิ สภาพ “อานาจคอื ธรรม“ (Might is Right) อานาจผันแปรไปตามบุคคล ฉะนั้นมนุษยม์ ีความจาเป็ นตอ้ งมีรัฐบาล มรี ะเบยี บ กฎเกณฑข์ ้อบงั คับ ดว้ ยการทาสัญญาร่วมกันในทานองทว่ี ่า มนุษยย์ อมมอบอานาจ ใหร้ ัฐบาลทงั้ หมด รัฐบาลทรงไว้ซงึ่ อานาจสูงสุดทเี่ รียกว่า “องคอ์ ธิปไตย“ ประชาชน ไม่มีสิทธิท์ จ่ี ะปฏวิ ัติ แม้จะไม่พอใจนโยบายหรือวิธีการปกครอง เพราะผู้ปกครองไม่ ถอื ว่าเป็ นคู่สัญญากับประชาชน ฉะนั้นผู้ปกครองยอ่ มมอี านาจจะกระทาการใด ๆ ได้ ตามทตี่ นตอ้ งการ ไม่ว่าการกระทานั้นจะตรงตามเจตนารมณข์ องประชาชนหรือไม่ก็ ตาม เพราะประชาชนไดเ้ สียสละสิทธิตามธรรมชาตใิ หแ้ ก่ประมุขแล้ว รัฐบาลตาม ความหมายนีจ้ งึ เป็ นรัฐบาลหรือพระมหากษัตริยท์ อ่ี ยเู่ หนือกฎหมาย
• จอหน์ ลอ็ ค (John Locke) มีอายุระหว่าง ค.ศ. 1932 – 1704 นักปราชญท์ า่ นนีม้ แี นวความคดิ ว่า สภาพด่งั เดมิ ของมนุษยอ์ ยู่ในสภาพ ธรรมชาติ คอื อยู่กนั อย่างมีความสุข มคี วามม่ันคง มีความปลอดภัยและ มีอสิ รภาพเสรีภาพทจ่ี ะดาเนินการไดต้ ามใจปรารถนา มนุษยจ์ งึ มีความ พอใจจะอยใู่ นสภาพธรรมชาติ แตใ่ นกาลตอ่ มามนุษยเ์ กดิ มีความไม่ม่ันใจ ในความสุขความสะดวกสบาย ความปลอดภยั และความอสิ รเสรีทต่ี น ไดร้ ับนั้นจะมอี ยู่ตลอดไป มนุษยจ์ งึ หาทางป้องกนั และหาทางออกโดยการ จัดตงั้ รัฐบาลขนึ้ โดยการมอบอานาจการปกครองใหบ้ ุคคลคณะหน่ึงซงึ่ เรียกว่า รัฐบาล ซง่ึ จะตอ้ งมีลักษณะ ดงั นี้
• 1. รัฐบาลเกดิ จากมนุษยท์ าสัญญามอบอานาจใหก้ บั หน่วยปกครอง แต่ รัฐบาลตอ้ งรับผิดชอบตอ่ ประชาชน • 2. รัฐจะตอ้ งกระทาตามเจตนารมณข์ องประชาชน เจตนารมณข์ อง ประชาชนยอ่ มอยเู่ หนือสิง่ อนื่ ใด • 3. ประชาชนสามารถเปลยี่ นคณะรัฐบาลไดต้ ามวาระ ถา้ เหน็ วา่ รัฐบาล นั้นไม่ปฏบิ ตั งิ านไปตามเจตนารมณข์ องประชาชนส่วนใหญ่ในรัฐ • 4. รัฐบาลมีฐานะเป็ นคู่สัญญากบั ประชาชนผู้มอบอานาจให้ ฉะนนั้ รัฐบาลจะทาอะไรตามความตอ้ งการของตนไม่ได้
• จัง จ๊าคส์ รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) มีอายุระหวา่ ง ค.ศ. 1712- 1778 ซง่ึ เป็ นนักปราชญอ์ กี ทา่ นหนึ่งไดเ้ ขียนหนังสือขึน้ เพอ่ื สนับสนุนทฤษฎสี ัญญา ประชาคมว่า สภาพดงั้ เดมิ ของมนุษยเ์ ป็ นเช่นเดยี วกับ Hobbes คอื เป็ นสภาพท่ี ขาดระเบยี บวินัย มคี วามโหดร้ายทารุณ มคี วามสกปรก เข่นฆา่ เอารัดเอาเปรียบ ซง่ึ กันและกัน มนุษยไ์ ม่ตอ้ งการสิ่งช่ัวร้ายเหล่านั้น จงึ หาวิธีการป้องกันสร้างสังคม