ผ้ปู ระกอบการ กองบริหารภาษธี ุรกจิ ขนาดกลางและขนาดเล็ก กรมสรรพากร / กรกฎาคม 2565
ทาความรจู้ ัก “ภาษีหัก ณ ท่จี ่าย” 1 องคป์ ระกอบหลักของภาษีหัก ณ ทจ่ี า่ ย 2 กระบวนงานการหักภาษี ณ ทจ่ี ่าย 3 ทาความเขา้ ใจกับความหมายของ “เงินได้พงึ ประเมิน” 4 หน้าทที่ างภาษี เมื่อ SME เปน็ ผู้จ่ายเงินได้ 7 เมือ่ SME เปน็ ผจู้ ่ายเงินได้ ตอ้ งหกั ณ ทจี่ ่ายอย่างไร ? 8 ขอ้ ควรร้เู ก่ียวกับ “การออกหนังสือรบั รองการหกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ย” 20 การยน่ื แบบยนื่ รายการภาษเี งินได้หัก ณ ท่ีจา่ ยประจาเดือน 22 การนาส่งขอ้ มลู และเงินภาษผี า่ นระบบ e-Withholding Tax 37 การยนื่ รายงานสรุปการหกั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายประจาปี 39 11 หน้าท่ที างภาษี เม่อื SME เป็นผมู้ ีเงินได้ 45
1 “ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย” เป็นการจัดเก็บภาษีล่วงหน้า โดยกฎหมาย กาหนดให้ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่หักภาษีจากเงินได้ที่จ่ายให้แก่ผู้รับทุกครั้ง ที่จ่ายเงินได้ ซึ่งการหักภาษีต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กฎหมายกาหนด หลงั จากน้ันใหผ้ ู้จา่ ยเงินไดน้ าเงินภาษที ี่หักไว้สง่ กรมสรรพากร ทง้ั นี้ การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายสามารถช่วยบรรเทาภาระของผู้เสียภาษี เม่ือถงึ กาหนดยน่ื แบบแสดงรายการภาษเี งินไดไ้ ด้
2 ภาษเี งินได้หกั ณ ทีจ่ ่ายประกอบด้วย 3 องคป์ ระกอบหลัก ดังต่อไปนี้ ผู้จ่ายเงนิ ได้ 1 เงินไดพ้ งึ ประเมิน 2 ผู้มเี งินได้ 3 เช่น เชน่ กจิ การ หา้ งหุ้นส่วนสามัญ กิจการ หา้ งห้นุ ส่วนสามญั เจ้าของคนเดียว หรือคณะบุคคล เจา้ ของคนเดยี ว หรือคณะบุคคล ท่ีมใิ ชน่ ิตบิ คุ คล ท่ีมใิ ชน่ ิตบิ ุคคล หรือ หรือ เช่น บริษัท เชน่ บริษทั หา้ งหนุ้ ส่วนนติ ิบคุ คล หา้ งห้นุ ส่วนนิติบคุ คล หมายเหตุ 1 ผ้จู ่ายเงินได้ : เปน็ ผูท้ ีก่ ฎหมายกาหนดให้มหี นา้ ท่หี ักภาษี ณ ท่ีจ่าย 2 เงนิ ได้พงึ ประเมิน (ท่ตี ้องหักภาษี ณ ท่จี า่ ย) : ไม่ใชเ่ งินได้ท่ีไดร้ บั ยกเว้น 3 ผ้มู เี งนิ ได้ : เปน็ ผ้มู ีหน้าท่เี สยี ภาษเี งินได้
63 รายงานสรปุ กรมสรรพากร ย่นื แบบแสดงรายการ การหกั ภาษี ณ ท่จี า่ ย ภาษีเงนิ ได้ หกั ภาษี ณ ทีจ่ า่ ย ประจาปี และนาส่ง รวบรวมข้อมูลเงินได้ (รายเดอื น) จ่าย และออก หนังสอื รับรอง การหกั ภาษี ณ ทจ่ี ่าย ผจู้ ่ายเงนิ ได้ ผู้รับเงินได้ (ผู้มเี งินได้)
4 เงินได้พึงประเมิน หมายถึง เงินได้อันพงึ เข้าลักษณะเสยี ภาษี ไดแ้ ก่ 1. เงินได้ที่ได้รับเป็นเงินสด หรือตราสารที่มีค่าเสมือนเงินสด เช่น ตั๋วเงิน เช็ค หรือดราฟท์ ฯลฯ) หรือทรพั ยส์ ินหรือประโยชน์อย่างอื่นซึ่งอาจคิดคานวณได้เป็นเงิน ทีไ่ ดร้ ับทงั้ สิ้นกอ่ นหักค่าใช้จา่ ยหรอื คา่ ลดหย่อนใด ๆ รวมถึงเงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงิน หรือผูอ้ นื่ ออกแทนให้ และเครดิตภาษเี งินปันผลหรอื เงินสว่ นแบง่ กาไรท่ีไดร้ บั หรือ 2. เงนิ ไดอ้ นั เขา้ ลกั ษณะพงึ เสยี ภาษเี งนิ ได้ ตามมาตรา 41 แห่งประมวลรัษฎากร ไดแ้ ก่ (1) เงินได้ที่เกิดขึ้นในไทย เนื่องจากหน้าที่งานที่ทาหรือกิจการที่ทา หรอื ทรพั ยส์ ินท่ีอยใู่ นไทย ไมว่ ่าจะจ่ายในหรอื นอกประเทศ หรอื
5 (2) เงินได้ท่ีเกิดขึ้นนอกไทย ผู้มีเงินได้มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้ในไทย กต็ ่อเม่ือ (ก) ต้องเป็นผู้อยู่ในไทยในปีภาษีชั่วระยะเวลาหนึ่งหรือหลายระยะเวลา รวมเวลาทงั้ หมดถึง 180 วัน (ข) มีเงินได้พึงประเมินเนื่องจากหน้าที่งานที่ทาในต่างประเทศ หรือ กจิ การท่ที าในต่างประเทศ หรือทรัพย์สินทีอ่ ยู่ในต่างประเทศ และ 180 วนั (ค) นาเงนิ ได้พงึ ประเมินนั้นเขา้ มาในไทย โดยนาเงนิ ได้ที่เกิดขึ้นในปีภาษี ที่ผู้มีเงินได้เป็นผู้อยู่ในไทยเข้ามาในปีภาษีเดียวกัน แต่ถ้านาเข้ามาคนละปีภาษีกับปี ทีม่ ีเงินได้ ไม่อยใู่ นข่ายต้องเสยี ภาษีเงนิ ได้
6 เงนิ ทรัพย์สิน ซงึ่ อาจคิดคานวณไดเ้ ปน็ เงิน ประโยชนอ์ ย่างอื่นทไ่ี ดร้ ับ เงนิ คา่ ภาษอี ากร ซง่ึ อาจคิดคานวณได้เป็นเงนิ ท่ผี ู้จ่ายเงนิ หรือผอู้ นื่ ออกแทนให้ เช่น ค่าเชา่ บา้ นท่นี ายจา้ งออกให้ เครดติ ภาษี1 หมายเหตุ 1 เครดิตภาษีของเงนิ ปันผล/เงนิ ส่วนแบ่งกาไร เปน็ กรณีทีผ่ ู้มเี งนิ ไดซ้ ง่ึ เปน็ บคุ คลธรรมดาได้รับเงนิ ปันผล/เงินส่วนแบ่ง กาไร (ทจี่ า่ ยจากกาไรสทุ ธทิ ต่ี อ้ งเสียภาษีเงินไดน้ ิติบคุ คล) จากบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย โดยผู้จ่ายมีหน้าท่ีต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ท่ีจ่ายให้ชัดเจนว่า เงินปันผล/เงินส่วนแบ่งกาไรท่ีจ่ายนั้น มาจากกาไรสทุ ธิของกิจการท่ีตอ้ งเสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลในอตั ราเท่าใด สามารถคานวณเครดิตภาษีเงนิ ปันผลไดด้ งั นี้ เครดติ ภาษเี งนิ ปันผล = อัตราภาษเี งนิ ไดน้ ิติบคุ คลที่บรษิ ทั ต้องเสีย x จานวนเงนิ ปันผล 100 – อตั ราภาษีเงนิ ได้นติ ิบุคคล
7 ผ้ปู ระกอบการ SME ไม่ว่าจะประกอบกจิ การในลักษณะบุคคลธรรมดา เชน่ กจิ การเจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล หรือประกอบกิจการในลักษณะนิติบุคคล เช่น บริษัทจากัด ห้างหุ้นส่วนจากัด หา้ งหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล เมอ่ื จ่ายเงนิ ไดป้ ระเภททก่ี ฎหมายกาหนดใหห้ ักภาษีณที่จา่ ย ผจู้ า่ ยเงินไดม้ ีหน้าท่ีตอ้ งหัก ณ ที่จา่ ย โดยคานวณหกั ภาษีไว้ทุกครั้งที่จ่ายเงินได้ พงึ ประเมนิ ตามอตั ราร้อยละทก่ี ฎหมายกาหนดไว้ แล้วนาส่งเงินภาษีที่ได้หักไว้นั้น ต่อกรมสรรพากรภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดจากเดือนที่จ่ายเงินได้ พร้อมทั้ง ออกหนงั สือรบั รองการหักภาษี ณ ที่จา่ ย และส่งมอบใหแ้ ก่ผู้ถูกหกั ภาษี ณ ที่จ่าย เพอ่ื เปน็ หลักฐานประกอบการย่นื แบบแสดงรายการภาษเี งินได้
8 3% 15% 5 – 35 % 0.75% 2% 10% 0.5% 1% 5% หกั เมื่อผปู้ ระกอบการ SME จ่ายเงินไดพ้ งึ ประเมนิ บางประเภทใหก้ ับผู้มีเงนิ ได้ ดังต่อไปนี้ ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ในอัตราที่กฎหมายกาหนด โดยมรี ายละเอียดดงั ตาราง
9 SME ทป่ี ระกอบกจิ การในลกั ษณะบุคคลธรรมดาจา่ ยเงนิ ได้ใหบ้ คุ คลธรรมดา จา่ ย บุคคล หา้ งหนุ้ สว่ นสามญั หรอื คณะบุคคลท่ีมใิ ช่นิตบิ คุ คล กิจการ ห้างหนุ้ ส่วนสามญั เจา้ ของคนเดยี ว หรอื คณะบคุ คลทีม่ ใิ ชน่ ิติบุคคล ตารางท่ี 1 (1) การหักภาษีเงินได้ ณ ทจี่ า่ ย กรณี SME ซงึ่ ประกอบกิจการในลกั ษณะบคุ คลธรรมดาจ่ายเงนิ ไดใ้ หบ้ คุ คลธรรมดา เงินได้ ประเภท การหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ย/ ผู้รบั เงินได้ แบบทใี่ ช้ มาตรา เงนิ ไดพ้ งึ ประเมิน อัตราภาษี (รอ้ ยละ) นาสง่ ภาษี 40 (1) เงนิ ได้จากการจ้าง คานวณตามมาตรา 50 (1)/ ท้งั ผอู้ ยู่ในและนอก แรงงาน เชน่ อตั ราภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา ประเทศไทย เงินเดือน ค่าล่วงเวลา โบนสั ฯลฯ (5 – 35) 40 (2) เงินได้จากหนา้ ที่ คานวณตามมาตรา 50 (1)/ ภ.ง.ด. 1 หรอื ตาแหน่งงานท่ีทา อตั ราภาษเี งินไดบ้ คุ คลธรรมดา ผู้อย่ใู นประเทศไทย หรอื จากการรับ (5 – 35) ทางานให้ เช่น ค่านายหน้า ฯลฯ 15 มไิ ด้อยใู่ นประเทศไทย
10 ตารางที่ 1 (2) การหักภาษเี งินได้ ณ ท่ีจ่าย กรณี SME ซึ่งประกอบกิจการในลักษณะบุคคลธรรมดาจา่ ยเงนิ ไดใ้ ห้บคุ คลธรรมดา เงนิ ได้ ประเภท การหักภาษี ณ ที่จ่าย/ ผรู้ บั เงินได้ แบบท่ีใช้ มาตรา เงินได้พงึ ประเมิน อัตราภาษี (ร้อยละ) นาสง่ ภาษี 40 (3) คา่ แหง่ ก๊ดู วิลล์ อัตราภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา ผู้อยใู่ นประเทศไทย คา่ แหง่ ลขิ สทิ ธิ์ หรอื สิทธิอยา่ งอนื่ (5 – 35) 15 มไิ ด้อยใู่ นประเทศไทย 40 (4) ดอกเบย้ี เงนิ กู้ยมื - ผู้อยใู่ นประเทศไทย (ก) ผลประโยชน์หรือคา่ ตอบแทนท่ี 15 มไิ ด้อยใู่ นประเทศไทย ภ.ง.ด. 2 ไดจ้ ากการให้กู้ยืม ฯลฯ 40 (4) ผลประโยชน์จากการโอนหุน้ - ผูอ้ ยู่ในประเทศไทย ประเภท(ช) หุ้นกู้ พนั ธบตั ร ฯลฯ เฉพาะซง่ึ ตรี าคาเปน็ เงนิ ไดเ้ กนิ กว่าท่ี ลงทุน เงิน15ได้ มิได้อยู่ในประเทศไทย 40 (5) ค่าเชา่ หรอื ประโยชน์อืน่ ทไ่ี ด้ พงึ ประ-เมนิ 1 ผอู้ ยู่ในประเทศไทย จากการใหเ้ ชา่ ทรพั ยส์ ิน 15 มิไดอ้ ยู่ในประเทศไทย 40 (6) วชิ าชีพอิสระตามประมวลรษั ฎากร - ผู้อยู่ในประเทศไทย ไดแ้ ก่ กฎหมาย วศิ วกรรม สถาปัตยกรรม การบญั ชี 15 มไิ ด้อยใู่ นประเทศไทย ประณตี ศลิ ปกรรม ภ.ง.ด. 3 การประกอบโรคศลิ ปะ 40 (8) รางวลั ในการประกวด/ 5 ทัง้ ผู้อยใู่ นและนอก แข่งขนั /ชิงโชค ประเทศไทย 40 (8) ค่าแสดงของนักแสดงสาธารณะ 5 นกั แสดงอยใู่ นไทย อัตราภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา นกั แสดงมภี มู ิลาเนา (5 – 35) อย่ตู า่ งประเทศ
11 SME ทีป่ ระกอบกจิ การในลกั ษณะบุคคลธรรมดาจ่ายเงินไดใ้ หน้ ติ ิบุคคล จา่ ย กจิ การ หา้ งหุ้นสว่ นสามัญ เชน่ บริษทั หรอื ห้างหนุ้ สว่ นนิติบคุ คล เจ้าของคนเดยี ว หรอื คณะบุคคลทมี่ ใิ ชน่ ิติบุคคล ตารางที่ 2 (1) การหักภาษเี งนิ ได้ ณ ที่จ่าย กรณี SME ซง่ึ ประกอบกจิ การในลกั ษณะบุคคลธรรมดา จ่ายเงนิ ไดใ้ หบ้ ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนติ บิ ุคคล เงนิ ได้ ประเภท อัตราภาษี ผรู้ บั เงนิ ได้ แบบทใี่ ช้ เงนิ ได้พงึ ประเมิน มาตรา หกั ณ ทจ่ี ่าย นาสง่ ภาษี (ร้อยละ) 40 (2) - (6) (2) เงนิ ไดจ้ ากการรบั ทางานให้ (3) ค่าแหง่ ก๊ดู วิลล์ นิติบุคคลตา่ งประเทศ มิได้ประกอบกจิ การในไทย คา่ แหง่ ลขิ สทิ ธ์ิหรอื สทิ ธิอยา่ งอืน่ 15 ภ.ง.ด. 54 (4) ดอกเบ้ียเงนิ กู้ยมื (ดอู นสุ ัญญาภาษีซอ้ นประกอบ) ผลประโยชน์หรอื ค่าตอบแทน ทไี่ ด้จากการให้ก้ยู มื ฯลฯ (5) เงนิ หรือประโยชน์ที่ได้จาก การให้เช่าทรพั ย์สิน (6) เงินไดจ้ ากวชิ าชพี อิสระ นิติบุคคลไทย/ ตามประมวลรัษฎากร ได้แก่ กฎหมาย วิศวกรรม - นิตบิ คุ คลต่างประเทศ - สถาปัตยกรรม การบัญชี ประกอบกจิ การในไทย ประณีตศลิ ปกรรม การประกอบโรคศิลปะ
12 ตารางท่ี 2 (2) การหกั ภาษีเงินได้ ณ ท่ีจา่ ย กรณี SME ซึง่ ประกอบกจิ การในลักษณะบคุ คลธรรมดา จ่ายเงินได้ใหบ้ รษิ ัทหรือห้างหนุ้ ส่วนนติ บิ ุคคล เงนิ ได้ ประเภท อตั ราภาษี ผูร้ ับเงินได้ แบบที่ใช้ มาตรา เงินไดพ้ ึงประเมนิ 40 (7) ค่าจา้ งทาของ หกั ณ ทีจ่ ่าย นติ บิ คุ คลต่างประเทศ นาส่งภาษี (ร้อยละ) มไิ ด้ประกอบกิจการในไทย/ 40 (8) ทุกประเภท - คา่ จ้างทาของ - นติ บิ คุ คลไทย ภ.ง.ด. 53 รางวัลในการประกวด/ 5 นติ ิบคุ คลต่างประเทศ การแขง่ ขนั /การชิงโชค ประกอบกจิ การในไทย - - โดยมไิ ด้มีสานกั งานสาขาตั้งอยู่ - เป็นการถาวรในไทย - 5 นิตบิ ุคคลต่างประเทศ ภ.ง.ด. 53 มิได้ประกอบกิจการในไทย/ 5 นติ บิ ุคคลไทย นิติบคุ คลตา่ งประเทศ ประกอบกิจการในไทย โดยมิได้มีสานกั งานสาขาตั้งอยู่ เปน็ การถาวรในไทย ทัง้ นติ บิ คุ คลไทย และนิตบิ ุคคลต่างประเทศ ประกอบกิจการในไทย
13 SME ท่ีประกอบกิจการในลกั ษณะนิตบิ คุ คลจ่ายเงนิ ได้ให้บคุ คลธรรมดา จ่าย บุคคล หา้ งหุ้นสว่ นสามญั หรือคณะบุคคลทม่ี ิใชน่ ติ ิบคุ คล เชน่ บรษิ ทั หรือหา้ งหนุ้ สว่ นนิติบคุ คล ตารางที่ 3 (1) การหักภาษีเงินได้ ณ ทจ่ี ่าย กรณี SME ซ่ึงเป็นบริษทั หรือหา้ งหนุ้ สว่ นนิตบิ ุคคลจ่ายเงนิ ไดใ้ หบ้ คุ คลธรรมดา เงินได้ ประเภท การหักภาษี ณ ที่จ่าย/ ผ้รู บั เงินได้ แบบทใี่ ช้ มาตรา เงินได้พงึ ประเมนิ อตั ราภาษี (ร้อยละ) นาส่งภาษี 40 (1) เงนิ ไดจ้ าก คานวณตามมาตรา 50 (1) การจา้ งแรงงาน อตั ราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เช่น เงนิ เดือน ทงั้ ผู้อยใู่ นและนอก ค่าล่วงเวลา โบนัส ฯลฯ (5 – 35) ประเทศไทย 40 (2) เงินได้จากหนา้ ที่ คานวณตามมาตรา 50 (1) ภ.ง.ด. 1 หรือตาแหน่งงานที่ทา อัตราภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา ผอู้ ยู่ในประเทศไทย หรือจากการรบั (5 – 35) ทางานให้ 15 มไิ ด้อยใู่ นประเทศไทย เช่น ค่านายหนา้ ฯลฯ 40 (3) คา่ แห่งก๊ดู วลิ ล์ อตั ราภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา ผ้อู ยู่ในประเทศไทย คา่ แหง่ ลขิ สิทธ์ิ ภ.ง.ด. 2 หรอื สิทธอิ ย่างอน่ื ฯลฯ (5 – 35) มไิ ด้อยใู่ นประเทศไทย 15
14 ตารางที่ 3 (2) การหักภาษเี งนิ ได้ ณ ทจี่ ่าย กรณี SME ซึง่ เปน็ บรษิ ัทหรอื หา้ งหุ้นส่วนนติ ิบคุ คลจา่ ยเงนิ ได้ใหบ้ ุคคลธรรมดา เงินได้ ประเภท การหกั ภาษี ณ ท่จี ่าย/ ผูร้ ับเงินได้ แบบทใ่ี ช้ มาตรา เงินไดพ้ ึงประเมนิ อัตราภาษี (รอ้ ยละ) นาสง่ ภาษี 40 (4) ดอกเบ้ียหุน้ กู้ 15 ทั้งผอู้ ยู่ในและนอก (ก) ดอกเบี้ยเงินกยู้ ืม ฯลฯ ประเทศไทย 40 (4) เงนิ ปนั ผล 10 ทง้ั ผู้อยู่ในและนอก (ข) เงนิ ส่วนแบง่ ของกาไร 15 ประเทศไทย 40 (4) เงินส่วนแบ่งของกาไรหรอื ทั้งผู้อยใู่ นและนอก ภ.ง.ด. 2 (ซ) ผลประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากการถือ ประเทศไทย หรือครอบครองโทเคนดจิ ิทลั 40 (4) ผลประโยชน์ท่ไี ดจ้ ากการโอน (ฌ) ครปิ โทเคอร์เรนซีหรือโทเคน 15 ทั้งผู้อยู่ในและนอก ดิจทิ ลั เฉพาะซ่งึ ตรี าคา ประเทศไทย เปน็ เงนิ ได้เกนิ กวา่ ทลี่ งทุน 40 (5) เงนิ หรอื ประโยชน์อยา่ งอนื่ ท่ีได้ 15 มไิ ดอ้ ยใู่ นประเทศไทย จากการให้เชา่ ทรพั ย์สนิ ฯลฯ 5 ผอู้ ย่ใู นประเทศไทย 40 (6) วชิ าชพี อสิ ระตามประมวลรษั ฎากร 3 ผู้อยใู่ นประเทศไทย ภ.ง.ด. 3 หรอื มีภูมลิ าเนาในไทย ไดแ้ ก่ กฎหมาย วศิ วกรรม สถาปตั ยกรรม การบญั ชี 15 มิได้อยใู่ นประเทศไทย ประณีตศิลปกรรม การประกอบโรคศิลปะ
15 ตารางที่ 3 (3) การหกั ภาษีเงินได้ ณ ทจี่ า่ ย กรณี SME ซ่งึ เปน็ บรษิ ทั หรือหา้ งหุ้นส่วนนิตบิ คุ คลจา่ ยเงนิ ไดใ้ หบ้ ุคคลธรรมดา เงนิ ได้ ประเภท การหักภาษี ณ ทจี่ า่ ย/ ผรู้ ับเงินได้ แบบทีใ่ ช้ มาตรา เงินได้พึงประเมนิ อัตราภาษี (ร้อยละ) นาส่งภาษี 40 (7) คา่ จ้างทาของ 3 ทง้ั ผอู้ ยู่ในและนอก และ ประเทศไทย 40 (8) 40 (8) ค่าขนสง่ 1 คา่ โฆษณา 2 เงินไดจ้ ากการให้บรกิ าร 3 ทั้งผู้อยูใ่ นและนอก ประเทศไทย ภ.ง.ด. 3 ไมร่ วมค่าบรกิ ารของโรงแรม คา่ บรกิ ารของภัตตาคาร และค่าเบย้ี ประกันชีวิต รางวัล สว่ นลดหรอื ประโยชนใ์ ดๆ 3 จากการส่งเสริมการขาย รางวลั ในการประกวด/ 5 การแขง่ ขัน/การชิงโชค คา่ แสดงของนักแสดงสาธารณะ 5 นักแสดงอย่ใู นไทย อัตราภาษเี งินไดบ้ คุ คลธรรมดา นกั แสดงมภี มู ิลาเนา (5 – 35) อยู่ต่างประเทศ หมายเหตุ โดยทว่ั ไปเมือ่ มีการจา่ ยคา่ ซื้อสนิ ค้า ซงึ่ เปน็ เงินได้พงึ ประเมนิ ประเภทท่ี 8 ผจู้ ่ายไมต่ อ้ งหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ย แต่หากผ้จู ่ายเป็นบรษิ ัทหรือห้างห้นุ สว่ นนิติบคุ คล (เฉพาะผจู้ า่ ยเงินเป็นผูซ้ ้ือข้าวและเป็นผู้สง่ ออก) จ่ายเงินซือ้ พืชผลทางการเกษตรประเภทขา้ ว ให้แกผ่ รู้ บั ซ่งึ เป็นบคุ คลธรรมดา ต้องหักภาษี ณ ท่จี า่ ย ในอัตราร้อยละ 0.5 และนาสง่ ด้วยแบบ ภ.ง.ด. 3
16 SME ทปี่ ระกอบกิจการในลกั ษณะนิติบุคคลจา่ ยให้นิตบิ ุคคล จา่ ย เชน่ บริษัทหรอื ห้างหุ้นสว่ นนติ ิบุคคล เช่น บริษทั หรือห้างหุ้นสว่ นนติ ิบุคคล ตารางที่ 4 (1) การหักภาษีเงนิ ได้ ณ ท่ีจ่าย กรณี SME ซึ่งเป็นบรษิ ัทหรือห้างห้นุ ส่วนนติ บิ ุคคล จา่ ยเงนิ ได้ใหบ้ ริษทั หรือห้างห้นุ ส่วนนิติบุคคล เงินไดม้ าตรา ประเภท อัตราภาษี ผูร้ บั เงนิ ได้ แบบทใี่ ช้ เงินไดพ้ ึงประเมนิ หัก ณ ท่ีจ่าย นาส่งภาษี (ร้อยละ) มาตรา 40 (2) – (6) ไม่ใช่ 15 (2) เงนิ ได้จากการรับทางานให้ เงนิ ปนั ผล (3) ค่าแห่งกู๊ดวลิ ล์ค่าแหง่ ลขิ สิทธ์หิ รือสทิ ธอิ ืน่ นิติบุคคลต่างประเทศ (4) ดอกเบ้ียเงินกูย้ ืม ผลประโยชน์ เงนิ ปนั ผล มไิ ด้ประกอบ หรือคา่ ตอบแทนทไ่ี ด้จากการใหก้ ยู้ มื ฯลฯ กจิ การในไทย ภ.ง.ด.54 (5) เงนิ หรอื ประโยชน์ท่ีไดจ้ ากการให้เช่า (ดอู นสุ ัญญาภาษซี ้อน ทรพั ยส์ นิ ประกอบ) (6) เงนิ ไดจ้ ากวชิ าชพี อิสระตามประมวล รษั ฎากร ไดแ้ ก่ กฎหมาย วิศวกรรม 10 สถาปัตยกรรม การบญั ชี ประณีตศิลปกรรม การประกอบโรคศิลปะ
17 ตารางท่ี 4 (2) การหักภาษเี งนิ ได้ ณ ที่จา่ ย กรณี SME ซ่งึ เป็นบริษทั หรือหา้ งหนุ้ สว่ นนิติบุคคล จา่ ยเงนิ ได้ใหบ้ รษิ ทั หรอื ห้างห้นุ สว่ นนติ ิบคุ คล เงนิ ได้ ประเภท อัตราภาษี ผูร้ บั เงนิ ได้ แบบทใ่ี ช้ เงนิ ไดพ้ ึงประเมนิ มาตรา หัก ณ ทจ่ี ่าย นาสง่ ภาษี (รอ้ ยละ) 40 (2) เงนิ ไดจ้ ากการรับทางานให้ 3 40 (3) คา่ แห่งกู๊ดวิลล์ คา่ แหง่ ลขิ สทิ ธิ์ 3 หรอื สิทธอิ ยา่ งอื่น ฯลฯ 40 (4) ดอกเบี้ยพนั ธบตั ร ดอกเบย้ี หนุ้ กู้ 1 (ก) ดอกเบี้ยตัว๋ เงนิ ดอกเบ้ยี เงนิ กู้ยมื 40 (4) เงินปนั ผล เงินสว่ นแบง่ ของกาไร 10 นติ ิบคุ คลไทย (ข) หรอื ประโยชนอ์ ่นื ใด 5 ภ.ง.ด. 53 40 (5) ค่าเชา่ หรอื ประโยชน์จากการให้เช่า 3 (ก) ทรพั ยส์ ิน แต่ไม่รวมถึงคา่ แหง่ อาคาร หรอื โรงเรอื นที่ไดร้ ับกรรมสทิ ธ์ิ 40 (6) วชิ าชีพอิสระ ตามประมวลรษั ฎากร ไดแ้ ก่ กฎหมาย วิศวกรรม สถาปตั ยกรรม การบญั ชี ประณีตศิลปกรรม การประกอบโรคศลิ ปะ 40 (7) ค่าจ้างทาของ - นติ ิบคุ คลต่างประเทศ มิไดป้ ระกอบกิจการในไทย 3 นติ ิบุคคลไทย นติ ิบคุ คลตา่ งประเทศ 5 ประกอบกิจการในไทย แตไ่ มม่ ีสาขาตั้งอยูถ่ าวรในไทย
18 ตารางท่ี 4 (3) การหักภาษเี งินได้ ณ ท่ีจ่าย กรณี SME ซงึ่ เป็นบริษัทหรอื ห้างหุ้นสว่ นนิติบคุ คล จ่ายเงนิ ได้ให้บรษิ ทั หรอื ห้างหนุ้ ส่วนนติ ิบคุ คล เงนิ ได้ ประเภท อัตราภาษี ผู้รบั เงินได้ แบบทใ่ี ช้ มาตรา เงินได้พงึ ประเมนิ หัก ณ ทจ่ี ่าย นาสง่ ภาษี (ร้อยละ) 40 (8) ทกุ ประเภท - นิติบุคคลต่างประเทศ - มิไดป้ ระกอบกจิ การในไทย ค่าเบ้ยี ประกนั วินาศภยั 1 ประกอบกจิ การรบั ประกนั วินาศภัย คา่ ขนสง่ 1 ค่าโฆษณา 2 เงนิ ได้จากการให้บรกิ าร 3 ประกอบกิจการในประเทศไทย 3 (ไม่รวมค่าบรกิ ารของโรงแรม ค่าบรกิ าร 5 ภ.ง.ด. 53 ของภตั ตาคาร และค่าเบ้ยี ประกนั ชวี ิต) 5 นติ บิ คุ คลต่างประเทศ รางวัล ส่วนลดหรอื ประโยชนใ์ ดๆ ประกอบกจิ การในไทย เนือ่ งจากการส่งเสรมิ การขาย แต่ไม่มสี าขาตง้ั อย่ถู าวรในไทย รางวลั ในการประกวด/ นิติบุคคลตา่ งประเทศ การแข่งขัน/การชงิ โชค ประกอบกจิ การในไทย ค่าจา้ งทาของ มีสาขาตง้ั อยู่ถาวรในไทย 3
19 หมายเหตุ โดยทวั่ ไปเม่ือมกี ารจา่ ยค่าซ้อื สินคา้ ซึ่งเป็นเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 ผู้จ่ายไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จา่ ย แต่หากบริษัทหรอื ห้างหนุ้ ส่วนนิติบุคคลจ่ายเงินซือ้ สนิ คา้ ดงั ต่อไปนี้ ให้แก่ผู้รับซึ่งเป็นบริษัท หรือห้างหนุ้ สว่ นนิตบิ คุ คล ต้องหกั ภาษี ณ ท่ีจา่ ยในอตั ราทก่ี ฎหมายกาหนด และนาส่งดว้ ยแบบ ภ.ง.ด. 53 ประเภท กรณผี ู้ซอ้ื เปน็ อัตราภาษี พชื ผลทางการเกษตร 1. ยางแผ่นหรอื ยางชนิดอน่ื ผู้สง่ ออกหรือผู้ผลติ ผลติ ภณั ฑส์ าเร็จรปู (รอ้ ยละ) ทผ่ี ลิตหรือได้จากยางพารา จากยางดงั กลา่ ว 2. มนั สาปะหลงั 0.75 3. ปอ ผสู้ ง่ ออก 0.75 4. ข้าวโพด ผู้สง่ ออกหรอื ผผู้ ลติ กระสอบปา่ น 0.75 ผ้ากระสอบป่าน 5. ออ้ ย 0.75 6. เมลด็ กาแฟ ดา้ ยทอกระสอบปา่ นหรอื ทอผา้ กระสอบป่าน 0.75 เชอื กหรอื ผลติ ภัณฑ์ใด ๆ ทีผ่ ลติ จากปอ 0.75 7. ผลปาลม์ นา้ มัน 0.75 8. ข้าว ผู้ส่งออกหรอื ผู้ผลิตน้ามันพชื 0.5 หรอื อาหารสตั วท์ กุ ชนิด ผูผ้ ลติ น้าตาล ผู้ส่งออกหรอื ผู้ผลติ ผลติ ภัณฑส์ าเร็จรูป จากกาแฟ ผผู้ ลิตนา้ มันปาล์มหรอื ผผู้ ลติ น้ามันพชื ผ้ซู ือ้ ข้าวและเป็นผู้ส่งออก
20 ผู้มีหนา้ ทหี่ ักภาษี ณ ทจี่ ่าย ต้องออกหนังสอื รับรองการหกั ภาษี ณ ท่ีจ่าย ท่ีไดห้ ักไวแ้ ล้วในปภี าษใี หแ้ กผ่ ูถ้ กู หกั ภาษี ณ ที่จา่ ย 2 ฉบบั มีขอ้ ความตรงกัน ในกรณีและตามกาหนดเวลาดังต่อไปนี้ 1. กรณีจา่ ยเงินไดจ้ ากการจา้ งแรงงานตามมาตรา 40(1) เชน่ เงนิ เดือน ฯลฯ และเงินไดจ้ ากการรับทางานให้ตามมาตรา 40(2) ใหอ้ อกหนังสอื รบั รองการหกั ภาษี ณ ทจ่ี ่าย 1.1 ภายในวนั ท่ี 15 กมุ ภาพันธ์ กมุ ภาพนั ธ์ ของปีถดั จากปภี าษี หรอื 1.2 ภายใน 1 เดือน (กรณอี อกจากงาน) 15 นับแตว่ นั ที่ผูถ้ ูกหักภาษี ณ ที่จา่ ยออกจากงานในระหว่างปภี าษี 2. กรณีอ่ืน* ใหอ้ อกในทนั ทที กุ ครง้ั ที่มกี ารหักภาษี ณ ที่จา่ ย * กรณหี กั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ย ตามมาตรา 3 เตรส มาตรา 50(2) มาตรา 50(3) หรอื มาตรา 50(4) แห่งประมวลรัษฎากร
21
22 แบบยนื่ รายการภาษีเงนิ ได้หกั ณ ท่ีจ่าย ภ.ง.ด.1 ตามมาตรา 59 แหง่ ประมวลรัษฎากร สาหรบั การหักภาษี ณ ที่จา่ ยตามมาตรา 50 (1) กรณกี ารจ่ายเงนิ ได้พึงประเมนิ ตามมาตรา 40 (1) (2) แห่งประมวลรัษฎากร ภ.ง.ด.1 เปน็ แบบยื่นรายการภาษีเงนิ ไดห้ ัก ณ ท่ีจา่ ย สาหรับผู้จ่ายเงินได้ จากการจ้างแรงงาน (เงนิ ได้มาตรา 40(1)) เชน่ เงินเดือน ค่าจา้ ง และเงนิ ไดจ้ าก หนา้ ทีห่ รอื ตาแหนง่ งานท่ีทาหรือจากการรบั ทางานให้ (เงนิ ไดม้ าตรา 40(2)) เช่น คา่ นายหน้า ใหแ้ ก่ผูม้ ีหน้าท่ีเสยี ภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา กาหนดเวลายื่นแบบ (พรอ้ มชาระเงินภาษ)ี : ภายใน 7 วัน นับแตว่ ันสิ้นเดือนของเดอื นทจ่ี ่ายเงนิ ได้ กาหนดการยื่นแบบ สานักงานสรรพากรพน้ื ท่ีสาขา สถานท่ียื่นแบบ : สานกั งานสรรพากรพนื้ ทส่ี าขา ทผี่ มู้ ีหน้าที่หักภาษี ณ ท่ีจา่ ยมสี านกั งานตัง้ อยู่ หากย่ืนแบบผา่ นอินเทอร์เน็ตทาง www.rd.go.th ได้รับสิทธิขยายเวลา ยืน่ แบบ (และชาระภาษี) ออกไปอีก 8 วนั (ภายในวนั ท่ี 15 ของเดือน ถดั จาก เดือนทจ่ี ่ายเงินได)้
23
24
25 หมายเหตุ การหกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยจากเงินไดพ้ ึงประเมนิ ตามมาตรา 40(1) และ 40(2) แห่งประมวลรษั ฎากร ให้คานวณตามมาตรา 50(1) วรรคแรก ตามวิธกี ารดังตอ่ ไปนี้ 1. คานวณหาเงนิ ไดพ้ ึงประเมนิ เสมอื นว่าได้จา่ ยทั้งปี : โดยนาเงินไดพ้ ึงประเมินทจี่ า่ ยคณู ด้วยจานวนคราวทีต่ อ้ งจ่าย (ต่อปี) ดังน้ี (1) จ่ายค่าจ้างเป็นรายเดือน ใหค้ ณู ดว้ ย 12 (2) จา่ ยค่าจ้างเดอื นละ 2 คร้ัง ให้คูณด้วย 24 (3) จา่ ยค่าจ้างเปน็ รายสัปดาห์ ให้คูณดว้ ย 52 2. คานวณเงินได้สทุ ธิ : โดยนาเงินไดพ้ งึ ประเมินทเ่ี สมอื นวา่ ไดจ้ ่ายทง้ั ปตี าม 1 มาคานวณหกั ค่าใชจ้ า่ ยและหกั ค่าลดหยอ่ น ได้ผลลัพธเ์ ปน็ เงินได้สทุ ธิ 3. คานวณภาษีทต่ี ้องชาระทั้งปี : ภาษีทตี่ ้องชาระทงั้ ปี = เงนิ ได้สุทธิ x อตั ราภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา (การคานวณภาษีตามวิธนี ี้จะไดร้ บั ยกเว้นภาษสี าหรบั เงินได้สทุ ธิ 150,000 บาทแรก) อตั ราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (อตั รากา้ วหนา้ ) 4. คานวณภาษีหกั ณ ท่จี า่ ย : ภาษที ต่ี ้องหักในแตล่ ะครงั้ = ภาษที ีต่ อ้ งชาระทัง้ ปี/จานวนคร้ังที่จา่ ยต่อปี หากเปน็ เงนิ ทีน่ ายจ้างจ่ายให้ครง้ั เดียวเพราะเหตุออกจากงาน ซ่ึงมรี ะยะเวลาทางานไมน่ อ้ ยกว่า 5 ปี ใหค้ านวณภาษี หกั ณ ท่ีจ่ายตามเกณฑใ์ นมาตรา 48(5) แห่งประมวลรัษฎากร (ไม่ไดร้ ับยกเว้นภาษสี าหรบั เงินไดส้ ทุ ธิ 150,000 บาทแรก)
26 แบบย่ืนรายการภาษเี งินได้หกั ณ ทจ่ี า่ ย ภ.ง.ด. 2 ตามมาตรา 59 แห่งประมวลรษั ฎากร สาหรับการหักภาษี ณ ท่ีจ่ายตามมาตรา 50 (2) กรณกี ารจ่ายเงนิ ไดพ้ งึ ประเมินตามมาตรา 40 (3) (4) แห่งประมวลรษั ฎากร ภ.ง.ด. 2 เป็นแบบยื่นรายการภาษเี งินไดห้ กั ณ ทีจ่ ่าย สาหรับผ้จู า่ ยเงินได้ ทีเ่ ป็นค่าแหง่ กดู๊ วลิ ล์ คา่ แหง่ ลขิ สทิ ธ์หิ รือสทิ ธอิ ย่างอ่นื ฯลฯ (เงินไดม้ าตรา 40(3)) และเงินไดจ้ ากดอกเบ้ีย เงนิ ปนั ผล ฯลฯ (เงินไดม้ าตรา 40(4)) ใหแ้ กผ่ มู้ ีหนา้ ที่ เสียภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา โปรดทราบ การยืน่ แบบ ภ.ง.ด. 2 ในปัจจบุ นั ไมส่ ามารถใช้วธิ พี ิมพ์แบบฟอร์ม ภ.ง.ด.2และใบแนบ ออกมากรอกข้อมูลเพื่อนาไปย่ืน ณ สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา เหมือนกับการย่ืน แบบยืน่ รายการภาษีเงนิ ได้หัก ณ ที่จา่ ยประเภทอืน่ ๆ สามารถยนื่ แบบภ.ง.ด. 2 โดยวธิ ี ดงั ต่อไปน้ี 1. ย่ืนผ่านระบบ SVS/SWC โดยฝากไฟล์ข้อมูลใบแนบรายการไว้ในระบบ SVS หรือ SWC ของกรมสรรพากร แลว้ ระบบจะสร้างหนา้ แบบฯ สาหรับนาไปยื่นชาระภาษี ณ สานักงานสรรพากรพื้นทสี่ าขาภายใน 7 วัน นบั แตว่ นั สน้ิ เดือนของเดือนที่จา่ ยเงนิ ได้ หรือ 2. ยนื่ แบบผ่านอินเทอรเ์ น็ตทาง www.rd.go.th ซงึ่ จะไดร้ บั สทิ ธขิ ยายเวลาย่ืนแบบ (และชาระภาษี) ออกไปอีก 8 วัน
27
28 หมายเหตุ : ไม่สามารถใช้วิธพี ิมพ์แบบฟอร์ม ภ.ง.ด. 2 และใบแนบตามตัวอยา่ งแล้วนามากรอกข้อมูล เพอ่ื นาไปยน่ื ณ สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา แตส่ ามารถยื่นแบบ ภ.ง.ด. 2 ไดโ้ ดยวธิ ีดังต่อไปนี้ 1. ย่นื ผา่ นระบบ SVS/SWC โดยฝากไฟลข์ ้อมูลใบแนบรายการไว้ในระบบ SVS หรือ SWC ของกรมสรรพากร แลว้ ระบบจะสรา้ งหนา้ แบบฯ สาหรบั นาไปยนื่ ชาระภาษี ณ สานกั งานสรรพากรพนื้ ทสี่ าขา หรอื 2. ย่นื แบบผ่านอนิ เทอรเ์ น็ตทาง www.rd.go.th
29 แบบย่นื รายการภาษเี งินไดห้ ัก ณ ท่ีจ่าย ภ.ง.ด.3 ตามมาตรา 59 แห่งประมวลรษั ฎากร สาหรบั การหักภาษี ณ ทจ่ี ่ายตามมาตรา 3 เตรส และมาตรา 50 (3) (4) (5) กรณีการจา่ ยเงินได้พงึ ประเมนิ ตามมาตรา 40 (5) (6) (7) (8) และเสยี ภาษตี ามมาตรา 48 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ภ.ง.ด. 3 เป็นแบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย สาหรับผู้จ่ายเงินได้จากการ ให้เช่าทรัพยส์ ิน (เงินไดม้ าตรา 40(5)) เงินได้จากวิชาชีพอิสระ คือ กฎหมาย การประกอบโรคศิลปะ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม (เงินได้มาตรา 40(6)) เงินได้จากการรับเหมา ทผ่ี ้รู ับเหมาต้องลงทุนดว้ ยการจัดหาสมั ภาระในสว่ นสาคัญนอกจากเคร่อื งมอื (เงินได้มาตรา 40(7)) เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง ฯลฯ (เงินไดม้ าตรา 40(8)) ให้แกผ่ ู้มหี นา้ ทเี่ สยี ภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา กาหนดเวลาย่ืนแบบ (พร้อมชาระเงินภาษ)ี : ภายใน 7 วนั นับแต่วนั สิ้นเดือนของเดือนทจ่ี ่ายเงนิ ได้ สถานท่ียืน่ แบบ : สานกั งานสรรพากรพน้ื ท่สี าขาทผี่ มู้ ีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายมีสานักงานตงั้ อยู่ หากยื่นแบบผา่ นอินเทอร์เน็ตทาง www.rd.go.th ไดร้ บั สทิ ธิขยายเวลาย่ืนแบบ (และชาระภาษี) ออกไปอีก8วัน จา่ ยค่าขนส่ง หักภาษี ณ ทีจ่ า่ ย แล้วนาส่งด้วยแบบ ภ.ง.ด. 3
30
31
32 แบบย่ืนรายการภาษเี งินได้หัก ณ ท่ีจ่าย ภ.ง.ด.53 ตามมาตรา 3 เตรส และมาตรา 69 ทวิ และการเสียภาษีตามมาตรา 65 จัตวา แหง่ ประมวลรษั ฎากร ภ.ง.ด. 53 เป็นแบบยนื่ รายการภาษีเงินไดห้ ัก ณ ทจ่ี ่าย สาหรับผู้จ่ายเงนิ ไดใ้ ห้แกบ่ รษิ ัทหรอื ห้างหุน้ สว่ นนติ ิบุคคล กาหนดเวลายน่ื แบบ (พรอ้ มชาระเงินภาษี) : ภายใน 7 วัน นับแต่วันสิ้นเดือนของเดอื นทจ่ี ่ายเงนิ ได้ กาหนดการยืน่ แบบ สานักงานสรรพากรพน้ื ท่ีสาขา สถานท่ียืน่ แบบ : สานกั งานสรรพากรพืน้ ท่ีสาขา ทผี่ มู้ หี นา้ ทห่ี ักภาษี ณ ท่ีจา่ ยมสี านักงานตั้งอยู่ หากย่นื แบบผ่านอินเทอรเ์ นต็ ทาง www.rd.go.th ไดร้ ับสิทธิขยายเวลา ย่ืนแบบ (และชาระภาษี) ออกไปอีก 8 วัน (ภายในวันท่ี 15 ของเดือน ถดั จาก เดือนทีจ่ ่ายเงนิ ได)้
33
34
35 แบบย่ืนรายการนาส่งภาษีเงนิ ไดน้ ิตบิ คุ คล และการจาหนา่ ยเงนิ กาไร ภ.ง.ด.54 ตามมาตรา 70 และมาตรา 70 ทวิ แหง่ ประมวลรัษฎากร ภ.ง.ด. 54 เปน็ แบบยื่นรายการนาส่งภาษีเงนิ ไดน้ ิติบุคคลและการจาหน่ายเงนิ กาไร สาหรับ 1*. ผ้จู ่ายเงนิ ไดพ้ ึงประเมินมาตรา 40(2) ได้แก่ คา่ ธรรมเนยี ม คา่ นายหน้า ค่าสว่ นลด ฯลฯ มาตรา 40(3) ไดแ้ ก่ คา่ แห่งกดู๊ วลิ ล์ ค่าแห่งลขิ สทิ ธ์ิ หรอื สิทธิอยา่ งอ่ืน ฯลฯ มาตรา 40(4) ได้แก่ เงินได้ ทเี่ ปน็ ดอกเบ้ีย พันธบัตร หนุ้ กู้ ต๋ัวเงิน เงนิ กู้ยืม เงนิ ปันผล ฯลฯ มาตรา 40(5) เงนิ หรอื ประโยชนอ์ ย่างอื่นท่ีได้ เน่ืองจากการใหเ้ ช่าทรพั ย์สนิ ฯลฯ หรอื มาตรา 40(6) แหง่ ประมวลรษั ฎากร ได้แก่ เงินไดจ้ ากวิชาชีพอิสระ คอื วิชากฎหมาย การประกอบโรคศลิ ปะ วศิ วกรรม สถาปตั ยกรรม การบญั ชี ประณตี ศิลปกรรมใหแ้ กบ่ รษิ ทั หรอื หา้ งหุ้นส่วนนติ ิบคุ คลท่ีต้ังขึ้นตามกฎหมายของตา่ งประเทศ และมิไดป้ ระกอบกิจการ ในไทย โดยหักภาษี ณ ที่จา่ ยจากเงนิ ได้พงึ ประเมนิ ท่ีจา่ ย ไม่วา่ จะเป็นการจ่ายนอกหรือในประเทศ 2. บริษัทหรือหา้ งหุ้นส่วนนิติบคุ คลทต่ี ัง้ ข้ึนตามกฎหมายของต่างประเทศและประกอบ กิจการในไทย จาหน่ายเงินกาไรหรือเงนิ ประเภทอื่นใดทก่ี ันไว้จากกาไรออกไปจากไทย และต้องเสยี ภาษี เงนิ ได้ในจานวนเงินที่จาหนา่ ย กาหนดเวลายนื่ แบบ (พร้อมชาระเงนิ ภาษี) : ภายใน 7 วนั นบั แต่วนั สน้ิ เดอื นของเดอื นทจ่ี ่ายเงินได้ หรือจาหน่ายเงินกาไร สถานทีย่ น่ื แบบ : สานกั งานสรรพากรพ้นื ทส่ี าขาในทอ้ งที่ทผี่ ้มู ีหนา้ ท่ีหักภาษีไดม้ ีการจ่ายเงนิ ได้ หรือในท้องท่ีท่ผี ้เู สยี ภาษมี ีสานักงานใหญ่ตั้งอยู่ หากยื่นผ่านอินเทอรเ์ นต็ ทาง www.rd.go.th ไดร้ บั สิทธิขยายเวลาย่นื แบบ (และชาระภาษ)ี ออกไปอีก 8 วัน หมายเหตุ *นอกจากย่ืนแบบ ภ.ง.ด. 54 แล้ว หากจ่ายคา่ บริการใหก้ บั ผู้ประกอบการดังตอ่ ไปนี้ ยงั ตอ้ งยื่นแบบ ภ.พ. 36 ด้วย 1. ผปู้ ระกอบการทีอ่ ยูน่ อกราชอาณาจักร ซ่งึ ได้เข้ามาใหบ้ ริการในราชอาณาจกั รเป็นการช่ัวคราว และไม่ได้จดทะเบียน ภาษีมลู คา่ เพิ่มเป็นการชัว่ คราว 2. ผปู้ ระกอบการที่ไดใ้ ห้บรกิ ารในตา่ งประเทศและได้มีการใช้บรกิ ารนนั้ ในราชอาณาจกั ร
36
37 นอกจากการหักภาษี ณ ที่จ่ายและนาส่งตามรูปแบบเดิมแล้ว ผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินได้และมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายสามารถใช้วิธีการหักและนาส่ง เงินภาษีต่อกรมสรรพากร ผ่านธนาคารที่เข้าร่วมโครงการพร้อมกับการจ่ายเงินได้ โดยการตดิ ต่อขอใชบ้ ริการนาสง่ ข้อมูลและเงินภาษีผ่านระบบ e-Withholding Tax กบั ธนาคารทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ ซึ่งไดร้ ับการอนมุ ตั ิจากกรมสรรพากรแล้ว ดังน้ี
38 ภาพรวมของระบบ e-Withholding Tax กรมสรรพากร ส่งขอ้ มลู และสง่ เงนิ ภาษีหัก ณ ทจี่ า่ ย A สง่ ข้อมูล/ส่งเงนิ B ธนาคาร A ธนาคาร B ผู้จ่ายเงิน ผู้รบั เงนิ สงั่ ใหธ้ นาคาร A โอนเงิน ให้หลกั ฐานการโอนเงิน - สง่ เงนิ ใหผ้ รู้ บั เงิน - สง่ เงนิ ภาษใี หก้ รมสรรพากร รับเงนิ และไดร้ ับแจง้ ขอ้ มูล - ส่งขอ้ มูล การถกู หักภาษี ณ ทจี่ ่ายจากธนาคาร บรษิ ัท A* ผจู้ า่ ยเงนิ บรษิ ัท B ผู้รบั เงนิ หมายเหตุ * บรษิ ัท A ผจู้ า่ ยเงนิ ไมต่ ้องยน่ื แบบยื่นรายการภาษีเงินไดห้ ัก ณ ทจี่ า่ ย และไม่ต้องออก หนังสือรบั รองการหกั ภาษี ณ ท่จี ่าย (ตามมาตรา 50 ทวิ แหง่ ประมวลรัษฎากร) สาหรบั รายการดังกล่าว
39 แบบ ภ.ง.ด. 1ก เปน็ แบบย่นื รายการภาษีเงนิ ไดห้ ัก ณ ที่จ่าย สาหรับผจู้ ่ายเงนิ ได้ ตามมาตรา 40(1) และ 40(2) แหง่ ประมวลรษั ฎากร ใหแ้ กผ่ ู้มหี นา้ ทเ่ี สียภาษีเงินได้ บคุ คลธรรมดา โดยกรอกรายการสรุปเมื่อสิน้ ปภี าษี กาหนดเวลาย่นื แบบภายในเดอื น กมุ ภาพนั ธข์ องปีถัดไป แบบ ภ.ง.ด. 2ก เป็นแบบยนื่ รายการภาษเี งินไดห้ ัก ณ ที่จา่ ย สาหรับผู้จ่ายเงนิ ได้ ตามมาตรา 40(4) แหง่ ประมวลรัษฎากร ใหผ้ มู้ ีหนา้ ที่เสยี ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา โดยกรอกรายการสรุปจากแบบ ภ.ง.ด. 2 ในปภี าษี กาหนดเวลายื่นแบบภายในเดอื น มกราคมของปีถัดไป ตารางสรปุ กาหนดการยน่ื รายงานสรปุ การหกั ภาษีหัก ณ ที่จา่ ยประจาปี ประเภทแบบ ย่ืนภายใน ยืน่ ผ่านอินเทอร์เนต็ ทาง ภ.ง.ด. 1ก กมุ ภาพนั ธ์ของปถี ดั ไป www.rd.go.th ภ.ง.ด. 2ก มกราคมของปถี ัดไป ภายใน กมุ ภาพันธ์ของปถี ดั ไป + 8 วนั มกราคมของปถี ัดไป + 8 วนั นอกจากน้ีผมู้ หี น้าทหี่ กั ภาษเี งนิ ได้ ณ ท่ีจา่ ย ยงั คงมีหน้าที่ต้องจัดทาบัญชีพิเศษ แสดงการหกั ภาษี ณ ท่จี ่าย ตามประกาศอธิบดีฯ ภาษเี งินไดแ้ ละภาษกี ารค้า (ฉบบั ที่ 4) และเกบ็ รักษาบัญชีพเิ ศษไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี ท่ีสานกั งานทม่ี กี ารจา่ ยเงินได้
40
41
42
43 หมายเหตุ : ไม่สามารถใช้วธิ ีพิมพแ์ บบฟอรม์ ภ.ง.ด. 2ก และใบแนบตามตัวอย่างแล้วนามากรอกขอ้ มูล เพอื่ นาไปย่ืน ณ สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาได้ แตส่ ามารถยน่ื แบบ ภ.ง.ด. 2ก ได้ โดยวธิ ีดังต่อไปน้ี 1. ยนื่ ผา่ นระบบ SVS/SWC โดยวิธฝี ากไฟล์ขอ้ มูลใบแนบรายการไว้ในระบบ SVS หรอื SWC ของกรมสรรพากร แล้วระบบจะสรา้ งหน้าแบบฯ สาหรบั นาไปย่ืน ณ สานกั งานสรรพากรพน้ื ทีส่ าขา หรอื 2. ยน่ื แบบผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ตทาง www.rd.go.th
44
45 กรณีผู้ประกอบการ SME เป็นผู้มีเงินได้ เมื่อได้รับเงินได้ประเภทที่ต้องถูกหัก ภาษี ณ ท่จี ่าย แม้จะถูกหักภาษี ณ ท่จี ่ายไว้แล้ว ก็ยังมีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้ โดยนาเงินไดท้ ุกประเภทท่ีไดร้ ับ (ไม่ว่าจะถูกหัก ณ ที่จ่ายไว้หรอื ไม่ก็ตาม) มารวม คานวณภาษเี งนิ ได้ …. … แบบแสดงรายการภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา …. …. แบบแสดงรายการภาษีเงินไดบ้ ริษทั หรือหา้ งหนุ้ สว่ นนิตบิ คุ คล
46 ทั้งนี้ ผู้มีเงินได้ (ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย) สามารถนาภาษีที่ถูกหักไว้ มาเป็นเครดิต ในการคานวณภาษีเงินได้สาหรับปีภาษีหรือรอบระยะเวลาบัญชีที่ถูกหักไว้นั้น (โดยนาภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายไว้ มาหักออกจากภาษีที่คานวณได้ หากภาษี ที่ถูกหักไว้น้อยกว่าภาษีที่คานวณได้ ผู้มีเงินได้ต้องชาระภาษีเพิ่มในส่วนต่าง หากภาษีที่ถูกหักไว้มากกว่าภาษีที่คานวณได้ สามารถแจ้งความประสงค์ ขอคืนภาษีในแบบ ภ.ง.ด. 90 หรอื ภ.ง.ด. 50 (แลว้ แต่กรณี) ได)้ ผู้ถกู หกั ภาษี ณ ที่จ่าย ทกุ ครง้ั ทมี่ กี ารจ่ายเงนิ ได้ อยา่ ลมื ขอหนังสือรบั รอง การหกั ภาษี ณ ทจ่ี ่ายจากผ้จู า่ ยเงนิ ได้ เพื่อใชเ้ ป็นหลักฐานประกอบ การย่นื แบบแสดงรายการภาษเี งนิ ได้ รบั ทราบ ยกเลกิ
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: