43 บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธกิ าร, กรมวชิ าการ. (2545). ครกู บั การวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาการเรยี นการสอน. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว. ขัณธช์ ัย อธิเกยี รติและธนารักษ์ สารเขือ่ นแก้ว. (ม.ม.ป.). การสอนแบบทนั สมยั และเทคนิควธิ กี ารสอนแนวใหม่. (ม.ป.ท.). ชาญวิทย์ คำเจริญและดารกา พลงั . การใชส้ ่ือจำลองโตต้ อบเสมือนจริง : การเคล่อื นท่แี นววิถีโคง้ . (วารสาร ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่, 2562) ดเิ รก วรรณเศียร. (2558). MACRO model : รปู แบบการจดั การเรียนรสู้ ำหรบั ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลยั ราชภฎั สวนดสุ ิต. ทศิ นา แขมมณ.ี (2547). ศาสตรก์ ารสอน. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ประพันธศ์ ิริ สเุ สารจั . (2551). การพัฒนาการคดิ . กรงุ เทพฯ : 9119 เทคนคิ พริ้นติง้ . พงษธ์ ลกั ษณ์ สบิ แก้ว และคณะ. เจตคติตอ่ การจดั การเรียนรแู้ บบ MACRO เรื่องระบบประสาท ของนักเรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5. (วารสารงานประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ มหาวิทยาลยั รังสติ ). พมิ พ์พนั ธ์ เดชะคปุ ต์. (2544). การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ : แนวคิด วธิ กี าร เทคนคิ การสอน 2. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพ์ บรษิ ทั เดอะมาสเตอรก์ ร๊ปุ เมเนจเม้นท์ จำกดั . ฟิกรี กีไร. การเปรยี บเทยี บการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและความคงทนในการเรยี นรู้วชิ าชีววทิ ยา เรื่อง อาณาจักรของส่ิงมีชวี ติ ดว้ ยการจัดการเรยี นร้ใู นรูปแบบ MACRO model ร่วมกับเทคนคิ แผนผงั ความคดิ แผนผังความคิดของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั รังสิต, 2561) บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2545). การวจิ ยั เบ้ืองตน้ . พมิ พ์คร้ังที่ 7. กรุงเทพฯ : สวุ ีรยิ าสาสน์ . บุญธรรม กจิ ปรดี าบริสุทธ์.ิ (2531). เทคนคิ การสร้างเครื่องมอื รวบรวมข้อมูลสำหรบั การวจิ ัย. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ศรีอนนั ต.์ ภพ เลาหไพบูลย.์ (2542). แนวการสอนวทิ ยาศาสตร์. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ . ยทุ ธ ไกรวรรณ.์ (2551). วิเคราะห์ข้อมลู วจิ ัย 4. กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ่ือเสรมิ กรงุ เทพ. รวีวรรณ ชนิ ะตระกูล. (2538). วิธวี ิจยั การศกึ ษา. พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ฯ ลาดกระบัง. ระวิพรขนิษฐ์ สนิทพ่วง. บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณ์ เรอื่ ง เวอรเ์ นยี รค์ าลเิ ปอรแ์ ละ ไมโครมิเตอร์. (วารสารบัณฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา, 2561) ลว้ น สายยศและอังคณา สายยศ. (2538). เทคนคิ การวจิ ัยทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : ศูนยส์ ่งเสริมวิชาการ. ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวจิ ัยทางการศกึ ษา. พมิ พค์ รั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สวุ รี ิยาสาสน์ . วฒั นาพร ระงับทกุ ข์. (2545). เทคนิคและกิจกรรมการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ัน
44 พื้นฐาน. กรงุ เทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟคิ . วันชาติ เหมอื นสน. (2546). เทคนิคการสอนเกม. ฝา่ ยวชิ าการวิทยาลัยพลศกึ ษาจังหวัดสุพรรณบรุ .ี สมนึก ภทั ทยิ ธนิ. (2546). การวดั ผลการศกึ ษา. พิมพค์ รงั้ ท่ี 4. กาฬสนิ ธ์ุ : ประสานการพิมพ.์ สกลุ สขุ ศริ .ิ (2550). ผลสัมฤทธิ์ของสื่อการเรียนรแู้ บบ Game Based Learning. สารนิพนธ์ สวุ ิทย์ มูลคำและอรทัย มลู คำ. (2545). วธิ ีจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ภาพพิมพ.์ สวุ มิ ล วอ่ งวาณชิ . การวจิ ยั ปฏิบตั ิการในช้นั เรยี น. กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. อโณทยั งามวชิ ัยกิจ. (2558). การวิจัยแบบผสมผสานเชงิ คณุ ภาพและเชิงปรมิ าณ. วารสารการจัดการสมยั ใหม.่ ปที ่ี 13 ฉบับที่ 1. เอ้อื มพร หลินเจรญิ . (2555). เทคนคิ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. วารสารการวัดผลการศึกษา. 17-29. เกรียงศักดิ์ เจรญิ วงศ์ศกั ดิ.์ (2544). การคดิ เชิงวพิ ากษ์. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย. ไพศาล วรคำ. (2559). การวิจยั ทางการศกึ ษา (Educational Research). พมิ พค์ ร้ังท่ี 8. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์. ไพศาล หวังพานิช. (2526). การวัดผล. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. Bergman, J. (1996). Understanding Educational Measurement and Evaluation. Boston : Hougton Mifflin. Carpenter, Moore and Perkins. (2016). Using an Interactive Simulation To Support Development of Expert Practices for Balancing Chemical Equations. University of Colorado Boulder, Boulder, Colorado 80309, United States. Dressel, P. L. and Mayhew. (1957). General Education : Explorations in Evaluation. 2nd ed. Washington D.C. : American Council on Education. Fitz – Gibbons, C.T., & Morris, L.L. (1987). How to design a program evaluation. Newbury Park, CA : Sage. Mehrens, W.A. and Lehmen, L.J. (1984). Measurement and Evaluation in Education and Psychology. 3rd ed. Tokyo : Holt Rinehart and Winston. Schellinger, Hensberry and Findley. (2017). Variations on play with interactive computer simulations: balancing competing priorities. Journal of Development Studies. Smith, Barry D. (1998). Psychology : Science and understanding. Massachusett : McGraw–Hill. Watson, G., and Glaser, E.M. (1964). Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal Manual : Form Ym and Zm. New York : Harcout Brace and World Inc.
45 ภาคผนวก
46 ภาคผนวก ก รายนามผู้เชย่ี วชาญที่ตรวจสอบเคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจยั
47 รายนามผเู้ ช่ยี วชาญท่ีตรวจสอบเครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวิจยั 1. นายธนพนธ์ ปงึ ทพิ ย์พิมานชัย ครูผู้สอนวชิ าวิทยาศาสตร์ ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 2. นายปิยะ ชำนาญปรุ โรงเรียนหางดงรฐั ราษฎรอ์ ุปถัมภ์ 3. นางฟารดิ า เดชะกูล ครูผสู้ อนวชิ าเคมี ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนหางดงรัฐราษฎรอ์ ุปถมั ภ์ ครผู สู้ อนวชิ าเคมี ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรียนหางดงรฐั ราษฎรอ์ ุปถมั ภ์
48 ภาคผนวก ข แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ เรือ่ ง พนั ธะเคมี
49 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ น้ำ เวลา 15 ช่ัวโมง เรอ่ื ง โมเลกลุ ของนำ้ เวลา 3 ช่วั โมง รหสั วิชา ว32104 ครูผู้สอน นางสาวมนสั นันท์ ฟกั แก้ว โรงเรียนหางดงรฐั ราษฎร์อุปถัมภ์ สงั กัด สพม. 34 1. สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสาร กบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี ตัวชี้วัด ม.5/8 ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุจำนวนคู่ อเิ ลก็ ตรอนระหวา่ งอะตอมคูร่ ว่ มพันธะ จากสูตรโครงสร้าง 2. สาระสำคญั น้ำเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต โมเลกุลของน้ำประกอบด้วย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม ซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเคมีที่เรียกว่าพันธะโคเวเลนต์ ซึ่งเป็นพันธะ ภายในโมเลกุล เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน คู่อะตอมที่ใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน เรียกว่า อะตอมครู่ ว่ มพันธะ การที่อะตอมยึดเหนี่ยวกันดว้ ยพนั ธะโคเวเลนตเ์ กิดเปน็ สารโคเวเลนต์ ซ่ึงอาจเปน็ ธาตุ หรือ สารประกอบ ส่วนใหญ่เกดิ จากการรวมกันของธาตุอโลหะ ดังน้ันน้ำจงึ จัดเป็นสารโคเวเลนต์ จำนวนและชนดิ ของธาตุองค์ประกอบภายในโมเลกุลของสารโคเวเลนต์แสดงได้ด้วย สูตรโมเลกุล (molecular formula) โดยสูตรโมเลกุลจะบอกชนิดและจำนวนอะตอมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบใน 1 โมเลกุล แต่ไม่ได้แสดงว่า อะตอมคู่ใดยึดเหนี่ยวกนั 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นสามารถ ด้านความรู้ (K) 1. บอกจำนวนอะตอมของธาตอุ งค์ประกอบในโมเลกุลของสารโคเวเลนต์จากสูตรโมเลกุลหรอื สูตร โครงสร้างได้ 2. ระบุวา่ พันธะโคเวเลนต์เป็นพนั ธะเดยี่ ว พันธะคู่ หรือพนั ธะสาม และจำนวนคู่อิเลก็ ตรอนระหว่าง อะตอมคูร่ ว่ มพนั ธะ จากสูตรโครงสร้างได้ ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) 3. สร้างแบบจำลองโมเลกลุ โคเวเลนต์ได้ 4. นำเสนอผลงานหน้าชัน้ เรียนได้ 5. สืบค้นขอ้ มลู โดยใช้เทคโนโลยีได้ ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) 6. รับผิดชอบตอ่ หนา้ ทแี่ ละงานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
50 4. สาระการเรียนรู้ พันธะเคมี (Chemical Bonding) หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลหรือ ระหว่างโมเลกลุ ด้วยกันเอง เพื่อทำให้วาเลนตอ์ ิเล็กตรอนมคี ่าเทา่ กับแปด ทำให้อะตอมนั้นมีความเสถยี รและ สามารถดำรงอย่อู ยา่ งอสิ ระ พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) หมายถึง พันธะเคมีที่เกิดจากอะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอน ร่วมกัน ซึ่งพันธะโคเวเลนต์มักเกิดขึ้นระหว่างอะตอมที่มีคา่ อิเล็กโตรเนกาทิวิตใี กลเ้ คียงกนั โดยแต่ละอะตอม ต่างมคี วามสามารถท่จี ะดึงดูดอเิ ล็กตรอนไวก้ บั ตัวใกล้เคยี งกนั อเิ ลก็ ตรอนครู่ ว่ มพนั ธะจึงไม่ได้อยู่ ณ อะตอมใด อะตอมหนง่ึ แต่เป็นการใช้อเิ ล็กตรอนรว่ มกนั เพือ่ ใหม้ คี วามเสถยี รตามกฎออกเตต (Octet rule) ตัวอย่างแสดง การเกดิ พนั ธะโคเวเลนต์ของโมเลกลุ นำ้ (H2O) กฎออกเตต (Octet rule) จากการศึกษาธาตุเฉื่อย เช่น He, Ne, Ar, Kr พบว่าเป็นธาตุที่จัดอยู่ใน ประเภทโมเลกลุ อะตอมเดียวทุกสถานะ คอื ใน 1 โมเลกุลของธาตุเฉอื่ ยจะมเี พยี ง 1 อะตอมทัง้ สถานะของแข็ง ของเหลว และก๊าซในธรรมชาตเิ กือบจะไม่พบสารประกอบของธาตุเฉื่อยเลย แสดงวา่ ธาตุเฉอ่ื ยเปน็ ธาตทุ เ่ี สถียร มาก เกิดปฏิกิริยาเคมีกับธาตุอื่นได้ยาก ทำให้นักวิทยาศาสตร์สนใจค้นควา้ ถึงเหตุผลที่ทำให้ธาตุเฉื่อยมีความ เสถียร จากการศึกษาโครงสร้างอะตอมของธาตุเฉื่อยพบว่าธาตุเฉื่อยมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนวงนอกสุด เหมือนกัน คือ มี 8 เวเลนต์อิเล็กตรอน (ยกเว้นธาตุ He มี 2 ) ธาตุหรืออะตอมแตล่ ะตัวต้องการท่ีจะปรับให้ ตนเองเสถยี รและมีเวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนเหมือนกับอะตอมของธาตหุ มู่ 8 ซงึ่ การท่ีอะตอมของธาตตุ ่าง ๆ รวมตัว กนั ดว้ ยสัดส่วนท่ีทำใหม้ ีเวเลนต์อเิ ลก็ ตรอนเท่ากับ 8 นี้ นกั วทิ ยาศาสตร์ไดต้ ้งั เป็นกฎเรยี กว่า กฎออกเตต ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ : พิจารณาจากจำนวนอเิ ลก็ ตรอนทีใ่ ชร้ ว่ มกันของอะตอมคู่รว่ มพนั ธะ ดงั น้ี 1. พันธะเดี่ยว เป็นพันธะโคเวเลนต์ท่ีเกิดจากอะตอมคูส่ รา้ งพันธะท้ังสองใช้อิเล็กตรอนรว่ มกนั 1 คู่ ใช้เสน้ ( - ) แทนพนั ธะเด่ยี ว เชน่ 2. พันธะคู่ เป็นพันธะโคเวเลนต์ที่เกิดจากอะตอมคู่สร้างพันธะทั้งสองใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่ ใช้ เส้น 2 เส้น ( = ) แทน 1 พันธะคู่ เช่นพันธะระหว่าง O ใน O2 , O กบั C ใน CO2 , C กับ H ใน C2H4
51 3. พนั ธะสาม เป็นพนั ธะโคเวเลนต์ท่ีเกดิ จากอะตอมคสู่ ร้างพันธะท้ังสองใชอ้ เิ ลก็ ตรอนรว่ มกนั 3 คู่ ใช้ เส้น 3 เส้น แทน 1 พันธะสาม เช่น พนั ธะระหวา่ ง N กบั N ใน N2 , N กับ C ใน HCN หลกั การเขียนสตู รโครงสรา้ งแบบจุด สูตรโครงสร้างใชส้ ัญลักษณเ์ ป็นจดุ ( . ) แทนเวเลนต์อิเล็กตรอนโดยเขียนไว้รอบ ๆ สญั ลักษณ์ของธาตุ หรืออาจจะใช้สัญลักษณ์เป็น x แทนเวเลนต์อิเล็กตรอนก็ได้เพื่อให้เห็นความแตกต่างระหว่างอิเล็กตรอนของ ธาตคุ ู่ร่วมพันธะตา่ งชนิดกนั โดยทว่ั ๆ ไปการเขยี นสูตรแบบจดุ จะมีขอ้ กำหนดดังนี้ 1. แยกสูตรเคมอี อกมาเปน็ ธาตยุ อ่ ย ๆ แต่ละตัว 2. เขียนธาตทุ ม่ี ีจำนวนนอ้ ยท่ีสุดไวต้ รงกลาง 3. เขียนจดุ ( . ) แสดงเวเลนซ์อิเล็กตรอนล้อมรอบสัญลักษณ์ของธาตุ โดยมจี ำนวนจดุ เท่ากบั จำนวนเวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน 4. นำอเิ ล็กตรอนมาแชร์กันจนครบตามกฎออกเตต โดยใหเ้ ขียนอิเลก็ ตรอนทใ่ี ชร้ ว่ มกนั ไว้ ระหวา่ งอะตอมทง้ั 2 ชนิด ส่วนอิเลก็ ตรอนท่ไี มไ่ ด้ใช้รว่ มกันใหเ้ ขียนไว้บนอะตอมเดิม ตัวอยา่ งการเขยี นโครงสรา้ งแบบจุด
52 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 5.1 ความสามารถในการส่ือสาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 5.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 6.1 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6.2 ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 6.3 มีวินยั 6.4 ใฝเ่ รยี นรู้ 6.5 อยู่อย่างพอเพียง 6.6 ม่งุ มั่นในการทำงาน 6.7 รกั ความเป็นไทย 6.8 มีจติ สาธารณะ 7. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน - ใบกิจกรรม เรื่อง พนั ธะโคเวเลนต์ 8. กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ ขน้ั ท่ี 1 ข้ันสร้างแรงจูงใจ (Motivation) (70 นาท)ี 1. ครกู ล่าวทกั ทายนักเรียน 2. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน ประกอบดว้ ย 1) แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พนั ธะโคเวเลนต์ จำนวน 15 ขอ้ 2) แบบทดสอบวดั การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ จำนวน 25 ขอ้ 3. ครูทบทวนชือ่ และสญั ลักษณ์ของธาตใุ นตารางธาตุ 4. ครทู บทวนความร้เู ดมิ ดว้ ยการเลน่ เกม ตีตุ่นธาตุโลหะ ผ่าน wordwall.net 5. ครูถามว่า ธาตุโลหะมักอยู่หมู่อะไร (แนวคำตอบ : หมู่ 1 2 และ 3) และธาตุอโลหะมักอยู่หมู่ อะไร (แนวคำตอบ : หมู่ 5 6 7 และ 8) 6. ครูถามต่อว่า ชื่อธาตุโลหะมักลงท้ายด้วยคำว่าอะไร (แนวคำตอบ : มักลงท้ายด้วย เอียม เช่น โซเดียม รบู เิ ดียม หรือซีเซยี ม เปน็ ตน้ ) 7. ครูเปิดรูปน้ำให้นักเรียนดูและถามว่า นักเรียนคิดว่าน้ำมีความสำคัญอย่างไรในชีวิตประจำวัน (แนวคำตอบ : ตามความคดิ เห็นของนักเรยี น ตัวอยา่ งเช่น น้ำเป็นองคป์ ระกอบในรา่ งกาย น้ำเป็น ตวั ทำละลาย เป็นต้น) 8. ครูถามต่อว่า จะเกิดอะไรขึ้นถ้าร่างกายของคนเราขาดน้ำ (แนวคำตอบ : ตามความคิดเห็นของ นักเรียน ตัวอย่างเช่น อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่ำ ผิวหนังแห้งและเหี่ยวย่น ท้องเสียรุนแรง อจุ จาระเปน็ เลือด เป็นต้น) 9. ครเู ปดิ คลปิ จะเกิดอะไรขนึ้ ถ้าคณุ ไมด่ ม่ื นำ้ - เมีย นาคามุลลิ (Mia Nacamulli)
53 ทมี่ า : https://www.youtube.com/watch?v=9iMGFqMmUFs 10.นักเรียนและครูร่วมกันพูดคุยเกี่ยวกับคลิป จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคุณไม่ดื่มน้ำ - เมีย นาคามุลลิ (Mia Nacamulli) 11.ครเู ร้าความสนใจเร่ืองพนั ธะเคมี ด้วยตวั อยา่ งดังนี้ 12.ครถู ามว่า ในการยึดสิง่ ของเขา้ ด้วยกันตอ้ งใชส้ ง่ิ ใดมาช่วยยดึ (แนวคำตอบ : ปูน กาว ไม้ไผ่ ดา้ ย) 13.ครูถามต่อว่า นักเรียนคิดว่าโมเลกุลของน้ำมีธาตุใดเป็นองค์ประกอบบ้าง (แนวคำตอบ : ธาตไุ ฮโดรเจนและธาตอุ อกซเิ จน) 14.ครใู หน้ กั เรยี นคน้ หาองค์ประกอบโมเลกลุ ของน้ำ 15.ครถู ามว่า น้ำมสี ูตรเคมีว่าอย่างไร (แนวคำตอบ : H2O) และประกอบดว้ ยธาตอุ ะไรบา้ ง อยา่ งละกี่ อะตอม (แนวคำตอบ : อะตอมของไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม และ อะตอมของออกซิเจน (O) 1 อะตอม) 16.ครูกล่าวว่า น้ำ หรือ H2O ประกอบด้วยอะตอมของไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม และ อะตอมของ ออกซิเจน (O) 1 อะตอม นักเรียนคิดว่าอะตอมของธาตุสองชนิดนี้มาอยู่ด้วยกันได้อย่างไร (แนวคำตอบ : พนั ธะเคม)ี 17.นักเรียนและครูรว่ มกนั ตง้ั หวั ข้อเกี่ยวกบั การเรยี นรูโ้ ดยยดึ โยงกับจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขั้นที่ 2 ข้นั การเรยี นรู้ (Active learning) (35 นาที) 18.นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ตามความสมัครใจ กลมุ่ ละ 5 – 6 คน 19.ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั หาความหมายของคำต่อไปนี้
54 1) พันธะเคมี 2) พันธะโคเวเลนต์ 3) สารโคเวเลนต์ 4) เวเลนซอ์ ิเล็กตรอน 5) กฎออกเตต 6) ค่าอเิ ล็กโทรเนกาติวติ ี โดยกำหนดให้ กลมุ่ 1 หาความหมายของหัวขอ้ 1) และ 6) กลมุ่ 2 หาความหมายของหวั ขอ้ 2) และ 5) กลุ่ม 3 หาความหมายของหวั ข้อ 3) และ 4) 20.นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั แลกเปลี่ยนเรยี นรู้เกยี่ วกับความหมายของคำท่ีกำหนดให้ 21.ครใู ห้นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายภายในกล่มุ อกี ครง้ั ตามประเด็นดังต่อไปน้ี 1) พันธะโคเวเลนต์ (การเกดิ และชนดิ ของพนั ธะโคเวเลนต์) 2) สารโคเวเลนต์ 3) เวเลนซอ์ เิ ล็กตรอน 4) กฎออกเตต 5) ค่าอิเลก็ โทรเนกาตวิ ิตี 6) การเขียนสูตรสารประกอบโคเวเลนต์ 22.ครใู ห้นกั เรียนศกึ ษาการเขยี นสูตรสารประกอบโคเวเลนต์ เปน็ เวลา 5 นาที 23.ครนู ำเข้าสกู่ ิจกรรม covalent bond 1) ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ ศกึ ษาการเขยี นสูตรโครงสรา้ งแบบจุด 2) ครูแจกการ์ดพลาสติกใสท่แี สดงธาตชุ นดิ ตา่ ง ๆ พรอ้ มกบั จดุ อิเล็กตรอนใหก้ ับนักเรียนแต่ ละกลุ่ม 3) ครูขึ้นโจทยโ์ มเลกลุ โคเวเลนต์ และให้นักเรยี นสร้างแบบจำลองพันธะโคเวเลนต์ 4) นกั เรยี นกล่มุ ไหนตอบได้ถูกต้องและเรว็ ที่สดุ จะไดร้ บั รางวลั ไป 5) นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรุปกิจกรรม 24.ครูใหน้ กั เรียนแต่ละกลุม่ ช่วยกันเติมคำตอบในใบกจิ กรรมให้ครบถ้วน ข้ันท่ี 3 ขนั้ สรปุ องค์ความรู้ (Conclusion) (35 นาที) 25.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำผลจากการอภิปรายมาสรุปความรู้ลงในกระดาษบรู๊ฟ โดยใช้วิธีการ เขยี นดว้ ยแผนผังความคดิ 26.ครคู อยสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียนและคอยตัง้ คำถามเพิ่มเติมเพื่อขยายความรู้ของนกั เรยี น ขั้นที่ 4 ขนั้ รายงานและนำเสนอ (Reporting) (30 นาที) 27.ครูให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าช้นั เรียน กลุ่มละ 5 นาที 28.นักเรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับพันธะโคเวเลนต์เพื่อเพิ่มความเข้าใจให้กับนักเรยี นดังน้ี เพม่ิ ความเขา้ ใจดว้ ยสอ่ื จำลองโตต้ อบเสมือนจรงิ (simulation)