ใหม่ทนี่ ่าอยขู่ นึ้ โดยมนุษยร์ วมกันตกลงเป็ นเอกฉันทจ์ ะก่อตงั้ ชุมชนทางสังคม ( Social Community) ขนึ้ อนั จะนาไปสู่การก่อตงั้ รัฐทถี่ กู ตอ้ งตามหลัก เหตุผลทแี่ ทจ้ ริง “ตามแนวความคดิ ของรุสโซ รัฐมลี ักษณะเป็ นประชาธิปไตยยดึ หลักเจตนารมณท์ มี่ ีเหตผุ ล คอื General Will ซงึ่ เป็ นพลังผลักดนั ใหร้ ัฐ ปฏิบัตกิ ารทงั้ ปวงเพอ่ื ประโยชนส์ ุขแกป่ ระชาชนท่วั ไป
• จากแนวความคดิ ของรุสโซทก่ี ล่าวมานี้ จงึ พอสรุปสาระสาคัญแหง่ ลักษณะรัฐบาลของเขาได้ ดังนี้ (Easton, David, 1953) • 1. รัฐนั้นจะต้องมลี ักษณะเป็ นประชาธิปไตย • 2. รัฐจะตอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทงั้ ปวงเพอ่ื ประโยชนส์ ุขและสอดคล้องกับความประสงคข์ องประชาชนส่วน ใหญ่ (General Will) • 3. เอกชนทุกคนยอมยกสทิ ธิตามธรรมชาตใิ หแ้ ก่อธิปัตย์ (Sovereign) ซงึ่ ไดแ้ ก่ General Will นั้น • 4. ชุมชนเป็ นผู้กาหนดนโยบาย แตร่ ัฐบาลเป็ นผู้นานโยบายไปปฏบิ ัติ • 5. อานาจอธิปไตยเป็ นของชุมชน และอยู่ทชี่ ุมชนไมไ่ ด้อยทู่ ร่ี ัฐบาล • 6. รุสโซไมเ่ หน็ ดว้ ยกับความคดิ เร่อื งรัฐสภา หรอื ประชาธิปไตยแบบมผี ู้แทนถอื ว่าอานาจอธิปไตยนั้น มอิ าจมอบใหแ้ ก่บุคคลใดได้ เพราะผู้แทนไม่สามารถแสดงออกหรอื สะทอ้ นเจตนารมณข์ องประชาชนได้จริง ประชาธปิ ไตยของรุสโซเป็ นประชาธิปไตยโดยตรง (Direct Democracy) แบบประชาธิปไตยของนครรัฐ เอเธนสแ์ ละรัฐปารต์ า้ หรือประชาธิปไตยแบบหมู่บา้ นสวสิ ซง่ึ ประชาชนมาชุมนุมกันโดยตรง • 7. ความประสงคข์ องคนส่วนใหญ่ (General Will) นั้นตอ้ งยดึ หลักศีลธรรม หรอื คุณธรรมเป็ น แนวทางมฉิ ะนั้นเสียงข้างมากกจ็ ะกลายเป็ นทรราชยข์ ้างมาก (Majority Tyranny) ไปได้
• ในทฤษฎสี ัญญาประชาคมจะไดใ้ จความดงั นี้ • 1. มนุษยเ์ ป็ นผู้สร้างรัฐ • 2. มนุษยม์ ีสิทธิตามธรรมชาติ • 3. รัฐเกดิ จากการทม่ี นุษยร์ ่วมกันทาสัญญา • 4. รัฐตอ้ งปฏบิ ัตติ ามเจตนารมณข์ องประชาชน • 5. รัฐทด่ี ตี อ้ งมีลักษณะเป็ นประชาธิปไตย • 6. เจตนารมณข์ องคนส่วนใหญ่ทรี่ ัฐตอ้ งปฏิบตั ติ ามกค็ อื ตอ้ งทรงไว้ ซงึ่ ลักษณะคุณธรรมและศลี ธรรม
• ทฤษฎธี รรมชาติ (The National Theory) ทฤษฎธี รรมชาตนิ ีถ้ อื ว่า รัฐเกดิ ขนึ้ และวิวัฒนาการไปเองโดยธรรมชาติ คือ มนุษยไ์ ม่อาจแยกตวั ออกจากรัฐได้ เพราะรัฐช่วยใหค้ นอย่รู อดและสามารถดารงชวี ติ อยู่ได้ ดงั นั้น ธรรมชาตขิ องมนุษยน์ ั้นเองเป็ นเครื่องผลักดนั ใหม้ นุษยร์ วมตวั กันขนึ้ เป็ นรัฐหรือเป็ นองคก์ รทางการเมอื ง เพอื่ การดารงอยู่อย่างม่ันคงและปลอดภัย Aristotle นักปราชญช์ าวกรีกโบราณผู้ยดึ ถอื ทฤษฎนี ี้ ใหท้ ศั นะว่ามนุษยเ์ ป็ น สัตวก์ ารเมือง (Political Animal) กล่าวคอื มนุษยส์ ามารถอาศัยรัฐเพอ่ื บา บัดความตอ้ งการของตนเองและสร้างความเจริญกา้ วหน้าใหก้ ับตนได้ ดงั นั้นมนุษย์ จะอาศัยรัฐเพอื่ สร้างชวี ิตทดี่ กี ว่า มนุษยต์ อ้ งอยูใ่ นรัฐ
• ทฤษฎพี ลกาลัง (The Force Theory) ทฤษฎนี ีเ้ ชอื่ ว่า รัฐเกดิ ขนึ้ จากการยดึ ครองและการใช้อานาจบังคับ คอื เมอ่ื หลายหมนื่ ปี มาแล้วเชอื่ กันว่า มนุษยเ์ ป็ นพวกเร่รอนพเนจรมคี วามดุร้าย ก้าวร้าว ในสมัยนั้นจงึ มกี ารรุกราน กันระหว่างพวก เพอ่ื แย่งผลประโยชนต์ ่าง ๆ และอานาจการปกครอง พวกทไี่ ด้ชัยชนะกจ็ ะเข้า ครองดนิ แดนทอี่ ุดมสมบูรณแ์ ละรวบรวมเอาพวกทแี่ พม้ าอยูใ่ นการปกครองของพวกตน ออก ระเบยี บข้อบงั คับตา่ ง ๆ มาเพอื่ ให้คนทแ่ี พ้ปฏบิ ัตไิ ปตามความต้องการของตนและตัง้ ตนเป็ นนาย เป็ นผู้มอี ภสิ ทิ ธิพ์ เิ ศษต่างๆ ทเี่ รียกว่าอภสิ ทิ ธชิ์ น ความเตบิ โตของอาณาเขตและจานวนประชากรเพมิ่ มากขนึ้ จนเกดิ เป็ นองคก์ รทาง การเมอื งทเ่ี รียกว่า “รัฐ“ หรือ “ประเทศ” มกี ารปกครองควบคุมอย่างเป็ นระบบตามลัทธกิ ารเมอื ง นั้น ๆ ขนึ้ การเกดิ ของรัฐโดยวธิ ีทฤษฎนี ีบ้ างนักปราชญเ์ รียกว่า ทฤษฎแี สนยานุภาพ เพราะเป็ น การใช้กาลังเข้ายดึ ครองกลุ่มชนทอี่ ่อนแอกว่า
• ทฤษฎวี ิวัฒนาการ (Evolutionary Theory) (1) รัฐวงศาคณาญาติ (Kinship State) มนุษยใ์ นสมยั โบราณมักจะรวมตัวกนั เป็ นกลุ่มเล็ก ๆ ความผูกพนั กนั ในทางสายโลหติ หรือพดู อกี นัยหน่ึงสายโลหติ เป็ นหลักของความผูกพนั บคุ คลเป็ นสมาชกิ ของ วงศาคณาญาตไิ ด้กต็ อ้ งสืบสายโลหติ กนั (2) รัฐเผ่าชน (Tribal State) การรวมตวั ของกลุ่มชนหรือสังคมทมี่ กี ารขยายออกไปกว้างขวาง กว่าวงศาคณาญาติ มสี มาชิกของกลุ่มมากขนึ้ (3) รัฐนคร (City State) คอื การรวมเอารัฐ เผ่าพนั ธุแ์ ละเผ่าชนตา่ ง ๆเข้าดว้ ยกันเป็ นนครรัฐ ขนาดใหญ่ และถอื ว่านครนีเ้ ป็ นรัฐหน่ึง ๆ (4) รัฐจกั รพรรดิ (Empire State) รัฐจกั รพรรดิ คอื รัฐทมี่ แี นวความคดิ ในการครอบครองรัฐอน่ื โดยวิธีใช้กาลังทหารเขา้ รุกราน เรียกว่าระบบจกั รพรรดนิ ิยม ( Imperialism) ระบบนีเ้ กดิ จากการแสวงหา ผลประโยชนจ์ ากการล่าเมอื งขึน้
• (5) รัฐศักดนิ าสวามิภกั ดิ์ (Feudal State) รัฐศักดนิ าสวามิภกั ดหิ์ รือรัฐเจ้าขุน มูลนายเป็ นรัฐทเ่ี กดิ ขนึ้ หลังจากการเสื่อมสลายลงของระบบจักรวรรดโิ รมัน ทาให้ อานาจของผู้ปกครองในรัฐตา่ ง ๆ เร่ิมเพม่ิ มากขนึ้ ผู้ปกครองของรัฐส่วนมากเป็ น กษัตริยก์ ็มิอาจทจ่ี ะดแู ลอาณาเขตหรืออาณาจกั รไดด้ ว้ ยตนเอง จงึ ไดม้ อบใหบ้ ุคคล ทาหน้าทตี่ า่ งพระเนตรพระกรรณหรือเรียกว่าเจา้ ผู้ครองนคร ในขณะเดยี วกันเจา้ ผู้ ครองนครเองกม็ ิอาจจะดแู ลอาณาเขตไดท้ งั้ หมด จงึ ไดม้ อบใหพ้ วกขุนนางดแู ล แทนตนอกี ตอ่ หน่ึง ในแคว้นตา่ ง ๆ ของนคร และเพอื่ การแบง่ งาน แบง่ ความ รับผิดชอบ ขุนนางก็ไดแ้ บง่ ทอ้ งทใ่ี หไ้ พร่ทามาหากนิ และส่งผลตอบแทน (ส่วย) คนื ให้
• (6) รัฐชาติ (Nation State) เมอื่ ระบบศักดนิ า (Feudalism) ได้เสอื่ มสลายลงใน ตอนปลายศตวรรษที่ 16 ทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางการเมอื งทส่ี าคัญขนึ้ คอื ฝ่ าย อาณาจักรกับฝ่ ายศาสนจักรเกดิ การขัดแย้งในเร่ืองของอานาจการปกครอง ในขณะเดยี วกันใน ฝ่ ายศาสนจักรเองกไ็ ดม้ กี ารแตกแยกภายในจนเป็ นเหตุใหม้ กี ารปฏริ ูปศาสนาขนึ้ ต่อมารัฐมี ความเข้มแขง็ ทาให้ฝ่ ายศาสนจักรลดอานาจลงไป ผู้ปกครองนครเลก็ ๆ หมดความสาคัญลง ประชาชนมผี ลประโยชนแ์ ละเกดิ ความรับผดิ ชอบร่วมกันมากขนึ้ กลุ่มชนทม่ี วี ัฒนธรรม คล้ายคลงึ กัน อย่ภู ายใต้พระมหากษัตริยอ์ งคเ์ ดยี วกัน มคี วามรู้สกึ รักชาตริ ักพวกเดยี วกันอยา่ ง จรงิ จัง เรียกว่า ระบบชาตนิ ิยม (Nationalism) ความรู้สกึ ดังกล่าวนีไ้ ด้เกดิ ขนึ้ ในหมู่ชน หลายประเทศ เช่น เยอรมนี ฝร่ังเศส อังกฤษ สเปน และประเทศตา่ ง ๆ ท่วั โลกตา่ งกค็ ดิ กันว่า เมอ่ื ระบบจักรวรรดนิ ิยมเสอ่ื มสลายลงระบบศักดนิ า เกดิ ขนึ้ ซง่ึ ทัง้ สองระบบตอ้ งแสวงหา ผลประโยชนใ์ หต้ นเองทงั้ นั้น ทาไมคนในชาตทิ เ่ี ป็ นเผ่าพันธุเ์ ดยี วกัน มภี าษาวัฒนธรรม เดยี วกัน มสี ายเลอื ดเดยี วกัน จงึ ไม่คดิ รวมตัวสร้างชาตบิ ้าง ความคดิ ดงั กล่าว ฝังแน่นอย่ใู น มันสมองของคนทร่ี ักชาตทิ งั้ หลายจนถงึ ปัจจุบัน
รูปของรัฐ (FORMS OF THE STATE) • 1.รัฐเดย่ี ว คอื รูปของรัฐทมี่ ีรัฐบาลกลางเป็ นองคก์ รเดยี วทมี่ ีอานาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศ กล่าวคอื รัฐบาลกลางเป็ นผู้ใช้อานาจอธิปไตยทงั้ ในบริหาร นิติ บัญญัตแิ ละตลุ าการ และจะควบคุมการบริหารงานในกระทรวง ทบวง กรมทงั้ หมด ส่วนการปกครองในส่วนอนื่ ๆ ของประเทศจะถอื ว่าเป็ นเพยี งส่วนหน่ึงของประเทศ รัฐบาลกลางอาจจะแบ่งการปกครองออกไปยงั ส่วนภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของประเทศโดย การส่งตวั แทนออกจากส่วนกลางไปปฏบิ ตั หิ น้าทยี่ งั ส่วนภมู ภิ าคตา่ ง ๆ นั้นเทา่ ท่ี จาเป็ น และอานาจการส่ังการส่วนใหญ่ยังตอ้ งอยู่ส่วนกลาง
• 2. รัฐรวม คอื รูปของรัฐทม่ี รี ัฐบาล 2 ระดบั ได้แก่ รัฐบาลกลางและรัฐบาลทอ้ งถนิ่ ซง่ึ รัฐบาลแตล่ ะระดบั จะมีอานาจบทบาทหน้าทต่ี า่ งกนั ไป อกี อย่างหน่ึงในกฎหมาย รัฐธรรมนูญจะบัญญัตเิ รื่องการใชอ้ านาจอธิปไตยของรัฐบาลกลางและรัฐบาล ทอ้ งถนิ่ ไว้โดยเฉพาะว่ารัฐบาลกลางมีอานาจการใชอ้ านาจอธิปไตยเพยี งไรและ อยา่ งไรบา้ ง ส่วนรัฐบาลทอ้ งถน่ิ นั้นก็ไดถ้ ูกกาหนดใหใ้ ช้อานาจอธิปไตยตามความ เหมาะสมของตน การจัดรูปแบบรัฐเป็ นแบบรัฐรวมนีจ้ งึ ไดก้ าหนดภาระหน้าทข่ี อง รัฐบาลแตล่ ะระดบั ไว้ตา่ งกัน ดงั นี้
• 2.1. รัฐบาลกลาง ซงึ่ ถอื ว่าเป็ นรัฐบาลหลักของประเทศมีภาระหน้าทร่ี ับผดิ ชอบงาน และนโยบายทสี่ าคญั ของประเทศหรือกิจการทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม ของประเทศหรือกจิ การทเี่ กย่ี วกับความม่ันคงปลอดภยั และความเป็ นเอกราชของ ประเทศชาติ เช่น กจิ การดา้ นการป้องกันประเทศ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเทศ กจิ การดา้ นการคลังทเ่ี กย่ี วกับรายไดร้ ายจา่ ยงบประมาณของประเทศ กิจการดา้ น เศรษฐกจิ ทงั้ เศรษฐกจิ ในประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และกิจการดา้ น ทหาร เป็ นต้น
• 2.2.รัฐบาลระดบั ทอ้ งถน่ิ รัฐบาลระดบั ทอ้ งถน่ิ นีถ้ อื ว่าเป็ นหน่วยงานการปกครองท่ี แบ่งเบาภาระหน้าทขี่ องรัฐบาลกลางไปปฏบิ ัตจิ ดั บริหารเพอ่ื สนองความตอ้ งการ ของประชาชนในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ ของตน ดงั นั้นภาระหน้าทที่ รี่ ับผิดชอบจงึ เป็ น ภาระหน้าทรี่ ะดบั รองลงมาจากรัฐบาลกลาง เช่น รับภาระหน้าทด่ี า้ นรักษาความ ปลอดภยั ในรัฐ จัดบริการแก่ประชาชน จัดสวสั ดกิ ารใหแ้ ก่ประชาชนในรัฐและ รักษาความสะอาดตลอดจนการจดั เกบ็ ภาษีในทอ้ งถน่ิ เป็ นตน้ ฉะนั้นจะเหน็ ไดว้ า่ ภาระหน้าทค่ี วามรับผิดชอบของรัฐบาลทงั้ สองระดบั ทกี่ ฎหมายรัฐธรรมนูญได้ กาหนดใหร้ ัฐบาลแตล่ ะระดบั ไปปฏิบตั จิ ัดทานั้น เป็ นการปฏิบัตอิ ย่างอสิ ระตอ่ กัน โดยไม่ก้าวก่ายงานของกนั และกัน
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: