Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย2_กระบวนการเทคโนโลยี

หน่วย2_กระบวนการเทคโนโลยี

Published by pirompucka, 2021-11-24 03:13:02

Description: หน่วย2_กระบวนการเทคโนโลยี

Search

Read the Text Version

การออกแบบและเทคโนSโlideลPPT6ย1-NEWี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๓ Slide PowerPoint_สือ่ ประกอบการสอน บรษิ ทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศพั ท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๒หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี กระบวนการเทคโนโลยี สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง • ระบุปญั หำหรือควำมต้องกำรในชวี ิตประจำวัน รวบรวม วเิ ครำะหข์ ้อมูล และแนวคดิ ท่ีเกยี่ วข้องกับปัญหำ • ออกแบบวธิ ีกำรแกป้ ัญหำ โดยวิเครำะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอ้ มูลท่ีจำเปน็ นำเสนอแนวทำงกำรแก้ปัญหำใหผ้ อู้ น่ื เข้ำใจ วำงแผนและดำเนินกำรแกป้ ัญหำ • ทดสอบ ประเมนิ ผล และระบุขอ้ บกพร่องทีเ่ กิดข้นึ พรอ้ มทั้งหำแนวทำงกำรปรับปรงุ แกไ้ ข และนำเสนอผลกำรแก้ปัญหำ

1 กระบวนการเทคโนโลยี สง่ิ อำนวยควำมสะดวกในชวี ติ ประจำวันของมนษุ ย์ล้วนแลว้ แตเ่ ปน็ เทคโนโลยี เกิดจำกกระบวนกำรคิดที่เป็นระบบเพอ่ื แก้ปญั หำและทำให้คณุ ภำพชวี ติ ของมนุษยด์ ขี ึ้น บคุ คลท่ีมีส่วนสำคัญในกำรแก้ปญั หำตำมทก่ี ลำ่ วมำ คอื วิศวกร (engineer) แสดงไดด้ ังแผนผัง ข้นั ตอนการแก้ปญั หาของวศิ วกร กระบวนการ เทคโนโลยี ความจาเป็น 1 ระบุปญั หา หรอื ความต้องการ หรอื ความต้องการ กระบวนการ 2 รวบรวมข้อมลู ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ปัญหา เทคโนโลยี 3 เลือกวธิ กี ารแกป้ ญั หา ความรูด้ ้านวิทยาศาสตร์ ออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หา และคณติ ศาสตร์ 4 สง่ิ ท่ีนามาตอบสนองความจาเป็น หรือความต้องการ ปรบั ปรงุ 6 5 แกไ้ ข และ ประเมนิ ผล ทดสอบ 7 นาเสนอผลงาน

1 ระบปุ ัญหา หรอื ความต้องการ ข้นั ตอนระบปุ ัญหำหรือควำมต้องกำร ผู้สรำ้ งเทคโนโลยจี ะตอ้ งตอบคำถำมเบือ้ งตน้ ให้ได้ 3 คำถำม ก่อนสร้ำงชิ้นงำนหรือส่งิ ทต่ี อบสนองควำมต้องกำร ดงั นี้ ? 1 ปัญหา ทจี่ าเปน็ ตอ้ งแก้คอื อะไร 2 ใคร คือผทู้ ี่เผชิญปญั หาทเี่ ราจาเป็นตอ้ งแก้ 3 เหตุใด ปญั หานีจ้ งึ จาเปน็ ตอ้ งแก้ กำรระบปุ ัญหำหรือควำมต้องกำรตอ้ งเรม่ิ จำกทัศนคติท่ดี ี ฝกึ มองปญั หำในมุมมองของผู้ทีป่ ระสบปญั หำมำกกวำ่ ในมมุ มองของตัวเอง เรียกทศั นคติเชน่ นี้ว่ำ การรจู้ ักเอาใจเขามาใสใ่ จเรา (empathy)

เทคโนโลยที ่ดี คี วรเปน็ นวัตกรรม (innovation) มำกกวำ่ ส่งิ ประดิษฐ์ (invention) เปน็ กำรเอำวิทยำกำรตำ่ ง ๆ มำออกแบบเพอ่ื ตอบโจทยป์ ญั หำที่สร้ำงคุณคำ่ ให้กบั สงั คม และมนุษย์ โดยเริม่ ต้นจำกควำมเขำ้ ใจในควำมต้องกำร ไมใ่ ช่กำรใชค้ วำมคดิ สร้ำงสรรคอ์ ย่ำงไร้ทิศทำง ส่ิงประดิษฐ์ นวัตกรรม เทียนไขและหลอดไฟแบบไส้ หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ปากกาลูกลน่ื ปากกาลบได้

2 รวบรวมขอ้ มูลทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับปญั หา เมอื่ เรำระบปุ ัญหำหรือควำมตอ้ งกำรแล้ว ข้นั ตอนต่อไป คือ เก็บรวบรวมข้อมูลและควำมรู้ทีเ่ กยี่ วข้องกบั ปัญหำหรือควำมต้องกำรนน้ั ๆ เพ่ือหำวธิ ีกำรท่เี หมำะสมสำหรับ แกป้ ญั หำ การรวบรวมข้อมูลทาได้ 2 วิธีหลัก ดังนี้ การรวบรวมขอ้ มูลขั้นปฐมภูมิ (primary data) กำรเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพ่อื ศกึ ษำและทำควำมเขำ้ ใจด้วยตนเอง โดยวธิ ีกำรรวบรวมข้อมูลขน้ั ปฐมภูมนิ น้ั ทำไดห้ ลำยวธิ ี การพดู คยุ หรอื การสมั ภาษณ์ การสงั เกต การรว่ มประสบการณ์ (deep interview) (observation) (immersion) กำรตง้ั คำถำมเพือ่ สร้ำงควำมเขำ้ ใจ กำรพิจำรณำปญั หำด้วยกำรมองอย่ำงวเิ ครำะห์ กำรทำควำมเข้ำใจดว้ ยกำรลองเอำตวั เอง เกย่ี วกับควำมตอ้ งกำรของกล่มุ เป้ำหมำยที่เรำตอ้ งกำรจะแกป้ ญั หำ เพื่อสรำ้ งควำมเข้ำใจในปญั หำ เขำ้ ไปอยู่ในส่ิงแวดล้อมเดียวกบั ผทู้ เ่ี รำพยำยำมจะสร้ำงเทคโนโลยใี ห้ ทเ่ี รำตอ้ งกำรจะแกม้ ำกข้ึน กำรพูดคยุ หรอื สมั ภำษณท์ ี่ดี คอื กำรตัง้ ใจรบั ฟงั เพอ่ื เรียนรู้ ควำมตอ้ งกำรเบอื้ งลกึ

การรวบรวมขอ้ มลู ขัน้ ทตุ ยิ ภมู ิ (secondary data) กำรเก็บรวบรวมข้อมูลเพอื่ ศึกษำจำกขอ้ มูลท่ีมีอยผู่ ำ่ นกำรสรุปผลและกำรวิเครำะหผ์ ล ในทำงปฏิบัติกำรวจิ ัยขน้ั ทตุ ยิ ภมู ิ เป็นกำรรวบรวมข้อมูลจำกหนังสอื วำรสำรตำ่ ง ๆ หรือสืบค้นจำกอินเทอร์เน็ต ไม่ต้องใช้เวลาและคา่ ใชจ้ ่ายมาก ระมัดระวงั ในการใช้ ตรวจสอบความถกู ต้อง และความนา่ เชอ่ื ถือ การวเิ คราะหแ์ หลง่ ทีม่ าของข้อมูล เพราะข้อมลู อาจเกา่ หรือไมส่ มบรู ณ์ ของแหล่งขอ้ มลู วา่ น่าเชือ่ ถือได้หรอื ไม่ หลังจากที่มกี ารรวบรวมขอ้ มูลแลว้ สง่ิ ท่ตี ามมาก็คือการนาขอ้ มลู ทเ่ี ก็บมาระดมสมอง (brainstroming) สรา้ งคาถามเพือ่ ทาใหม้ องเหน็ ปญั หาอยา่ งแทจ้ รงิ นาไปสู่การคน้ พบ ทางเลือกในการแก้ไขปัญหา หลักการการระดมสมองท่ีดี ? เน้นปรมิ าณมากกว่าคณุ ภาพ มองปัญหาใหเ้ ป็นโอกาสดว้ ยการต้งั คาถาม แยกกำรคิดและกำรประเมินออกจำกกัน โดยคดิ และเสนอแนวทำงกำรแกป้ ญั หำใหไ้ ด้จำนวนมำกกอ่ น กำรตงั้ คำถำมช่วยให้กำรคิดวิธีแก้ปญั หำมีประสทิ ธภิ ำพมำกข้ึน รปู แบบคำถำมที่องคก์ รระดบั โลกมำกมำยใช้คอื แลว้ จึงเร่มิ ประเมนิ และคดั เลือกวิธีกำรแกป้ ัญหำท่ีเหมำะสมในภำยหลัง กำรต้ังคำถำมวำ่ “เรำจะ...ไดอ้ ยำ่ งไร” (How might we...?)

3 เลอื กวิธกี ารแกป้ ัญหา กำรเลือกวิธีแก้ปัญหำ ทำใหเ้ ทคโนโลยีท่ีจะถกู สร้ำงขึ้นสำมำรถตอบโจทยก์ ับปัญหำในทกุ ด้ำนทไ่ี ดก้ ำหนดไว้ ข้ันตอนนจ้ี ะมีกระบวนกำรย่อยเพ่อื นำมำสู่กำรตดั สินใจเพือ่ ท่ีจะเลอื ก วิธแี ก้ปัญหำได้อย่ำงเหมำะสม ดงั นี้ เลือกวธิ ีการแก้ปัญหาโดยคานงึ ถงึ ผลลัพธ์ โดยกำรพจิ ำรณำว่ำวธิ กี ำรแก้ปัญหำทคี่ ิดคน้ มำน้ันจะนำไปสคู่ ณุ ภำพกำรทำงำนทดี่ ขี ึ้น เรว็ ขน้ึ ประหยดั ขนึ้ หรอื สะดวกข้ึนหรือไม่ อยำ่ งไร วิธีกำรหนง่ึ ท่ที ำได้ คือ กำรประเมินดว้ ยตำรำงประเมนิ คณุ ภำพ ดังตวั อยำ่ ง แนวคิดที่ 1 ความเรว็ ความสะดวก ความเป็นไปได้ รวมคะแนน แนวคดิ ที่ 2 +1 +1 +1 +3 แนวคดิ ท่ี 3 +1 0 -1 0 0 +1 +1 +2 จากตารางข้างต้น เมื่อเราใชเ้ กณฑค์ วามเรว็ ความสะดวก และความเปน็ ไปได้ มาคัดเลอื กแนวคิด และกาหนดคะแนนไว้วา่ +1 หมายถงึ ดี 0 หมายถึง ปานกลาง -1 หมายถึง ไม่ดี เม่ือพิจารณาคะแนนรวม จะเห็นได้วา่ แนวคดิ ท่ี 1 นน้ั ตอบโจทย์ความตอ้ งการในดา้ นต่าง ๆ มากกวา่ แนวคดิ ท่ี 2 และแนวคิดท่ี 3

4 ออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หา เมอ่ื เลือกวิธีกำรแกป้ ญั หำทีเ่ หมำะสมแลว้ ข้ันตอนต่อไป คือ กำรออกแบบวธิ ีกำรแก้ปญั หำ ในกำรสรำ้ งสรรค์เทคโนโลยีกำรออกแบบวธิ ีกำรแก้ปัญหำจะเรม่ิ ตน้ ด้วยกำรสรำ้ งต้นแบบ ต้นแบบ (prototype) คอื กำรสรำ้ งแบบจำลองของเทคโนโลยีเพื่อตรวจสอบวำ่ ตรงกับควำมตอ้ งกำรของผู้ใชห้ รอื ไม่ ส่งิ ที่เรำต้องกำรจำกต้นแบบ คือ ควำมคดิ เหน็ หรอื ผลสะท้อนกลบั (feedback) จำกผูใ้ ช้ว่ำชอบหรือไมช่ อบแนวคิดเทคโนโลยที เ่ี รำออกแบบมำอย่ำงไร กราฟดา้ นบนเป็นกราฟแสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างระยะเวลาโครงการกบั มูลคา่ ท่ีเกิดจากความผิดพลาด แสดงใหเ้ ห็นว่า การสรา้ งต้นแบบชว่ ยใหเ้ ราประหยัดทง้ั ทรพั ยากรเงินและเวลา

กำรออกแบบวธิ ีกำรแกป้ ัญหำดว้ ยกำรสรำ้ งต้นแบบ ทำให้เรำสำมำรถทดสอบสมมตฐิ ำนท่ีเรำมกี อ่ นทจ่ี ะลงทุนและลงแรงสรำ้ งเทคโนโลยอี อกมำอย่ำงเตม็ รูปแบบ หลกั กำรสำคญั ในกำรสรำ้ งตน้ แบบมี 3 ขอ้ 1 ความง่าย (rough) 2 ความเร็ว (rapid) 3 ความเหมาะสม (right) สร้ำงตน้ แบบดว้ ยวสั ดุสำมำรถส่อื สำรได้ เนน้ ควำมเรว็ เพอ่ื รีบนำตน้ แบบไปทดสอบขอ ไม่เพยี งสร้ำงให้เหมือนจรงิ แตอ่ อกแบบมำเพื่อ แต่ไม่ตอ้ งลงทุนมำก ควำมคดิ เหน็ และปรับปรงุ ทดสอบสมมติฐำนที่ผคู้ ิดเทคโนโลยตี อ้ งกำรจะ หำคำตอบ ได้ผลลพั ธป์ ระสทิ ธภิ าพตา่ ไดผ้ ลลัพธป์ ระสิทธภิ าพสูง 5 ทดสอบ เป็นกำรทดสอบวำ่ แนวคิดของเทคโนโลยนี น้ั ตอบโจทยข์ องผู้ใช้งำนหรือไม่ มีสว่ นใดที่ต้องพัฒนำหรือแก้ไข กำรทดสอบท่ีดี คอื กำรให้ผู้ใช้ไดท้ ดลองใช้งำนตน้ แบบของชิ้นงำนทอี่ อกแบบและแสดงควำมคดิ เหน็ วิธีกำร เก็บควำมคดิ เห็นมีหลำยวิธี โดยแบบทดสอบทีด่ ีควรใหผ้ ้ใู ช้งำนใชง้ ำนไดง้ ำ่ ย แบบทดสอบการเก็บความคิดเห็นเกยี่ วกบั เครอื่ งชาระเงนิ แบบบริการตนเองในซูเปอร์มาเก็ต

6 ปรับปรงุ แก้ไข และประเมินผล การปรบั ปรุง แกไ้ ข และประเมินผลนนั้ ไมไ่ ด้ทาเพียงคร้งั เดยี ว แตส่ ามารถทาไดห้ ลายคร้ังเพ่ือทดสอบองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของชิ้นงานเทคโนโลยี โดยหลกั การแลว้ ยิ่งทดสอบ มากเทา่ ไร โอกาสทช่ี น้ิ งานเทคโนโลยนี น้ั ๆ จะตอบโจทยผ์ ใู้ ชแ้ ละสามารถเอาไปใชไ้ ดจ้ รงิ ยิ่งมมี ากขนึ้ เท่านั้น ออกแบบ สร้าง เรยี นรู้ ทดสอบและ ต้นแบบ ประเมินผล วดั ผล

7 นาเสนอผลงาน สำมำรถทำไดห้ ลำยวิธี เชน่ กำรเขียนรำยงำน กำรทำแผ่นนำเสนอผลงำน กำรเล่ำเร่อื ง เครื่องมือทชี่ ่วยใหเ้ รำสำมำรถนำเสนอเร่ืองรำวได้ครบถ้วนครอบคลมุ ท้งั กระบวนกำร เทคโนโลยี คือ สตอรบี อร์ด (storyboard) หรอื กำรสร้ำงภำพให้เห็นลำดับข้นั ตอนกำรทำงำน 1 ปัญหาทต่ี ้องการแก้ การนาเสนอผลงานผา่ นสตอรบี อรด์ 2 ข้อมูลที่พบเกี่ยวกบั ปัญหา 3 แนวทางการแก้ปัญหา 4 การทดลอง 5 ผลการทดลองและ 6 เทคโนโลยีท่พี ัฒนาสาเรจ็ การประเมนิ ผล

กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม (Engineering Design Process) มี 2 ส่วน คอื สว่ นที่นำวทิ ยำศำสตร์และคณิตศำสตรม์ ำใช้ให้เปน็ ประโยชนก์ ับส่วนท่ีออกแบบ ใหไ้ ดผ้ ลงำนทต่ี อ้ งกำร ระบุปัญหา หรอื ควำมต้องกำร นาเสนอผลงาน 1 ระดมสมอง หำคำตอบท่ีเปน็ ไปได้ 12 2 สรา้ งชิ้นงาน 11 หาข้อมลู และสารวจ แนวทำงแก้ปัญหำ 3 ท่เี ปน็ ไปได้ ปรับปรงุ แกไ้ ข และประเมินผล 10 4 ระบขุ อ้ จากัดและกำหนดเกณฑ์ 9 5 พิจารณาทางเลือกกำรแก้ปญั หำ 6 เลือกวธิ กี ารแก้ปัญหำ ทดสอบ 7 8 ออกแบบวิธีกำรแก้ปัญหำ เขียนภาพร่างของกำรแกป้ ัญหำ

2 ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยี 1 ยคุ พาลโิ อลธิ คิ (Paleolithic Age) ประวัตศิ าสตรข์ องเทคโนโลยี แบง่ ออกเป็น 9 ยคุ ๒ ยุคเมโซลิธติ (Mesolithic Age) เป็นยุคหนิ เกา่ (The Old Stone Age) เป็นยคุ หินกลาง (The Middle Stone Age) 500,000 - 10,000 ก่อนคริสตกำล 10,000 - 4,000 ก่อนครสิ ตกำล มีกำรปรับปรงุ เรื่องอำหำรและเพิ่มควำมปลอดภยั เริม่ มีกำรเล้ยี งสตั ว์ และเกษตรกรรม นำไปส่กู ำรตง้ั เพ่อื ทำใหม้ กี ำรเพิ่มจำนวนประชำกร รกรำกหรือชมุ ชน ขวำนหนิ เข็มทีท่ ำจำกกระดกู เตำไฟ งำนเครือ่ งหนงั อุปกรณต์ กปลำ แวดวงหนิ มนษุ ยย์ ุคนี้จะเรร่ อ่ นเคล่อื นย้ำยตำมแหล่งอำหำร มนษุ ยย์ ุคน้ีเร่ิมรู้จักกำรล่ำสตั ว์ และมีกำรสรำ้ ง มที ี่อยอู่ ำศยั ชว่ั ครำว ทอ่ี ยอู่ ำศยั เปน็ หลักแหลง่