55 1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายในข้อพันธะโคเวเลนต์ (การเกิดและชนิดของพันธะ โคเวเลนต์) สารโคเวเลนต์ เวเลนซ์อิเล็กตรอน กฎออกเตต ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี และ การเขียนสตู รสารประกอบโคเวเลนต์อีกคร้งั 2) ครูให้นักเรียนร่วมกันระบุจำนวนอะตอมของธาตุองค์ประกอบในโมเลกุลของสาร โคเวเลนตจ์ ากสูตรโมเลกลุ ทค่ี รูกำหนดให้ 3) ครใู หน้ ักเรียนร่วมกนั ระบชุ นิดของพนั ธะ (พนั ธะเดีย่ ว พันธะคู่ พันธะสาม) และจำนวน ค่อู เิ ลก็ ตรอนที่แชรก์ นั อยู่จากสตู รโครงสร้างทค่ี รกู ำหนดให้ 29.ครทู บทวนความรขู้ องนกั เรยี น โดยให้นักเรยี นแข่งกนั ตอบคำถามจาก Vonder Go ซ่งึ เรือ่ งที่ถาม จะเก่ียวขอ้ งกบั จำนวนอะตอมของธาตุในโมเลกลุ โคเวเลนต์ พนั ธะเดย่ี ว พันธะคู่ พันธะสาม และ จำนวนคอู่ เิ ลก็ ตรอนระหวา่ งอะตอมคูร่ ่วมพนั ธะจากสตู รโครงสรา้ ง เปน็ ตน้ ข้ันที่ 5 ข้ันการเผยแพรค่ วามรู้ (Obtain) (10 นาท)ี 30.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มถ่ายรูปผลงานในกระดาษบรู๊ฟ แล้วนำไปเผยแพร่ในเพจเฟสบุ๊คที่ครูได้ จดั ทำขึน้ 31.ครูให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ส่งใบกจิ กรรมทีใ่ ห้ทำในชัน้ เรยี น
56 9. ส่อื การเรยี นรู้ 1. Power Point ประกอบการสอน 2. พลาสติกใสธาตกุ ิจกรรม covalent bond 3. คลปิ วดิ ีโอ จะเกิดอะไรข้นึ ถ้าคุณไมด่ ื่มน้ำ - เมีย นาคามุลลิ (Mia Nacamulli) 4. สอื่ จำลองอนภุ าคโปรแกรม Javalab จากเวบ็ ไซต์ https://javalab.org 5. สอ่ื จำลองอนภุ าคโปรแกรม PhET จากเว็บไซต์ https://phet.colorado.edu 10. แหล่งเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 เลม่ 1 2. https://www.scimath.org/ 11. การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้ 11.1 วิธกี ารประเมนิ /เคร่ืองมอื วัดผล/เกณฑก์ ารผา่ น จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวัด เคร่อื งมือวัดผล เกณฑก์ ารผา่ น ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง ดา้ นความรู้ (K) พนั ธะโคเวเลนต์ ถกู ต้องร้อยละ 70 ข้นึ ไป 1. บอกจำนวนอะตอมของ การตรวจใบกิจกรรม ใบกจิ กรรม เร่อื ง พนั ธะโคเวเลนต์ ถกู ต้องร้อยละ 70 ธาตุองคป์ ระกอบในโมเลกลุ เรือ่ ง พันธะโคเวเลนต์ ขน้ึ ไป แบบประเมนิ ของสารโคเวเลนต์จากสูตร พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ นักเรยี นมากกวา่ รอ้ ย ละ ๗๐ อย่ใู นเกณฑ์ โมเลกุลหรอื สูตร โครงสรา้ งได้ แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ พอใช้ นำเสนอหนา้ ช้นั เรยี น ขน้ึ ไป 2. ระบวุ ่าพันธะโคเวเลนต์ การตรวจใบกจิ กรรม แบบประเมนิ นักเรียนมากกวา่ ร้อย ละ ๗๐ อยใู่ นเกณฑ์ เปน็ พนั ธะเด่ียว พันธะคู่ หรือ เรือ่ ง พนั ธะโคเวเลนต์ แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพ พอใช้ พฤตกิ รรมการเรียนรู้ ขึ้นไป พนั ธะสาม และจำนวนคู่ นกั เรยี นมากกว่าร้อย อเิ ล็กตรอนระหวา่ งอะตอมคู่ ละ ๗๐ อยู่ในเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ รว่ มพนั ธะ จากสูตรโครงสร้าง ข้ึนไป ได้ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) 3. สรา้ งแบบจำลองโมเลกุล การสังเกตพฤตกิ รรม โคเวเลนตไ์ ด้ 4. นำเสนอผลงานหน้าช้ัน การนำเสนอผลงาน เรียนได้ หน้าชัน้ เรียน ด้านทักษะกระบวนการ (P) 5. สบื คน้ ข้อมูลโดยใช้ การสังเกตพฤติกรรม เทคโนโลยีได้
57 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวดั เครอื่ งมอื วัดผล เกณฑก์ ารผา่ น ด้านคณุ ลักษณะ (A) 6. รับผิดชอบต่อหน้าทแี่ ละ การสงั เกตพฤติกรรม แบบประเมิน นกั เรียนมากกวา่ ร้อย งานที่ได้รับมอบหมาย พฤตกิ รรมการเรียนรู้ ละ ๗๐ อยู่ในเกณฑ์ ระดบั คุณภาพ พอใช้ ขน้ึ ไป 11.2 เกณฑก์ ารประเมิน รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 1. บอกจำนวนอะตอมของ บอกจำนวน บอกจำนวน บอกจำนวน บอกจำนวนอะตอม ธาตุองค์ประกอบในโมเลกุล อะตอมของธาตุ อะตอมของธาตุ อะตอมของธาตุ ของธาตุ องคป์ ระกอบใน องค์ประกอบใน องคป์ ระกอบใน องคป์ ระกอบใน ของสารโคเวเลนต์จากสูตร โมเลกลุ ของสาร โมเลกุลของสาร โมเลกลุ ของสาร โมเลกลุ ของสาร โมเลกลุ หรือสูตร โครงสร้างได้ โคเวเลนตจ์ ากสูตร โคเวเลนต์จากสูตร โคเวเลนต์จากสูตร โคเวเลนต์จากสตู ร โมเลกุลหรือสูตร โมเลกลุ หรอื สตู ร โมเลกุลหรือสูตร โมเลกลุ หรือสูตร โครงสร้างได้ โครงสร้างได้ โครงสรา้ งได้ โครงสร้างไมถ่ กู ต้อง ถกู ตอ้ งทง้ั หมด ถกู ต้องเปน็ ส่วน ถกู ต้องบางสว่ น ทง้ั หมด ใหญ่ 2. ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์ ระบุวา่ พันธะ ระบุวา่ พันธะ ระบุว่าพันธะ ระบุว่าพันธะ โคเวเลนต์เปน็ โคเวเลนต์เปน็ โคเวเลนต์เปน็ โคเวเลนต์เป็น เป็นพนั ธะเดย่ี ว พันธะคู่ หรือ พนั ธะเดยี่ ว พันธะ พันธะเดย่ี ว พันธะ พันธะเดย่ี ว พันธะ พนั ธะเดี่ยว พนั ธะคู่ คู่ หรือพันธะสาม คู่ หรอื พันธะสาม คู่ หรอื พนั ธะสาม หรอื พันธะสาม พนั ธะสาม และจำนวนคู่ และจำนวนคู่ และจำนวนคู่ และจำนวนคู่ และจำนวนคู่ อเิ ล็กตรอนระหว่างอะตอมคู่ รว่ มพันธะ จากสตู รโครงสรา้ ง อิเล็กตรอน อเิ ล็กตรอน อิเลก็ ตรอน อิเล็กตรอนระหวา่ ง ได้ ระหวา่ งอะตอมคู่ ระหว่างอะตอมคู่ ระหว่างอะตอมคู่ อะตอมครู่ ว่ มพันธะ ร่วมพนั ธะ จาก รว่ มพันธะ จาก ร่วมพนั ธะ จาก จากสูตรโครงสรา้ ง สูตรโครงสร้างได้ สูตรโครงสรา้ งได้ สูตรโครงสรา้ งได้ ไมถ่ ูกตอ้ งทัง้ หมด ถกู ต้องทงั้ หมด ถกู ต้องเปน็ สว่ น ถูกตอ้ งบางส่วน ใหญ่ 3. สรา้ งแบบจำลองโมเลกลุ สร้างแบบจำลอง สรา้ งแบบจำลอง สรา้ งแบบจำลอง สรา้ งแบบจำลอง โคเวเลนต์ได้ โมเลกลุ ถูกต้อง โมเลกุลถกู ตอ้ ง โมเลกุลถูกต้อง โมเลกุลไม่ถูกต้อง ท้ังหมด เปน็ สว่ นใหญ่ บางสว่ น ท้ังหมด 4. นำเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เน้ือหามีความ เนื้อหามีความ เนือ้ หามีความ เน้ือหาไม่มคี วาม เรยี นได้ ถูกต้อง พดู ชดั ถ้อย ถกู ต้องเปน็ สว่ น ถูกต้องเปน็ ถูกต้องเปน็ บางสว่ น ชดั คำ ผลงานมี ใหญ่ พูดชดั ถ้อยชดั บางส่วน พดู ไม่ พดู ไมช่ ดั เจน ผลงาน ความคดิ สรา้ งสรรค์ คำ ผลงานมี ชดั เจน ผลงานขาด ขาดความคิด สสี นั สวยงาม และ ความคดิ สร้างสรรค์ ความคดิ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ขาดสสี นั สมาชิกภายในกลุ่ม สสี นั สวยงาม แตม่ ี ขาดสีสนั สวยงาม สวยงาม และสมาชิก มีสว่ นร่วมในการ สมาชิกภายในกลุ่ม และสมาชิกภายใน ภายในกล่มุ บางคน นำเสนอทกุ คน บางคนไม่มสี ่วน กลมุ่ บางคนไมม่ ี ไม่มีส่วนรว่ มในการ รว่ มในการนำเสนอ ส่วนรว่ มในการ นำเสนอ นำเสนอ
58 รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 5. สบื คน้ ข้อมูลโดยใช้ เทคโนโลยไี ด้ มแี หล่งขอ้ มลู ที่ 32 ไมม่ ีแหลง่ ขอ้ มลู ท่ี น่าเชื่อถือจาก นา่ เชื่อถือจาก 6. รบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ีและ อนิ เทอรเ์ น็ตทั้งใน มแี หลง่ ข้อมลู ท่ี มีแหล่งขอ้ มลู ท่ี อนิ เทอรเ์ นต็ ทั้งใน งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ประเทศและ น่าเช่ือถือจาก น่าเช่อื ถอื จาก ประเทศและ ตา่ งประเทศ 3 อินเทอร์เนต็ ทงั้ ใน อนิ เทอร์เนต็ ทง้ั ใน ต่างประเทศทั้งหมด แหล่งขึน้ ไป ประเทศและ ประเทศและ ต่างประเทศ 2 ตา่ งประเทศ 1 ส่งงานชา้ กว่าที่ สง่ งานตรงเวลา แหลง่ แหลง่ กำหนด 5 วัน ขนึ้ ไป สง่ งานช้ากว่าท่ี สง่ งานชา้ กว่าที่ กำหนด 1 – 2 กำหนด 3 – 5 วนั วนั 11.3 ระดบั คณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน 4 (ดีมาก) 19 – 24 3 (ดี) 13 – 18 2 (พอใช)้ 7 – 12 1 (ปรับปรงุ ) 1–6
59 แบบสรปุ บันทกึ หลังแผนการจดั การเรียนรู้ภาคเรียนที่ 2 / ๒๕๖3 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 รหสั วิชา ว32104 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 รายวชิ า วิทยาศาสตร์กายภาพ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ๑. ผลการเรียนรู้ นักเรยี นทั้งหมด …………… คน มผี ลการเรียนรูด้ ังน้ี ดา้ นความรู้ (K) 1. บอกจำนวนอะตอมของธาตอุ งค์ประกอบในโมเลกลุ ของสารโคเวเลนตจ์ ากสูตรโมเลกุล หรือสตู ร โครงสรา้ งได้ 2. ระบวุ า่ พันธะโคเวเลนต์เปน็ พันธะเดยี่ ว พนั ธะคู่ หรอื พนั ธะสาม และจำนวนค่อู ิเล็กตรอน ระหว่างอะตอมค่รู ว่ มพนั ธะ จากสตู รโครงสรา้ งได้ จำนวนนกั เรยี นท่ผี ่านเกณฑ์จำนวน...........................คน คดิ เปน็ ร้อยละ................ จำนวนนกั เรยี นทไ่ี ม่ผ่านเกณฑ์จำนวน.......................คน คิดเปน็ ร้อยละ................ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) 3. สร้างแบบจำลองโมเลกลุ โคเวเลนต์ได้ 4. นำเสนอผลงานหนา้ ชัน้ เรียนได้ 5. สบื คน้ ขอ้ มลู โดยใช้เทคโนโลยไี ด้ จำนวนนักเรยี นที่ผา่ นเกณฑจ์ ำนวน...........................คน คิดเป็นร้อยละ................ จำนวนนกั เรยี นทไ่ี มผ่ ่านเกณฑจ์ ำนวน.......................คน คดิ เป็นร้อยละ................ ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) 6. รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ทแ่ี ละงานที่ไดร้ บั มอบหมาย จำนวนนกั เรยี นทผี่ ่านเกณฑ์จำนวน...........................คน คิดเป็นร้อยละ................ จำนวนนกั เรียนทีไ่ มผ่ า่ นเกณฑจ์ ำนวน.......................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................ ๒. ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๓. แนวทางการแก้ไข/เสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื (นางสาวมนสั นันท์ ฟกั แก้ว) ผ้สู อน
60 ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะของครพู เี่ ลีย้ ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ (นายปิยะ ชำนาญปรุ) ครพู ่ีเล้ียง ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ (นางสาวจุไรรตั น์ สุริยงค)์ หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะของผอู้ ำนวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ (นายศรนั ย์ วรรณรัตน์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นหางดงรฐั ราษฎรอ์ ปุ ถัมภ์
61 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 6 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เร่อื ง การเปล่ยี นสถานะของน้ำและความมีข้วั ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ นำ้ เวลา 15 ช่ัวโมง ครผู ้สู อน นางสาวมนสั นนั ท์ ฟักแก้ว เวลา 3 ช่ัวโมง รหสั วิชา ว32104 โรงเรียนหางดงรัฐราษฎร์อปุ ถัมภ์ สังกดั สพม. 34 1. สาระ/มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชี้วดั สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบตั ิของสสาร กบั โครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตวั ชว้ี ัด ม.5/9 ระบุสภาพขวั้ ของสารทโ่ี มเลกุลประกอบดว้ ย 2 อะตอม ม.5/10ระบุสารท่เี กดิ พนั ธะไฮโดรเจนไดจ้ ากสูตรโครงสรา้ ง ม.5/11อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตาม สภาพขั้วหรอื การเกดิ พันธะไฮโดรเจน 2. สาระสำคญั สารที่มีพันธะภายในโมเลกุลเป็นพันธะโคเวเลนต์ท้ังหมดเรียกว่า สารโคเวเลนต์ โดยสารโคเวเลนตท์ ี่ ประกอบดว้ ย 2 อะตอมของธาตชุ นิดเดยี วกนั เปน็ สารไมม่ ขี ั้ว ส่วนสารโคเวเลนต์ที่ประกอบดว้ ย 2 อะตอมของ ธาตตุ ่างชนิดกันเป็นสารมีขั้ว สำหรบั สารโคเวเลนต์ท่ปี ระกอบด้วยอะตอมมากกว่า 2 อะตอม อาจเปน็ สารมีข้ัว หรือไม่มีข้ัว ขึ้นอยู่กับรูปร่างของโมเลกุล ซึ่งสภาพข้ัวของสารโคเวเลนต์ส่งผลต่อแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่ ทำให้จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารโคเวเลนตแ์ ตกต่างกัน นอกจากนี้สารบางชนิดมีจุดเดือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากมีแรงดงึ ดูดระหวา่ งโมเลกุลสูงท่ีเรียกว่า พันธะไฮโดรเจน ซึ่งสารเหล่าน้ีมีพันธะ N-H O-H หรือ F-H ภายในโครงสรา้ งโมเลกุล 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนสามารถ ด้านความรู้ (K) 7. ระบสุ ภาพขั้วของสารทโ่ี มเลกุลประกอบดว้ ย 2 อะตอมได้ 8. ระบุสารทีเ่ กดิ พนั ธะไฮโดรเจนได้จากสตู รโครงสร้างได้ 9. อธิบายความสมั พันธ์ระหว่างจดุ เดือดของสารโคเวเลนตก์ ับแรงระหว่างโมเลกุลตามสภาพข้ัวหรือ การเกิดพันธะไฮโดรเจนได้ ด้านทักษะกระบวนการ (P) 10.นำเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรยี นได้ 11.สบื คน้ ขอ้ มลู โดยใช้เทคโนโลยไี ด้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) 12.ใฝ่เรยี นร้แู ละมงุ่ มัน่ ในการทำงาน
62 4. สาระการเรียนรู้ การเปลีย่ นสถานะของนำ้ และความมขี ้วั ที่อุณหภูมิห้องและความดัน 1 บรรยากาศ น้ำมีสถานะเป็นของเหลว มีจุดเยือกแข็งหรือจุด หลอมเหลวท่ี 0 องศาเซลเซยี ส และจุดเดอื ดที่ 100 องศาเซลเซียส เม่อื นำ้ ไดร้ บั พลังงานจากสง่ิ แวดล้อมหรือ จากการให้ความร้อนโดยตรง โมเลกุลของน้ำในสถานะของเหลวซึ่งอยู่ชิดกันจะเคลื่อนที่ห่างกันมากขึ้นและ อาจจะเปล่ยี นสถานะเปน็ แก๊ส โดยความร้อนท่ใี ชใ้ นการเปลย่ี นสถานะของน้ำให้เปน็ ไอน้ำต้องมีค่ามากพอที่จะ ทำลายแรงยึดเหนยี่ วระหว่างโมเลกุลของนำ้ แสดงดังรปู รูปท่ี 1 โมเลกุลของน้ำในสถานะของเหลว รปู ที่ 2 โมเลกุลของน้ำในสถานะแกส๊ สารโคเวเลนต์มจี ุดเดือดแตกตา่ งกันเกิดจากความแตกต่างของแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งโมเลกลุ ซึ่งเป็น ผลมาจากสภาพข้ัวของโมเลกุลท่ีเกดิ จากพันธะโคเวเลนต์ระหว่างอะตอมของธาตุชนดิ เดียวกนั หรอื อะตอมของ ธาตุต่างชนิดกัน เช่น โมเลกุลของน้ำมีพันธะโคเวเลนต์ที่เชื่อมต่อระหว่างอะตอมต่างชนิดกัน และน้ำจัดเป็น สารมีขั้ว ทำให้มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากจึงมีจุดเดือดสูง เมื่อเปรียบเทียบกับโมเลกุลของแก๊ส ออกซิเจนซ่ึงมีพนั ธะโคเวเลนต์ทีเ่ ช่ือมตอ่ ระหว่างอะตอมของธาตุเพียงชนดิ เดยี ว และออกซเิ จนจดั เป็นสารไม่มี ขว้ั ทำให้มแี รงยึดเหนีย่ วระหว่างโมเลกลุ น้อยกวา่ นำ้ แกส๊ ออกซิเจนจึงมีจดุ เดือดต่ำกวา่ นำ้ สารโคเวเลนต์ที่โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม หากเป็นธาตุชนิดเดียวกันจัดเป็นสารไม่มีขั้ว (non - polar substance) เช่น H2 , N2 หากเป็นธาตุต่างชนดิ กันจัดเป็นสารมขี ั้ว (polar substance) เช่น NO, HCl ส่วนสารโคเวเลนต์ที่ประกอบด้วยอะตอมมากกว่า 2 อะตอมอาจเป็นสารมีขั้วหรือไม่มีขั้วก็ได้ ทง้ั นีข้ ้ึนอย่กู ับรปู ร่างโมเลกุลของสารแต่ละชนดิ เชน่ H2O, H2S, NH3 เปน็ สารมีขั้ว ส่วน CO2 , CH4 เป็นสาร ไม่มีข้วั นอกจากสภาพขั้วของโมเลกุลที่ส่งผลต่อแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลแล้ว มวลและรูปร่างของ โมเลกุลยังส่งผลต่อแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลอีกด้วย ถ้าสารมีมวลและรูปร่างโมเลกุลใกล้เคียงกัน จดุ เดอื ดจะขนึ้ อยกู่ ับสภาพขัว้ ของโมเลกลุ ท่ีอณุ หภูมิห้อง น้ำ (H2O) มสี ถานะเปน็ ของเหลว สว่ นไฮโดรเจนซลั ไฟด์ (H2S) เปน็ แกส๊ แสดงว่าน้ำมี จุดเดือดสูงกว่าไฮโดรเจนซัลไฟด์ ทั้งที่สารทั้งสองชนิดเป็นสารมีขั้วและมีองค์ประกอบแตกต่างกันเพียง อะตอมเดยี ว ปรากฏการณ์นเ้ี ปน็ ผลมาจากพันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond) พันธะไฮโดรเจนเป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสารมีขั้วที่ภายในโมเลกุลมีพันธะ O-H N-H หรอื F-H ทำให้สารมจี ดุ หลอมเหลวและจุดเดอื ดสูงกว่าสารมีขั้วท่วั ไปท่ีมีขนาดโมเลกุลใกล้เคยี งกนั นอกจากนี้ พันธะไฮโดรเจนในผลึกน้ำแข็งยังทำให้โมเลกุลของน้ำจัดเรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบโดยมีช่องว่างระหว่าง โมเลกุลมากกว่าช่องว่างระหว่างโมเลกุลของน้ำท่ีอยู่ในสถานะของเหลว ทำให้น้ำแข็งมีความหนาแน่นน้อยว่า น้ำ นำ้ แขง็ จงึ ลอยนำ้ ดังรปู
63 รปู ที่ 3 ภาพจำลองการจดั เรียงโมเลกลุ ของนำ้ ในสถานะของแขง็ และของเหลว เนื่องจากน้ำมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นพันธะไฮโดรเจนที่แข็งแรงจึงทำให้ต้องใช้ความร้อน มากในการทำให้อณุ หภมู ิของน้ำสงู ข้ึนหรอื ทำใหก้ ลายเป็นไอ ดงั น้ันน้ำจึงชว่ ยรกั ษาอุณหภมู ขิ องพน้ื ผวิ โลกไม่ให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งเอื้อต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก และช่วยรักษาอุณหภูมิของ ร่างกายโดยการระเหยของเหงื่อขณะออกกำลงั กายหรอื ทำงานกลางแจง้ 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1 รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 6.2 ซ่ือสัตย์ สจุ รติ 6.3 มวี ินยั 6.4 ใฝเ่ รียนรู้ 6.5 อยู่อย่างพอเพียง 6.6 ม่งุ ม่ันในการทำงาน 6.7 รกั ความเป็นไทย 6.8 มจี ิตสาธารณะ 7. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน - ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง Hydrogen bond 8. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 1 ขน้ั สรา้ งแรงจงู ใจ (Motivation) (20 นาที) 32.ครูกล่าวทกั ทายนกั เรียน 33.ครทู บทวนเนอ้ื หาที่เรียนมาในคาบทีแ่ ล้ว 34.ครูให้นกั เรยี นสงั เกตและใช้คำถามกระตุ้น ดงั น้ี - นักเรียนสังเกตเห็นอะไรและมีความแตกต่างกันอย่างไร (แนวคำตอบ : น้ำแข็ง น้ำเปล่า และไอนำ้ ซ่งึ มีสถานะแตกตา่ งกัน) - นักเรียนคิดว่าน้ำแต่ละสถานะมีการจัดเรียงตัวของโมเลกุลแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (แนวคำตอบ : ตามความคิดเห็นของนักเรียน ตัวอย่างเช่น แตกต่างกัน โดยน้ำแข็งมี สถานะเปน็ ของแข็ง การจดั เรยี งของโมเลกุลจะอยู่ชิดกนั และไม่สามารถเคล่อื นท่ไี ด้ น้ำมี สถานะเป็นของเหลว การจัดเรียงของโมเลกุลอยู่หา่ งกนั เล็กนอ้ ย ทำให้โมเลกุลสามารถ
64 เคลื่อนที่ได้ และไอน้ำมีสถานะเป็นแก๊ส การจัดเรียงของโมเลกุลจะอยู่ห่างกัน ทำให้ โมเลกลุ เคล่อื นที่ไดม้ าก) - เมื่อนักเรียนให้ความร้อนแก่น้ำที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส น้ำจะเปลี่ยนจาก ของเหลวกลายเป็นอะไร และโมเลกลุ ของน้ำเหล่านนั้ มีการเปล่ียนแปลงหรอื ไม่ อย่างไร (แนวคำตอบ : น้ำสถานะของเหลวที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส จะกลายเป็นไอ โมเลกลุ ของน้ำมคี วามหา่ งระหว่างโมเลกุลมากข้นึ ) 35.ครูเปิดตารางเปรียบเทียบจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารโคเวเลนต์แต่ละชนิด และถามว่า จากตารางมีสิ่งใดแตกต่างกัน และแตกต่างกันอย่างไร (แนวคำตอบ : จุดเดือด จุดหลอมเหลว แตกตา่ งกนั ) สารโคเวเลนต์ จุดหลอมเหลว (C) จดุ เดือด (C) แกส๊ ไฮโดรเจน (H2) - 259 - 252 แกส๊ ไนโตรเจน (N2) - 210 - 196 แก๊สออกซิเจน (O2) - 219 - 183 ไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) - 164 - 152 36.ครูถามว่า นักเรียนคิดว่าอะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้จุดเดือด จุดหลอมเหลวแตกต่างกัน (แนวคำตอบ : ตามความคิดเหน็ ของนักเรยี น ตัวอยา่ งเชน่ แรงยดึ เหนีย่ วระหวา่ งโมเลกุล) 37.นกั เรียนและครรู ว่ มกันต้งั หัวข้อเกย่ี วกบั การเรียนรโู้ ดยยึดโยงกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้ ขน้ั ท่ี 2 ข้นั การเรียนรู้ (Active learning) (70 นาท)ี 38.ครนู ำเขา้ สู่กจิ กรรม แยกจากกนั และอธบิ ายกิจกรรมดังนี้ ครูให้นักเรยี นแสดงสถานการณ์สมมตติ อ่ ไปนี้ - ให้นักเรียนแต่ละคนยืนกอดกัน โดยให้นักเรียน 1 คน พยายามแยกให้ออกจากกัน จากนน้ั เพ่ิมจำนวนคนทแี่ ยกเพ่ือนเพ่มิ ข้นึ เรื่อย ๆ จนนักเรียนทกุ คนแยกออกจากกัน ให้ นักเรียนสงั เกตผลทีเ่ กดิ ข้นึ - ให้นักเรยี นแตล่ ะคนจับมือกัน โดยใหน้ กั เรยี น 1 คน พยายามแยกให้ออกจากกนั จากน้ัน เพิม่ จำนวนคนทแ่ี ยกเพื่อนเพิม่ ขึน้ เรอื่ ย ๆ จนนกั เรียนทุกคนแยกออกจากกัน ใหน้ ักเรียน สงั เกตผลทเ่ี กิดข้นึ - ให้นักเรียนแต่ละคนเกี่ยวก้อยกัน โดยให้นักเรียน 1 คน พยายามแยกให้ออกจากกัน จากนั้นเพ่มิ จำนวนคนท่ีแยกเพื่อนเพม่ิ ข้นึ เร่ือย ๆ จนนักเรียนทกุ คนแยกออกจากกัน ให้ นกั เรียนสงั เกตผลทเี่ กิดข้ึน 39.ครูถามว่า การทน่ี ักเรยี นจบั มือกันแทนด้วยอะไร (แนวคำตอบ : แรงยึดเหนยี่ วระหว่างโมเลกลุ ) 40.ครูถามต่อว่า นักเรียนที่ทำหน้าที่แยกเพื่อนออกจากกันแทนด้วยอะไร (แนวคำตอบ : พลังงาน หรือความรอ้ นท่ีใช้ในการเปลยี่ นสถานะ) 41.ครูกล่าวว่า การที่นักเรียนจับมือกนั แทนแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งโมเลกุล และนักเรียนที่ทำหน้าท่ี แยกเพ่ือนออกจากกันแทนพลังงานหรือความร้อนที่ใชใ้ นการเปลีย่ นสถานะ การที่นักเรียนอยู่ชิด ติดกันแสดงถึงสารในสถานะของแขง็ เมื่อนักเรยี นอยู่ห่างกันแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในสถานะ ของเหลว และเมอ่ื นกั เรียนเป็นอิสระต่อกนั แสดงถงึ สารในสถานะแกส๊
65 42.ครูตง้ั คำถามวา่ การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งไปเป็นของเหลว และจากของเหลวไปเป็น แก๊ส เป็นการทำลายพันธะโคเวเลนต์ หรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกลุ (แนวคำตอบ : แรงยึด เหนี่ยวระหว่างโมเลกุล) 43.นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปปรากฏการณ์ท่ีเกิดขน้ึ ดงั น้ี แนวทางการอภปิ ราย ยนื กอดคอกนั ต้องใชน้ ักเรียนท่ีมาทำลายแรงยึดเหนี่ยวจำนวนมากท่ีสุด รองลงมาคอื การจับมอื กัน และการเกย่ี วกอ้ ยกนั ใชน้ ักเรียนท่มี าทำลายแรงยึดเหน่ียวจำนวนน้อย ที่สุด แสดงว่า ความแข็งแรงของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลส่งผลต่อจุดเดือดหรือจุด หลอมเหลวของสารโคเวเลนต์ 44.ครูกล่าวว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารโคเวเลนต์ขึ้นอยู่กับแรงยึดเหนี่ยว ระหวา่ งโมเลกุล 45.ครูตั้งคำถามว่า นักเรียนคิดว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่แตกต่างกันเป็นผลมาจากอะไร (แนวคำตอบ : ตามความคดิ เหน็ ของนกั เรียน ตวั อยา่ งเช่น สภาพข้วั ของโมเลกลุ ) 46.นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ ตามความสมคั รใจ กล่มุ ละ 5 – 6 คน 47.ครใู ห้นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาความหมายของคำตอ่ ไปน้ี 7) แรงยึดเหนยี่ วระหว่างโมเลกลุ โคเวเลนต์ 8) สารมีขว้ั 9) สารไม่มขี ้ัว 10)พันธะไฮโดรเจน 48.นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกย่ี วกับความหมายของคำทก่ี ำหนดให้ 49.ครใู ห้นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายภายในกลมุ่ ตามประเดน็ ดังต่อไปน้ี 7) แรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ 8) สารมีขัว้ 9) สารไมม่ ขี ั้ว 10)พนั ธะไฮโดรเจน 50.ครูใช้คำถามกระตุ้นนักเรียนว่า ที่อุณหภูมิห้อง น้ำ (H2O) มีสถานะเป็นของเหลว ส่วน ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ (H2S) เปน็ แกส๊ แสดงวา่ น้ำมีจุดเดอื ดสูงกว่าไฮโดรเจนซัลไฟด์ ท้ังท่ีสารทั้งสอง ชนิดเป็นสารมีข้ัวและมอี งค์ประกอบแตกต่างกันเพียงอะตอมเดียว ปรากฏการณ์นี้เกิดจากอะไร (แนวคำตอบ : พนั ธะไฮโดรเจน) 51.ครูนำเข้าสกู่ ิจกรรม Hydrogen bond และอธิบายรายละเอียดดังน้ี 6) ครแู สดงสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนตท์ ั้งสารมีขวั้ และสารไม่มขี ัว้ บนกระดาน 7) ครใู ห้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ เขียนวา่ สารโคเวเลนตใ์ ดสามารถเกดิ พันธะไฮโดรเจนกับโมเลกุล เดยี วกันได้บา้ ง พร้อมระบพุ นั ธะไฮโดรเจนท่เี กิดข้ึน 8) กลมุ่ ใดท่ตี อบไดถ้ ูกต้อง และเร็วที่สุดจะได้รบั รางวัล 9) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปกิจกรรม 52.ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกันเตมิ คำตอบในใบกิจกรรมใหค้ รบถ้วน ขั้นที่ 3 ขั้นสรปุ องคค์ วามรู้ (Conclusion) (35 นาท)ี 53.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำผลจากการอภิปรายมาสรุปความรู้ลงในกระดาษบรูฟ๊ โดยใช้วิธีการ เขยี นด้วยแผนผังความคิด
66 54.ครูคอยสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี นและคอยตั้งคำถามเพมิ่ เตมิ เพื่อขยายความรู้ของนักเรยี น ขน้ั ท่ี 4 ขน้ั รายงานและนำเสนอ (Reporting) (20 นาท)ี 55.ครูให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอผลงานหน้าช้ันเรยี น กลมุ่ ละ 5 นาที 56.นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นที่ได้ทำการสืบค้นเพื่อเพิ่มความเข้าใจให้กับ นกั เรยี น โดยนกั เรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายในข้อแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งโมเลกุล สารมีขัว้ สารไม่ มีขัว้ และพนั ธะไฮโดรเจน 57.ครูใช้คำถามกระตุ้นนักเรียน สสารส่วนใหญ่บนโลกประกอบด้วย 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยทัว่ ไป สถานะของแข็งจะมคี วามหนาแน่นมากกว่าสถานะของเหลว ดังนั้น เมอ่ื นำของแขง็ ใส่ไปในของเหลวท่ีมคี วามหนาแนน่ นอ้ ยกว่าของแขง็ จะจม จากนน้ั ครูถามนกั เรียน ว่า แต่เป็นเพราะเหตุใดน้ำแข็งหรือธารน้ำแข็งจึงลอยน้ำได้ (แนวคำตอบ : เนื่องจากพันธะ ไฮโดรเจนในผลึกน้ำแข็งยังทำให้โมเลกุลของน้ำจัดเรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบโดยมีช่องว่าง ระหว่างโมเลกุลมากกว่าช่องว่างระหว่างโมเลกุลของน้ำที่อยู่ในสถานะของเหลว ทำให้น้ำแข็งมี ความหนาแน่นน้อยว่านำ้ น้ำแขง็ จงึ ลอยน้ำ) รปู ท่ี 21 ภาพน้ำแข็งและธารนำ้ แข็ง 58.ครูอธิบายเพ่ิมเติมวา่ เนื่องจากนำ้ มีแรงยดึ เหนีย่ วระหว่างโมเลกลุ เปน็ พันธะไฮโดรเจนทแี่ ขง็ แรงจงึ ทำให้ต้องใช้ความรอ้ นมากในการทำให้อุณหภูมิของน้ำสูงขึน้ หรือทำให้กลายเป็นไอ ดังนั้นน้ำจึง ชว่ ยรกั ษาอุณหภูมิของพืน้ ผิวโลกไม่ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งเอื้อต่อการดำรงชีวิต ของสิ่งมีชีวิตบนโลก และช่วยรักษาอุณหภูมิของร่างกายโดยการระเหยของเหงื่อขณะออก กำลงั กาย หรอื ทำงานกลางแจง้ 59.ครทู บทวนความรูข้ องนกั เรียน โดยใหน้ กั เรียนแข่งกันตอบคำถามจาก Kahoot ซ่ึงเร่ืองที่ถามจะ เกี่ยวข้องกบั แรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งโมเลกลุ สารมขี ั้ว สารไมม่ ขี วั้ และพันธะไฮโดรเจน ขน้ั ท่ี 5 ข้ันการเผยแพรค่ วามรู้ (Obtain) (45 นาท)ี 60.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มถ่ายรูปผลงานในกระดาษบรู๊ฟ แล้วนำไปเผยแพร่ในเพจเฟสบุ๊คที่ครูได้ จดั ทำขนึ้ 61.ครูให้นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน ประกอบด้วย 3) แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เรือ่ ง พนั ธะโคเวเลนต์ จำนวน 15 ข้อ 4) แบบวดั ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ จำนวน 25 ขอ้ 62.ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลุม่ สง่ ใบกจิ กรรมทใี่ ห้ทำในชนั้ เรยี น
67 9. สอ่ื การเรียนรู้ 1. Power Point ประกอบการสอน 2. ส่อื จำลองอนภุ าคโปรแกรม Javalab จากเวบ็ ไซต์ https://javalab.org 3. ส่ือจำลองอนภุ าคโปรแกรม PhET จากเวบ็ ไซต์ https://phet.colorado.edu 10. แหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 เลม่ 1 2. https://www.scimath.org/ 11. การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 11.1 วธิ กี ารประเมนิ /เคร่อื งมอื วดั ผล/เกณฑ์การผ่าน จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวดั เคร่อื งมือวดั ผล เกณฑ์การผ่าน ดา้ นความรู้ (K) การตรวจใบกจิ กรรม ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง ผา่ นเกณฑ์คุณภาพใน 1. ระบสุ ภาพขว้ั ของสารท่ี เรื่อง Hydrogen Hydrogen bond ระดับ ดี ขึน้ ไป โมเลกลุ ประกอบด้วย 2 bond อะตอมได้ การตรวจใบกจิ กรรม ใบกจิ กรรม เร่ือง ผ่านเกณฑค์ ุณภาพใน 2. ระบสุ ารท่ีเกิดพนั ธะ เร่อื ง Hydrogen Hydrogen bond ระดับ ดี ขึ้นไป ไฮโดรเจนได้จากสตู ร bond โครงสรา้ งได้ การตรวจใบกิจกรรม ใบกจิ กรรม เรือ่ ง ผ่านเกณฑ์คุณภาพใน 3. อธบิ ายความสมั พันธ์ เร่อื ง Hydrogen Hydrogen bond ระดับ ดี ขนึ้ ไป ระหว่างจดุ เดอื ดของสารโคเว bond เลนตก์ ับแรงระหว่างโมเลกลุ ตามสภาพขั้วหรือการเกดิ พนั ธะไฮโดรเจนได้ ด้านทักษะกระบวนการ (P) แบบประเมนิ การ นักเรยี นมากกว่ารอ้ ย 4. นำเสนอผลงานหน้าชน้ั การนำเสนอผลงาน นำเสนอหนา้ ช้ันเรยี น ละ ๗๐ อยู่ในเกณฑ์ เรียนได้ หน้าช้ันเรยี น แบบประเมิน ระดับคณุ ภาพ ปาน พฤตกิ รรมการเรียนรู้ กลาง ข้นึ ไป 5. สบื ค้นข้อมูลโดยใช้ การสงั เกตพฤติกรรม นกั เรยี นมากกว่าร้อย เทคโนโลยีได้ พฤตกิ รรมการเรียนรู้ ละ ๗๐ อยู่ในเกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ ปาน ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) กลาง ข้ึนไป 6. ใฝ่เรียนรู้และม่งุ มน่ั ในการ การสงั เกตพฤตกิ รรม นักเรยี นมากกวา่ รอ้ ย ทำงาน ละ ๗๐ อยใู่ นเกณฑ์ ระดับคุณภาพ ปาน กลาง ขึน้ ไป
68 11.2 เกณฑ์การประเมนิ รายการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 1. ระบสุ ภาพข้ัวของสารท่ี ระบสุ ภาพขัว้ ของ ระบุสภาพข้ัวของ ระบสุ ภาพขั้วของ ระบุสภาพข้ัวของ สารทีโ่ มเลกุล สารทีโ่ มเลกุล สารทโ่ี มเลกุล สารทโ่ี มเลกุล โมเลกุลประกอบดว้ ย 2 ประกอบดว้ ย 2 ประกอบด้วย 2 ประกอบด้วย 2 ประกอบดว้ ย 2 อะตอมได้ อะตอมไดถ้ ูกตอ้ ง อะตอมไดถ้ กู ต้อง อะตอมได้ถกู ตอ้ ง อะตอมไม่ถกู ต้อง ทั้งหมด เปน็ สว่ นใหญ่ บางส่วน ท้งั หมด 2. ระบสุ ารทเ่ี กิดพนั ธะ ระบสุ ารท่เี กดิ ระบสุ ารทเ่ี กิด ระบสุ ารทเี่ กิด ระบุสารทเี่ กดิ พันธะ ไฮโดรเจนได้จากสตู ร พันธะไฮโดรเจนได้ พนั ธะไฮโดรเจนได้ พันธะไฮโดรเจนได้ ไฮโดรเจนไดจ้ าก โครงสรา้ งได้ จากสูตรโครงสร้าง จากสูตรโครงสร้าง จากสูตรโครงสร้าง สูตรโครงสร้างไม่ ไดถ้ ูกตอ้ งท้ังหมด ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นส่วน ไดถ้ ูกต้องบางสว่ น ถูกตอ้ งท้ังหมด ใหญ่ 3. อธบิ ายความสัมพันธ์ อธบิ าย อธบิ าย อธิบาย อธบิ าย ความสัมพันธ์ ความสมั พนั ธ์ ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ระหว่างจุดเดือดของสารโคเว ระหว่างจุดเดือด ระหวา่ งจุดเดอื ด ระหวา่ งจดุ เดอื ด ระหวา่ งจุดเดือด ของสารโคเวเลนต์ ของสารโคเวเลนต์ ของสารโคเวเลนต์ ของสารโคเวเลนต์ เลนตก์ บั แรงระหวา่ งโมเลกลุ กับแรงระหว่าง กบั แรงระหว่าง กบั แรงระหว่าง กบั แรงระหวา่ ง ตามสภาพขัว้ หรอื การเกิด โมเลกุลตามสภาพ โมเลกลุ ตามสภาพ โมเลกุลตามสภาพ โมเลกุลตามสภาพ พนั ธะไฮโดรเจนได้ ข้ัวหรอื การเกดิ ข้ัวหรอื การเกิด ข้วั หรอื การเกิด ขัว้ หรือการเกดิ พนั ธะไฮโดรเจนได้ พันธะไฮโดรเจนได้ พันธะไฮโดรเจนได้ พันธะไฮโดรเจนได้ ถกู ต้องทัง้ หมด ถูกตอ้ งเปน็ ส่วน ถกู ตอ้ งบางส่วน ไมถ่ ูกต้องท้งั หมด ใหญ่ 4. นำเสนอผลงานหน้าช้ัน เนื้อหามคี วาม เนื้อหามีความ เนอ้ื หามีความ เนอ้ื หาไมม่ คี วาม ถกู ต้อง พดู ชดั ถอ้ ย ถูกต้องเปน็ สว่ น ถกู ตอ้ งเปน็ ถกู ต้องเปน็ บางสว่ น เรียนได้ ชัดคำ ผลงานมี ใหญ่ พดู ชดั ถ้อยชดั บางส่วน พดู ไม่ พดู ไมช่ ดั เจน ผลงาน ความคดิ สร้างสรรค์ คำ ผลงานมี ชดั เจน ผลงานขาด ขาดความคิด สสี นั สวยงาม และ ความคดิ สร้างสรรค์ ความคดิ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ขาดสสี นั สมาชกิ ภายในกลมุ่ สีสนั สวยงาม แตม่ ี ขาดสีสนั สวยงาม สวยงาม และสมาชกิ มีสว่ นร่วมในการ สมาชกิ ภายในกลุ่ม และสมาชกิ ภายใน ภายในกลมุ่ บางคน นำเสนอทุกคน บางคนไม่มสี ่วน กลมุ่ บางคนไมม่ ี ไม่มสี ่วนรว่ มในการ รว่ มในการนำเสนอ ส่วนรว่ มในการ นำเสนอ นำเสนอ 5. สบื ค้นข้อมูลโดยใช้ มแี หลง่ ขอ้ มลู ที่ มแี หล่งข้อมูลที่ มีแหลง่ ขอ้ มูลที่ ไมม่ แี หลง่ ข้อมูลที่ เทคโนโลยีได้ นา่ เช่อื ถือจาก น่าเชอ่ื ถอื จาก นา่ เช่อื ถอื จาก นา่ เช่อื ถือจาก อินเทอร์เนต็ ทงั้ ใน อนิ เทอร์เน็ตทัง้ ใน อินเทอร์เนต็ ท้ังใน อนิ เทอรเ์ นต็ ทงั้ ใน ประเทศและ ประเทศและ ประเทศและ ประเทศและ ตา่ งประเทศ 3 ต่างประเทศ 2 ตา่ งประเทศ 1 ตา่ งประเทศท้ังหมด แหล่งขนึ้ ไป แหล่ง แหล่ง 6. ใฝ่เรยี นรู้และม่งุ มั่นในการ ตอบคำถามในชนั้ ตอบคำถามและ ตอบคำถามและ ตอบคำถามและ เรียน และรว่ ม ร่วมกจิ กรรมในช้นั รว่ มกจิ กรรมในชัน้ ร่วมกิจกรรมในช้นั ทำงาน กิจกรรมอย่าง เรยี น (70 - เรยี น (50 - เรียน (ต่ำกวา่ สมำ่ เสมอ (80%) 79%) 69%) 50%)
69 11.3 ระดับคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน 4 (ดมี าก) 19 – 24 3 (ด)ี 13 – 18 2 (พอใช)้ 7 – 12 1 (ปรับปรุง) 1–6
70 แบบสรปุ บนั ทึกหลังแผนการจัดการเรยี นร้ภู าคเรียนที่ 2 / ๒๕๖3 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6 รหสั วิชา ว32104 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 รายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ๑. ผลการเรียนรู้ นักเรยี นทั้งหมด …………… คน มีผลการเรยี นรดู้ ังนี้ ดา้ นความรู้ (K) 1. ระบุสภาพข้ัวของสารท่ีโมเลกุลประกอบดว้ ย 2 อะตอมได้ 2. ระบสุ ารทเ่ี กดิ พันธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสรา้ งได้ 3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงระหว่างโมเลกุลตาม สภาพขั้วหรอื การเกิดพันธะไฮโดรเจนได้ จำนวนนักเรยี นท่ผี า่ นเกณฑจ์ ำนวน...........................คน คิดเป็นร้อยละ................ จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน.......................คน คดิ เปน็ ร้อยละ................ ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) 4. นำเสนอผลงานหน้าช้นั เรยี นได้ 5. สืบค้นข้อมลู โดยใช้เทคโนโลยีได้ จำนวนนกั เรียนที่ผ่านเกณฑจ์ ำนวน...........................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................ จำนวนนักเรียนที่ไม่ผา่ นเกณฑ์จำนวน.......................คน คิดเปน็ ร้อยละ................ ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) 6. ใฝเ่ รียนรแู้ ละมุ่งมัน่ ในการทำงาน จำนวนนกั เรียนทีผ่ า่ นเกณฑจ์ ำนวน...........................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ................ จำนวนนักเรียนทไี่ มผ่ ่านเกณฑจ์ ำนวน.......................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ................ ๒. ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๓. แนวทางการแกไ้ ข/เสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ (นางสาวมนัสนนั ท์ ฟักแก้ว) ผสู้ อน
71 ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของครพู เี่ ล้ยี ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นายปยิ ะ ชำนาญปรุ) ครพู ่เี ลยี้ ง ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลมุ่ สาระ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางสาวจุไรรัตน์ สรุ ิยงค)์ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของผูอ้ ำนวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ (นายศรนั ย์ วรรณรัตน)์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นหางดงรัฐราษฎร์อปุ ถมั ภ์
72 ภาคผนวก ค แบบทดสอบวดั การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ
73 แบบทดสอบวัดทักษะความสามารถในการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ สำหรบั นกั เรยี นช่วงช้นั ที่ 4 ใหน้ กั เรยี นอา่ นบทความตอ่ ไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้อ 1 – 5 พืน้ ท่ที างภาคเหนือตอนบน ในช่วงฤดูแล้ง พืน้ ทป่ี ่าจะถกู ไฟไหม้ กินพ้ืนทห่ี ลายตารางกโิ ลเมตร ส่งผล กระทบใหพ้ นื้ ที่ป่าหายไปเป็นจำนวนมาก สตั วป์ า่ หายากสญู พนั ธุ์และลดน้อยลงไป ทุกปี การป้องกัน คือ การ ทำแนวกันไฟ การรณรงคใ์ หช้ าวบ้านไม่จุดไฟเพื่อลา่ สัตว์ พืน้ ที่เสยี่ งตอ่ ภยั แลง้ จะเปน็ พืน้ ที่ประสบปัญหาไฟป่า อย่างรนุ แรง ดงั นัน้ ขอ้ สรุปตรงนี้ คอื ไฟป่ากบั ภยั แลง้ มาดว้ ยกันแบบเกาะตดิ 1. จากบทความ ปัญหาคืออะไร ก. สัตวป์ ่าสญู พันธุ์ ข. พื้นท่ีปา่ โดนทำลาย ค. ชาวบ้านทำลายป่าไม้ ง. เกดิ ไฟป่าทางตอนเหนือ 2. ขอ้ มลู ใดไม่เกีย่ วขอ้ งกบั บทความ ก. ไฟปา่ เกดิ ขน้ึ ท่จี ังหวัดเชียงใหม่ ข. ไฟป่าเกิดจากชาวบา้ นจุดขน้ึ ค. ไฟปา่ ปอ้ งกันไดโ้ ดยขุดแนวกน้ั ไฟ ง. ไฟปา่ ทำให้สญู เสยี ทรัพยากรธรรมชาติ 3. “ไฟปา่ กับภยั แลง้ มาด้วยกนั แบบเกาะติด” จากข้อสรุปมหี ลกั การอะไรท่ที ำให้เปน็ จริง ก. มีใบไมเ้ ป็นเชอื้ เพลงิ อย่างดี ข. มีลมพัดทำให้ไฟลุกไหม้เร็ว ค. ฤดูแลง้ อากาศแห้งจะทำให้ไฟตดิ ดี ง. เกิดการเสียดสขี องกิง่ ไม้ทำให้ไฟตดิ 4. เมอื่ เกิดไฟไหมป้ ่า นกั เรยี นคิดวา่ เหตุการณ์ใดจะเกิดเป็นอันดบั ตอ่ ไป ก. หนา้ ดินถกู ทำลาย ข. ฝนไมต่ กตามฤดกู าล ค. สัตว์ปา่ หายากสญู พนั ธุ์ ง. พ้นื ทีป่ ่าไมอ่ ดุ มสมบูรณ์ 5. สิง่ ใดส่งผลกระทบโดยตรงทำให้พ้นื ทปี่ ่าหายไปจำนวนมาก ก. การตดั ไมท้ ำลายปา่ ข. การทำไรเ่ ลอื่ นลอย ค. ไฟป่าและความแหง้ แลง้ ง. การเพิม่ จำนวนของประชากร
74 ใหน้ ักเรยี นอ่านบทความต่อไปนแี้ ล้วตอบคาถามข้อ 6 – 8 ตำรวจ สภ.อ.หางดงรับแจ้งมีคนพบวัตถุต้องสงสัยอาจจะเป็นระเบิด จึงรีบเดินทางไปตรวจสอบ กระเป๋าเดินทาง นำสุนัขไปดมกลิ่นระเบิด แต่ตรวจสอบไม่ได้ เลยต้องใช้เครื่องเอ็กซเรย์ตรวจสอบ ปรากฏวา่ ภายในไมม่ รี ะเบดิ 6. ข้อความใดไม่เกีย่ วขอ้ งกับบทความ ก. นำสนุ ัขไปดมกล่นิ ข. ตรวจสอบปรากฏว่าภายในไมม่ ีระเบดิ ค. ใช้เครือ่ งเอก็ ซเรย์ตรวจสอบวตั ถุตอ้ งสงสยั ง. ตำรวจสถานภี ธู รอำเภอหางดงพบวัตถุตอ้ งสงสยั 7. เมื่อนกั เรียนพบวตั ถตุ ้องสงสัย ควรปฏิบัติอย่างไร ก. ไปบอกคณุ ครู ข. ชกั ชวนเพอ่ื น ๆ เปดิ ดู ค. นำกลบั ไปใหพ้ อ่ แมท่ ี่บา้ น ง. ไม่เข้าใกล้บริเวณนั้นแล้วรบี แจง้ ตำรวจ 8. “นำสุนัขไปดมกลน่ิ ระเบดิ แต่ตรวจสอบไมไ่ ด”้ นักเรียนมคี วามคิดเหน็ อย่างไร ก. ในกระเปา๋ ไมม่ ีระเบดิ ข. สุนขั ไมพ่ ร้อมทจี่ ะทำงาน ค. สุนขั ท่ีนำมาไม่มคี วามสามารถมากพอ ง. การใช้ประสาทสัมผัสอาจมีความผิดพลาด ใหน้ กั เรียนอา่ นบทความต่อไปนแี้ ล้วตอบคาถามข้อ 9 – 10 เงินตราเป็นปัจจัยสำคัญของชีวิตมนุษย์ในปัจจุบัน เป็นปัจจัยพื้นฐานนำมาซึ่งความสะดวกสบายใน การดำรงชีวิตเดียวกันเมื่อมีคุณอนันต์อาจมีโทษมหันต์นำอันตรายที่ไม่คาดคิดต่อ ร่างกายและจิตใจมน ุษย์ เงินตราไม่ว่าจะเป็นธนบัตรหรือเหรียญทีเ่ ราใชอ้ ยู่ทุกวันนี้ จัดเป็นสิ่งสกปรกที่เราต้องสัมผัสในชีวิตประจำวนั จากงงานวจิ ัยพบวา่ จุลินทรยี ์ต่าง ๆ ชอบอาศัยอยู่ตามเงิน สามารถเจริญเติบโตได้ดีในลำไส้คน ก่อให้เกิดโรค ทางเดนิ อาหาร จะเป็นการดีถ้าเราจะเลิกนิสัยเลยี นว้ิ มือเวลานับเงนิ และคอยดูแลไม่ให้เดก็ ๆ อมเหรียญหรือ ธนบัตรเล่น แต่วนั นีค้ ุณมีทางเลอื กทดี่ ีทีจ่ ะทำใหค้ ณุ มีสุขภาพชีวิตท่ดี ีข้ึน สะดวก ปลอดภัย ดว้ ยบรกิ ารของบัตร เครดติ
75 9. ใจความสำคัญของบทความนค้ี ืออะไร ก. โทษของเงินตรา ข. ความสำคัญของเงินตรา ค. การใชบ้ รกิ ารบตั รเครดติ ง. การอมเหรียญและธนบัตรของเดก็ ๆ 10. จากบทความ ขอ้ ความใดเป็นข้อตกลงเบอ้ื งต้น ก. เงนิ ตราเป็นปจั จยั พน้ื ฐาน ข. จลุ นิ ทรีย์ชอบอาศยั อย่ตู ามเงนิ ค. การใชบ้ ริการบตั รเครดิต ง. จลุ ินทรีย์เจรญิ เตบิ โตได้ดใี นลำไส้คน ให้นักเรยี นอา่ นบทความต่อไปน้ีแลว้ ตอบคาถามข้อ 11 – 14 การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ประชาชนทกุ คนมีหนา้ ท่ีไปใช้สิทธิเลือกต้ัง เลอื กผู้แทนท่ดี เี ข้าไป ทำหน้าท่ีแทนเราในสภาผแู้ ทนราษฎร ถา้ เรายอมขายสทิ ธ์ิขายเสียงเทา่ กับเรายอมขายชาติ เปิดโอกาสให้คนช่ัว เขา้ ไปโกงกนิ ประเทศ สุดทา้ ยประเทศชาติลม่ จม ประชาชนเดอื ดรอ้ น ขอจงหยุดขายสิทธิขายเสียง เท่ากับเรา ยอมขายชาติ เพ่อื พฒั นาประเทศชาตใิ หก้ า้ วไกลส่สู ากล 11. จากบทความปัญหาคืออะไร ก. การเลอื กตั้ง ข. การพัฒนาประเทศ ค. การขายสทิ ธขิ ายเสียง ง. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 12. ข้อความใดเกี่ยวขอ้ งกับบทความ ก. หน้าที่ของ ส.ส. ข. วิธกี ารพฒั นาประเทศ ค. คนไทยทุกคนรักชาติ ง. การปกครองระบอบประชาธิปไตย 13. เหตุการณใ์ ดสำคัญท่ีสุด ก. ประชาชนเดือดร้อน ข. การโกงกนิ ประเทศ ค. การขายสทิ ธิขายเสยี ง ง. การไปใชส้ ทิ ธิเลอื กต้ัง
76 14. บคุ คลใดมบี ทบาทสำคญั ที่สดุ ท่ีทำให้เกดิ การขายสิทธขิ ายเสยี ง ก. ประชาชน ข. ผ้แู ทนราษฎร ค. นายกรฐั มนตรี ง. ประธานรัฐสภา ใหน้ กั เรียนอา่ นบทความตอ่ ไปนี้แลว้ ตอบคาถามข้อ 15 – 16 ด้วยวิวัฒนาการที่ล้ำหน้าทำให้พ่อแม่ยุคใหม่เห็นหน้าลูกเป็นครั้งแรกผ่านเครื่องอัลตราซาวด์โดยไม่ ต้องรอคลอด แตอ่ ีกมุมหนึ่งกลับมองวา่ การใช้เครอื่ งอัลตราซาวดซ์ ่งึ เปน็ คลนื่ เสยี งท่มี ีความถ่ีสูงเขา้ ไปรบกวนจะ ก่อให้เกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์หรือไม่ ทั้งนี้แม้ว่าทางการแพทย์ยังไม่มีข้อสรปุ ถึงผลกระทบด้านลบของ เครื่องแต่ถา้ เราเลือกใช้อยา่ งเหมาะสมยอ่ มกอ่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแนน่ อน 15. ขอ้ มลู ใดไมเ่ ก่ียวข้องกับบทความท่กี ำหนดให้ ก. เคร่ืองอัลตราซาวด์เป็นคลนื่ ทมี่ ีความถ่สี ูง ข. เครือ่ งอัลตราซาวดใ์ ช้ตรวจยีนของทารกในครรภ์ ค. เครื่องอลั ตราซาวด์ทำให้พ่อแม่เหน็ หน้าลกู ก่อนคลอด ง. ยงั ไมม่ ขี อ้ สรุปถงึ ผลกระทบของเครอ่ื งอัลตราซาวด์ต่อทารกในครรภ์ 16. เหตผุ ลใดสนับสนุนขอ้ ความ “การใข้เครื่องอัลตราซาวด์จะก่อใหเ้ กิดอันตรายตอ่ ทารกในครรภ”์ ก. วิวัฒนาการอนั ล้ำหน้า ข. ใช้คล่นื เสียงทมี่ ีความถ่ีสงู ค. คลื่นเสียงทำใหเ้ ด็กพิการ ง. คล่ืนเสียงมผี ลกระทบตอ่ เดก็ ใหน้ กั เรียนอ่านบทความตอ่ ไปนแี้ ลว้ ตอบคาถามข้อ 17 – 18 ห้ามอาบน้ำเย็น เป็นความเชื่อที่มีมาตั้งแต่อดีต เมื่อเวลามีประจำเดือนฮอร์โมนในร่างกายจะมีการ แปรปรวน ภมู ิค้มุ กันลดลง การอาบนำ้ เยน็ จะทำใหร้ ่างกายปรับอุณหภมู ิตาม อาจทำให้เกิดการเจบ็ ป่วยได้ แต่ ในความเป็นจริงแล้ว ผ้มู ปี ระจำเดอื นสามารถอาบน้ำในระดบั อณุ หภูมิปกติได้ 17. “การอาบน้ำเย็นจะทำให้เกิดการเจบ็ ปว่ ยได้” เหตผุ ลใดสนับสนุนขอ้ สรุปนี้ ก. เลอื ดมกี ารแขง็ ตัว ข. ระบบภมู ิคมุ้ กันลดลง ค. มนุษยเ์ ปน็ สัตว์เลอื ดอนุ่ ง. เลือดไหลเวยี นไม่สะดวก
77 18. ขอ้ ความที่ 1 “การอาบนำ้ เยน็ จะทำใหร้ า่ งกายปรบั อุณหภูมติ าม อาจทำให้เกดิ การเจบ็ ปว่ ยได”้ ข้อความท่ี 2 “แตใ่ นความเปน็ จรงิ ผู้ทีม่ ีประจำเดอื นสามารถอาบนำ้ ในระดบั อุณหภูมปิ กติได้” จากขอ้ ความท้ัง 2 นักเรยี นมีขอ้ โต้แย้งหรือมีความคดิ เหน็ อยา่ งไร ก. เหน็ ด้วยท้งั 2 ข้อความ ข. ไมเ่ ห็นดว้ ยทัง้ 2 ข้อความ ค. เหน็ ดว้ ยกับขอ้ ความที่ 1 แตไ่ มเ่ ห็นดว้ ยกับขอ้ ความที่ 2 ง. เห็นด้วยกบั ขอ้ ความท่ี 2 แตไ่ มเ่ หน็ ด้วยกับขอ้ ความท่ี 1 ให้นักเรียนอา่ นบทความตอ่ ไปน้ีแลว้ ตอบคาถามขอ้ 19 – 22 นักวิจัยจากสถาบันแห่งหนึ่งให้สัมภาษณ์แก่นักข่าวว่า “ผลการวิจัยพบว่าผู้ที่ดื่มไวน์องุ่นประมาณ 1 – 2 แกว้ ตอ่ วนั เป็นประจำจะชว่ ยลดอัตราความเส่ียงจากการเปน็ โรคความดันโลหิตสูงได้” แต่นกั ข่าวคนหนง่ึ กลา่ วว่า “ไมน่ า่ เปน็ ไปได้ เพราะไวน์กเ็ ปน็ เหล้าชนิดหนึง่ แม้จะมีปรมิ าณของแอลกอฮอล์ต่ำก็ตาม ก็น่าจะทำ ใหเ้ ปน็ โรคตับแข็ง มะเร็งทต่ี บั และเสน้ เลอื ดตบี ทำใหเ้ ปน็ โรคความดันโลหติ สูงได้” 19. จากบทความปัญหาคืออะไร ก. คุณและโทษของการด่มื ไวน์ ข. การดมื่ ไวนเ์ สย่ี งเปน็ โรคความดันโลหิตสูง ค. การดื่มไวน์เปน็ ต้นเหตุสำคัญใหเ้ ป็นโรคตับแขง็ ง. การด่มื ไวนเ์ ป็นประจำไม่ทำใหเ้ ป็นโรคความดนั โลหติ สูง 20. จากบทความนกั เรียนมคี วามคดิ เหน็ อยา่ งไร ก. เหน็ ด้วยกับนักวจิ ัย ข. ไมเ่ ห็นด้วยกบั นกั วิจัย ค. เห็นดว้ ยกบั นกั ขา่ ว ง. ไม่เห็นด้วยกับนักข่าว 21. เหตผุ ลใดในการสนับสนนุ ความคดิ ของนักเรยี นในข้อ 21 เปน็ จรงิ ก. เพราะนักวิจัยได้มกี ารทดลองและเกบ็ ขอ้ มูล ข. นกั วจิ ัยไม่ไดร้ ับประทานเอง ค. ไวน์มแี อลกอฮอลผ์ สมอยู่ ง. นกั ขา่ วไมม่ ีความรเู้ ร่อื งนี้
78 22. “การดื่มไวน์ทำให้เป็นโรคตับแข็ง มะเร็งที่ตับ เส้นเลือดตีบ และโรคความดันโลหิตสูง” เหตุผลใดทำให้ ข้อความเบื้องตน้ เป็นจรงิ ก. ไวน์เป็นเครื่องด่ืมมแี อลกอฮอล์ ข. ไวน์เปน็ เครอ่ื งด่ืมประเภทมึนเมา ค. ไวน์ด่มื แลว้ กระตุ้นใหห้ วั ใจพองโต ง. ไวนด์ ืม่ ประจำเป็นอันตรายต่ออวัยวะ ให้นักเรยี นอา่ นบทความต่อไปน้ีแล้วตอบคาถามขอ้ 23 – 25 ความเชอ่ื ของคนไทยมักนิยมเรื่องราวของดวงกนั เปน็ ส่วนใหญ่ การตรวจดวงชะตานน้ั มีท้ังเร่ืองดีและ เรื่องรา้ ย เหตกุ ารณข์ ้างหน้าไมม่ ีใครล่วงรูไ้ ด้ การตรวจสอบดวงชะตาก็อาจเป็นการทำนายทายทักชีวิตของคุณ ให้สามารถแกป้ ัญหาได้ดขี ึ้น หรอื เพอ่ื เตรียมรบั มือกบั เรอ่ื งเลวรา้ ยทห่ี นกั ให้กลบั กลายเป็นเรือ่ งทีเ่ บาลง 23. จากบทความใจความสำคัญคืออะไร ก. คนไทยคกู่ ับดวง ข. คนไทยนิยมดูดวง ค. คนไทยส่วนใหญเ่ ชอื่ หมอดู ง. คนไทยสว่ นใหญม่ อี าชีพหมอดู 24. ขอ้ ความใดไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกับบทความ ก. การดดู วงเป็นการแก้ปัญหาในอนาคต ข. การดูดวงเพอ่ื เตรยี มรับปัญหาในอนาคต ค. การดูดวงเป็นการเสริมราศใี ห้ตนเองในอนาคต ง. การตรวจดวงชะตาเป็นการทำนายเหตกุ ารณ์ในอนาคต 25. บุคคลใดสามารถนำความรู้ทีไ่ ดม้ าปฏบิ ตั ไิ ดด้ ีท่ีสดุ ก. อ้ายหนมุ่ นำของสีดำไปบชู าพระราหู ข. ศลิ าแลงปลอ่ ยหอยขมเพื่อให้ชวี ติ ไม่ขมขน่ื ค. อาทติ ยเ์ ขา้ วดั ทำบุญเพือ่ ชีวิตท่ดี กี ว่าในชาตหิ น้า ง. ศศวิ มิ ลทำความดีทกุ วันเพ่อื ตนเองและสว่ นรวม
79 ภาคผนวก ง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรื่อง พนั ธะโคเวเลนต์
80 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น กล่มุ สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ รหสั ว32104 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 เรือ่ ง พนั ธะโคเวเลนต์ คะแนนเต็ม 15 คะแนน เวลา 15 นาที คำสัง่ ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบที่ถกู ตอ้ งที่สดุ แล้วทำเครื่องหมาย (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ งเกี่ยวกบั พันธะโคเวเลนต์ (covalent bond) ก. เกดิ จากการสรา้ งพนั ธะระหว่างธาตอุ โลหะกบั ธาตุอโลหะ ข. พนั ธะเคมีท่เี กดิ จากอะตอมของธาตุให้อิเล็กตรอนแกธ่ าตุอื่นเพือ่ สรา้ งพันธะ ค. พันธะเคมที ่เี กดิ จากอะตอมของธาตุใชอ้ เิ ลก็ ตรอนรว่ มกันเพยี ง 1 คู่ หรอื มากกว่า 1 คู่กไ็ ด้ ง. พนั ธะโคเวเลนตจ์ ะเกิดเมื่อโมเลกลุ นน้ั อยู่ในระยะห่างท่มี ีพลังงานตำ่ สุด 2. การเกดิ สารประกอบโควาเลนต์ต้องมเี วเลนซอ์ ิเล็กตรอนร่วมกันก่ีอนุภาคจงึ จะเป็นไปตามกฎออกเตต ก. 2 และ 6 ข. 2 และ 8 ค. 6 และ 8 ค. 8 และ 10 3. ข้อใดระบุจำนวนพันธะแต่ละชนดิ พนั ธะแตล่ ะชนิดในโมเลกุลของ N2 ไดถ้ ูกต้อง NN ก. พันธะเดยี่ ว 2 พันธะ ข. พันธะคู่ 2 พนั ธะ ค. พันธะคู่ 3 พันธะ ง. พันธะสาม 1 พนั ธะ 4. พนั ธะทีต่ ำแหนง่ a b c และ d ในสูตรโครงสร้างเปน็ พนั ธะชนิดใด H C H H H cN a C dO C H C C CC H C H b ก. a = พันธะเด่ยี ว, b = พนั ธะเดีย่ ว, c = พนั ธะคู่ และ d = พนั ธะสาม ข. a = พันธะคู่, b = พนั ธะเดยี่ ว, c = พนั ธะเด่ียว และ d = พันธะสาม ค. a = พนั ธะคู่, b = พนั ธะเด่ยี ว, c = พันธะสาม และ d = พันธะเดย่ี ว ง. a = พันธะสาม, b = พันธะเด่ียว, c = พนั ธะคู่ และ d = พันธะคู่
81 5. ธาตคุ ใู่ ดตอ่ ไปน้ีเมอ่ื ทำปฏกิ ิรยิ ากนั แลว้ ไดส้ ารประกอบโคเวเลนต์ ก. คารบ์ อนกบั กำมะถนั ข. โซเดียมกบั ออกซเิ จน ค. แมกนีเซยี มกบั คลอรนี ง. โพแทสเซยี มกับฟลอู อรนี 6. ฟีแนนทรีน (Phenanthrene) เป็นสารเคมีที่พบในควันบุหร่ี ซึ่งเป็นสารระคายเคือง จึงทำให้ผิวไวต่อแสง จากสตู รโครงสร้าง ฟีแนนทรนี 1 โมเลกลุ ประกอบด้วยธาตใุ ดบา้ ง อยา่ งละกอ่ี ะตอม สตู รโครงสรา้ งฟแี นนทรีน ก. C มี 14 อะตอม H มี 10 อะตอม ข. C มี 14 อะตอม H มี 14 อะตอม ค. C มี 10 อะตอม H มี 10 อะตอม ง. C มี 10 อะตอม H มี 14 อะตอม 7. สูตรโมเลกุลของพาราเซตามอล (paracetamol) เป็นดังน้ี CwHxOyNz จากสูตรโครงสร้าง w x y และ z มี ค่าเท่าใด HO CH C CH O HC C C NH C CH3 H สูตรโครงสร้างของพาราเซตามอล ก. w = 1 , x = 2 , y = 9 และ z = 8 ข. w = 1 , x = 9 , y = 8 และ z = 2 ค. w = 8 , x = 7 , y = 1 และ z = 2 ง. w = 8 , x = 9 , y = 2 และ z = 1
82 8. สตู รโครงสร้างในข้อใดมีจำนวนอะตอมของธาตคุ ารบ์ อนมากท่สี ุด ก. ข. ค. ง. 9. ข้อใดไมใ่ ช่สารประกอบโคเวเลนต์ท้งั หมด ก. NaCl HCl CCl4 ข. NaH NH3 CH4 ค. MgO FeO NaO ง. SO2 NO2 CO2 พิจารณาสารทก่ี ำหนดให้ตอ่ ไปนี้ แล้วตอบคำถามขอ้ 10 – 11 Cl2 F2 Br2 I2 HF HBr CO 10. จากสารทกี่ ำหนดให้ มสี ารมีขวั้ จำนวนเทา่ ใด ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 11. จากสารท่ีกำหนดให้ มสี ารไมม่ ขี ว้ั จำนวนเทา่ ใด ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 12. เพราะเหตุใดสารโคเวเลนต์ จงึ มีจุดเดือดและจดุ หลอมเหลวต่ำ ก. สารโคเวเลนตไ์ ม่มปี ระจไุ ฟฟ้า ข. สารโคเวเลนตม์ กั สลายตัวไดง้ ่าย ค. สารโคเวเลนต์มกั มีโมเลกุลขนาดเล็ก ง. สารโคเวเลนต์มแี รงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกลุ น้อย
83 13. จากกราฟจุดเดือดของสารประกอบไฮโดรเจนแฮไลด์ จงเรยี งลำดบั แรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลจาก มากไปน้อย ก. HF HCl HBr HI ข. HF HI HBr HCl ค. HI HBr HCl HF ง. HCl HBr HI HF 14. สารโคเวเลนตใ์ ดตอ่ ไปนี้ทีม่ ีพนั ธะไฮโดรเจนเปน็ แรงยดึ เหน่ยี วระหว่างโมเลกลุ CH3 N CH2 O CH3 CH3 CH2 O CH3 H2C CH2CHOH CH3 H2C CH2CH2 สาร A สาร B H2C O CH2 สาร C F CH3 H2C NH CH2 สาร D สาร E ก. สาร A และ B ข. สาร C และ D ค. สาร C และ E ง. สาร A , B , C และ E 15. ทำการทดลองเพือ่ หาจดุ เดอื ดของสาร A และ B ซ่ึงมมี วลและรูปรา่ งของโมเลกลุ ใกล้เคยี งกนั แต่สารหนึง่ มี ขว้ั และอีกสารหนงึ่ ไมม่ ีขว้ั พบวา่ สาร A มจี ุดเดอื ด 30 องศาเซลเซียส สว่ นสาร B มีจดุ เดอื ด 80 องศาเซลเซียส จากการทดลองสารใดมีขว้ั เพราะเหตุใด ก. สาร A มีข้ัว เพราะ จุดเดอื ดต่ำกวา่ สาร B แสดงว่ามีแรงยดึ เหน่ียวระหว่างโมเลกลุ น้อยกว่าสาร B ข. สาร A มขี วั้ เพราะ มีจุดเดือดต่ำกว่าสาร B แสดงว่ามแี รงยดึ เหนีย่ วระหวา่ งโมเลกุลมากกวา่ สาร B ค. สาร B มีขั้ว เพราะ จดุ เดอื ดสูงกวา่ สาร A แสดงว่า มีแรงยึดเหนย่ี วระหว่างโมเลกลุ น้อยกว่าสาร A ง. สาร B มขี ั้ว เพราะ จุดเดือดสูงกวา่ สาร A แสดงว่า มีแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งโมเลกลุ มากกวา่ สาร A
84 ภาคผนวก จ คุณภาพเคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย
ตาราง 6.1 ผลการประเมินความสอดคล้องของแบบทดสอบวดั การคิดอย่างมีวิจารณญาณ 85 ข้อสอบ ผู้เชีย่ วชาญ คา่ เฉล่ีย แปลผล ข้อที่ 1 คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 1.00 สอดคลอ้ ง ข้อที่ 2 1.00 สอดคลอ้ ง ขอ้ ท่ี 3 +1 +1 +1 1.00 สอดคลอ้ ง ขอ้ ที่ 4 1.00 สอดคล้อง ข้อที่ 5 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ข้อที่ 6 1.00 สอดคล้อง ข้อท่ี 7 +1 +1 +1 0.67 สอดคลอ้ ง ขอ้ ที่ 8 1.00 สอดคลอ้ ง ขอ้ ท่ี 9 +1 +1 +1 0.67 สอดคลอ้ ง ขอ้ ท่ี 10 1.00 สอดคลอ้ ง ข้อที่ 11 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ขอ้ ท่ี 12 1.00 สอดคล้อง ขอ้ ท่ี 13 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ขอ้ ที่ 14 1.00 สอดคล้อง ขอ้ ที่ 15 +1 0 +1 0.67 สอดคล้อง ข้อท่ี 16 1.00 สอดคล้อง ข้อท่ี 17 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ขอ้ ท่ี 18 1.00 สอดคล้อง ข้อที่ 19 +1 +1 0 1.00 สอดคล้อง ข้อที่ 20 1.00 สอดคลอ้ ง ข้อที่ 21 +1 +1 +1 1.00 สอดคลอ้ ง ขอ้ ท่ี 22 1.00 สอดคลอ้ ง ขอ้ ท่ี 23 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ขอ้ ที่ 24 0.67 สอดคลอ้ ง ขอ้ ที่ 25 +1 +1 +1 0.67 สอดคลอ้ ง +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 0 +1
86 ตาราง 6.2 ผลการประเมนิ ความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นก่อนและหลังเรยี นเร่ือง พันธะโคเวเลนต์ ขอ้ สอบ ผู้เชยี่ วชาญ คา่ เฉลีย่ แปลผล คนท่ี 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 ขอ้ ที่ 1 1.00 สอดคลอ้ ง ขอ้ ที่ 2 +1 +1 +1 1.00 สอดคลอ้ ง ขอ้ ท่ี 3 +1 +1 +1 1.00 สอดคลอ้ ง ขอ้ ที่ 4 +1 +1 +1 1.00 สอดคลอ้ ง ข้อที่ 5 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ข้อที่ 6 +1 +1 +1 1.00 สอดคลอ้ ง ขอ้ ที่ 7 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ข้อท่ี 8 +1 +1 +1 1.00 สอดคลอ้ ง ข้อที่ 9 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ข้อที่ 10 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ข้อที่ 11 +1 +1 +1 1.00 สอดคลอ้ ง ข้อที่ 12 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ขอ้ ที่ 13 +1 +1 +1 1.00 สอดคลอ้ ง ข้อท่ี 14 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง ข้อที่ 15 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง +1 +1 +1
87 ภาคผนวก ฉ ตวั อย่างภาพการจดั กจิ กรรมและบรรยากาศการสอน
88 ภาพ 6.1 บรรยากาศการทำกจิ กรรม covalent bond ภาพ 6.2 บรรยากาศการนำเสนอหน้าชนั้ เรยี น เรือ่ ง พนั ธะโคเวเลนต์
89 ภาพ 6.3 บรรยากาศการแสดงบทบาทสมมติเก่ียวกับแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งโมเลกุล ภาพ 6.4 บรรยากาศการสรปุ องคค์ วามรู้ที่ไดเ้ รียนในรปู แผนผังความคิด (mind map)
90 ภาพ 6.5 บรรยากาศการนำเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน เรอ่ื ง การเปล่ียนสถานะของน้ำและความมีข้ัว ภาพ 6.6 บรรยากาศการทำแบบทดสอบหลงั เรียนโดยการจัดการเรยี นรแู้ บบ MACRO model รว่ มกับ ส่อื จำลองโต้ตอบเสมอื นจริง
91 ประวตั ิผวู้ ิจยั ช่ือ - นามสกุล นางสาวมนสั นันท์ ฟักแก้ว วัน เดอื น ปีเกิด 25 พฤศจิกายน 2539 สถานที่เกดิ กำแพงเพชร ท่อี ย่ปู จั จบุ ัน 63/1 หมู่ 8 ตำบลฝายหลวง อำเภอลับแล จงั หวดั อุตรดิตถ์ ประวตั ิการศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นอนุบาลธรรมรตั น์ พ.ศ. 2546 ระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นอนุบาลกำแพงเพชร พ.ศ. 2549 ระดับมัธยมศกึ ษา โรงเรียนกำแพงเพชรพทิ ยาคม พ.ศ. 2552 ระดับอดุ มศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเคมี มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ พ.ศ. 2559
Search