3 ยคุ นโี อลธิ คิ (Neolithic Age) 4 ยุคเมโซลธิ ิต (Mesolithic Age) เป็นยคุ หนิ ใหม่ (The New Stone Age) 4,000 - 2,300 กอ่ นครสิ ตกำล มกี ำรจัดหำอำหำรตลอดท้ังปี มีกำรแบง่ แรงงำน และควำมเช่ยี วชำญเฉพำะดำ้ น ซ่งึ ส่ิงเหลำ่ นไี้ ป กระตนุ้ ทำให้เกดิ กำรสร้ำงส่งิ ประดิษฐต์ ำ่ ง ๆ เคร่ืองถกั ทอผำ้ เคียว เครอื่ งปน้ั ดนิ เผำ เป็นยคุ หินกลาง (The Middle Stone Age) มนุษย์ยคุ น้ีเริม่ มีกำรต้งั ถ่ินฐำนแบบถำวร ที่อยู่ 10,000 - 4,000 กอ่ นครสิ ตกำล อำศัยสร้ำงดว้ ยหนิ ไม้ มีควำมคงทน เรม่ิ มกี ำรเลี้ยงสัตว์ และเกษตรกรรม นำไปสกู่ ำรตงั้ • ชำวอยี ปิ ต์สร้ำงพีระมิด รกรำกหรือชมุ ชน • ชำวเมโสโปเตเมียใชแ้ ผ่นดินเหนียวในกำร งำนเคร่อื งหนัง อุปกรณต์ กปลำ แวดวงหนิ บนั ทึกเปน็ เอกสำรเกย่ี วกบั ระบบชลประทำน • ชำวบำบิโลเนียใช้แนวคิดทำงคณติ ศำสตร์ เชน่ ใชพ้ ีชคณิตในกำรคำนวณเพ่ือกำร ขดุ เจำะอุโมงค์

5 ยคุ เหลก็ (Iron Age) 6 ยุคกลาง (Middle Age) สถาปัตยกรรมในยคุ น้ถี กู สรา้ งจากเหลก็ หรอื เหลก็ กล้า เปน็ ยคุ หลงั จากอาณาจักรโรมันลม่ สลาย ถูกแบง่ ออกเปน็ ยคุ กลางเรม่ิ ตน้ ยคุ กลางสงู สดุ และยคุ กลางตอนปลาย 700 กอ่ นคริสตกำล - ค.ศ. 450 ค.ศ. 450 - ค.ศ. 1400 เร่ิมมีกำรปกครองทำงทหำร มวี ัฒนธรรม นำไปสู่ กำรผลติ อำวุธท่ที ำจำกเหล็ก มเี คร่อื งไถใบมีดเหลก็ ยคุ กลางตอนตน้ ถูกเพ่มิ ควำมกดดนั จำกกำรถูกบกุ รกุ ทำใหม้ นษุ ย์สำมำรถเพม่ิ ผลผลิตทำงอำหำร ซึ่งนำไปสู่กำรลดลงของจำนวนประชำกร อำวุธหรอื เครื่องมือกำรเกษตรท่ที ำจำกเหล็ก แบบร่ำงหรือตน้ ฉบบั รำ่ งทีเ่ ขียนดว้ ยมือ ยคุ กลางสงู สดุ มกี ำรเรม่ิ ระบบศกั ดนิ ำ มปี ระชำกร เพมิ่ ขึ้น และเรมิ่ มนี วัตกรรมดำ้ นกำรเกษตร ยุคกลางตอนปลาย เกิดภยั พบิ ัติ ขำ้ วยำกหมำกแพง และเกดิ สงครำม ประชำกรล้มตำยหน่ึงในสำมของทมี่ ีอยู่ • ชำวกรกี สร้ำงธนทู ม่ี ีคันติดกบั ด้ำม และ เหล็กหลอ่ ปืนใหญ่ นำฬกิ ำเชงิ กล เขม็ ทิศ เครือ่ งยงิ ก้อนหินเพอื่ ปอ้ งกนั และขยำย อำณำเขต • กังหนั ลมท่ถี กู ผลติ โดยเคร่อื งจักรกล • แท่นพมิ พ์มีไว้เพ่ือส่งขอ้ มูลขำ่ วสำรและ • ชำวโรมนั สรำ้ งระบบท่อระบำยนำ้ ระบบ สขุ ำภบิ ำล และมีกำรสร้ำงถนนเพ่อื กำร ควำมรู้ คมนำคม

7 ยคุ เรอเนสซองส์ (The Renaissance) 8 ยคุ อุตสาหกรรม (The Industrial Age) เปน็ ยคุ การฟนื้ ฟูอทิ ธพิ ลของสถาปัตยกรรมคลาสสิก และมกี ารแบง่ ปนั ทางดา้ นความคดิ เปน็ ยุคทีม่ ีการเริม่ ใช้เครื่องจักรท่ีมคี วามซับซอ้ น มีโรงงานเกิดขนึ้ และมคี วามเป็นสังคมเมอื ง ค.ศ. 1400 - ค.ศ. 1750 ค.ศ. 1750 - ค.ศ. 1950 กำรสรำ้ งเคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ต่ำง ๆ เกดิ จำก ปฏวิ ัติอตุ สำหกรรมเกดิ ศูนย์กลำงของเมอื ง กำรสังเกตปรำกฏกำรณท์ ำงธรรมชำติของ เกดิ ระบบเศรษฐกจิ พึ่งพำกนั กำรแผข่ ยำยของ นกั วิทยำศำสตร์ เศรษฐกิจทำใหป้ ระชำกรเพ่ิมข้นึ มกี ำรพัฒนำ คุณภำพชวี ติ ของมนุษย์ กล้องโทรทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ เทอรม์ อมิเตอร์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ำ รถยนต์ เครือ่ งบิน วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ และจรวด • ลโี อนาร์โด ดา วินชี เกดิ ท่ีประเทศอิตำลี ค.ศ. 1452 เริม่ ต้นด้วยกำรเป็นจิตรกร • เจมส์ วัตต์ ปรบั แตง่ เคร่ืองจกั รไอนำ้ เพ่อื มกี ำรแกะสลกั ระบำยสี ออกแบบอำวุธ ตึก นำมำใชใ้ นทำงปฏิบตั ิ และเครื่องจักร • อเลสซานโดร โวลตา คน้ พบหลกั กำร • กาลเิ ลโอ กาลิเลอี เกดิ ปี ค.ศ. 1564 ทำงำนของแบตเตอรี่ เป็นนักฟสิ ิกสน์ กั ดำรำศำสตร์ และนักปรชั ญำ มชี อื่ เสียงในเรือ่ งกำรปรับปรงุ กล้อง- • เฮนรี ฟอร์ด สรำ้ งแนวคดิ ระบบกำรวำง โทรทรรศน์ สงั เกตกำรเคล่อื นทข่ี องดำว เครื่องจกั รใหต้ ิดต่อกัน (assembly line)

9 ยคุ ข้อมลู ข่าวสาร (The Information Age) กำรพฒั นำทำงเทคโนโลยี เปน็ กระบวนกำรทม่ี ีวิวัฒนำกำร เปน็ ยคุ แหง่ การรวบรวม จดั การ แกไ้ ข และแบง่ ปันขอ้ มูล ข่าวสาร วิวัฒนำกำรของเทคโนโลยีจำเป็นตอ้ งใช้ ควำมร้ทู ำงวทิ ยำศำสตรแ์ ละคณิตศำสตร์ ค.ศ. 1950 - ปัจจุบัน มำเปน็ พนื้ ฐำนในกำรสรำ้ งเทคโนโลยี ขอ้ มูล ขำ่ วสำรมกี ำรแพรก่ ระจำยอยำ่ งรวดเร็ว และ ในอนำคตต่อไป มีกำรเพม่ิ ของจำนวนประชำกรอย่ำงรวดเร็ว วงจรไฟฟำ้ ท่ซี ับซอ้ น คอมพวิ เตอร์ พลงั งำนนิวเคลยี ร์ กล้องดิจิทัล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook