Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ส่วนหน้าแผนการสอนเขียนแบบวงจรด้วยคอมฯ

ส่วนหน้าแผนการสอนเขียนแบบวงจรด้วยคอมฯ

Published by Phongcharn Wongvivatvaitaya, 2023-06-13 08:01:20

Description: ส่วนหน้า วิชาเขียนแบบวงจรด้วยคอมพิวเตอร์จัดทำโดย นายพงศ์ชาญ ว่องวิวัฒน์ไวทยะ

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ เขียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 20105-2107 ส่วนหน้า หลักสูตรรายวิชา ตารางวิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะห์หลังกสูตร นายพงศ์ชาญ ว่องวิวัฒน์ไวทยะ

แผนการจดั การเรียนรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ วิชา เขยี นแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ (๒๐๑๐5-2107) หลกั สูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา จดั ทำโดย นายพงศ์ชาญ ว่องววิ ัฒน์ไวทยะ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ - แผนกวิชาชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ วิทยาลยั เทคนิคชุมพร สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคใต้ ๑ สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ แผนการสอนรายวิชาเขียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 20105-2107 มีเนื้อหาตรง ตามจุดประสงค์และคำอธิบายรายวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ของสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร หมวดวชิ าชีพเลือกของสาขาวชิ าชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ แผนการสอนรายวิชาเขียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 10 หน่วยการเรียน ประกอบด้วย การใช้งานโปรแกรมต่างๆ และคุณสมบัติของแผ่นวงจรพิมพ์แต่ละชนิด การติดตั้งและใช้งาน โปรแกรม Visio เบื้องต้น การออกแบบ อ่าน และเขียนแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม Visio การติดตั้ง และใช้งานโปรแกรม Proteus เบ้ืองต้น การออกแบบ อ่าน และเขียนแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม Proteus การตดิ ตง้ั และใช้งานโปรแกรม EasyEDA เบื้องต้น การออกแบบ อ่าน และเขยี นแบบวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ ด้วยโปรแกรม EasyEDA การออกแบบวงจรพิมพ์ 1 หน้า การออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หน้า การสร้างวงจร และ ทดสอบลายวงจรพิมพ์ 1 หน้า โดยมีจุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1) เข้าใจการใช้โปรแกรมเขียนแบบ อิเล็กทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ 2) มีทักษะในการเขียนแบบวงจร และวงจรพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ 3) มีทักษะใน การใช้เคร่ืองพิมพ์จากโปรแกรมเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ 4) มีกิจนิสัยในการท่างานด้วยความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ประณีตรอบคอบ และปลอดภัย และมีสมรรถนะรายวิชา 1) แสดงความรู้เกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม เขียนแบบอิเล็กทรอนกิ สด์ ว้ ยคอมพิวเตอร์ 2) เขยี นแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจรพมิ พด์ ว้ ยคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้รูปแบบ MIAP และบูรณาการกับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและมงุ่ พฒั นาใหผ้ ู้เรียนเป็นสำคัญทงั้ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และคณุ ธรรม

คำแนะนำการใช้แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ 1. ก่อนการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรมู้ งุ่ เน้นสมรรถนะวิชาเขียนแบบอเิ ลก็ ทรอนิกสด์ ้วยคอมพิวเตอร์ ครผู สู้ อนควร ศึกษาการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะให้เข้าใจเสียก่อน 2. ศกึ ษาแผนการจัดการเรียนรมู้ งุ่ เน้นสมรรถนะ ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระ การเรียนรู้กระบวนการเรยี นรู้การวัดและประเมินผล ตลอดจนแหลง่ การเรยี นรใู้ นแตล่ ะหน่วยให้ เขา้ ใจอยา่ ง ชดั เจน 3. กอ่ นสอนครูควรชแ้ี จงบทบาทและหนา้ ท่ีของผ้เู รียน และกำหนดขอ้ ตกลงร่วมกัน 4. เมื่อเรียนรู้จบหน่วยแล้ว ให้นกั เรยี นทำแบบวดั ผลการเรียนรหู้ ลงั เรยี น ในแต่ละหนว่ ยเพอ่ื วดั ความกา้ วหน้าของความรู้ความเขา้ ใจ 5. ภายหลังจากการวัดผลการเรียนรูห้ ลังเรยี นแล้ว ครคู วรมอบหมายให้ผเู้ รียนทำแบบฝึกหัดเพมิ่ เติม 6. ภายหลงั จากการมอบหมายให้ผู้เรยี นทำแบบฝกึ หัดแล้ว ครคู วรเป็นทป่ี รกึ ษาใหค้ ำแนะนำนักเรยี น ท่ี มีปญั หาในการทำแบบฝึกหัด 7. หากมนี ักเรยี นไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมินหลังเรียนในเนอ้ื หาใด ให้โอกาสนักเรียนศกึ ษาใบความรู้ อีก ครัง้ แล้วใหท้ ำแบบวัดผลการเรียนรู้หลงั เรียน

ผลงาน และเกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานรายวชิ า ระดบั ช้ัน ปวช. สาขาวชิ า ช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ๒ หนว่ ยกติ 4 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ รหสั วชิ า 20105-2107 ช่ือวชิ า เขียนแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ดว้ ยคอมพิวเตอร์ 1. ผลงานและเกณฑ์การประเมนิ ผลงาน ผลงานและเกณฑ์การประเมินผลงานในรายวชิ าเขียนแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ด้วยคอมพวิ เตอร์ ได้กำหนด หลกั เกณฑก์ าร ประเมนิ ผลงานเพอ่ื ให้ผู้เรียนมีความรู้ คุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ดังน้ี ผลงานและเกณฑ์การประเมินผลงาน (คะแนนเต็ม 100%) 1. การวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 40 % 2. แบบทดสอบหลงั เรยี นรายหน่วย 40 % 3. คุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 20 % รวม 100 % * คุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ คุณธรรม จรยิ ธรรมฯ นีไ้ ด้กำหนดขึน้ ตามกรอบคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของ ผู้สำเร็จการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบด้วย 15 คุณลกั ษณะ สอดคล้องกับ การบรู ณาการปรชั ญาเศรฐกจิ พองเพียง (เง่ือนไขคณุ ธรรม) ซงึ่ ในวชิ าเขียนแบบอิเล็กทรอนิกสด์ ้วยคอมพวิ เตอร์ (20105-2107) นไี้ ด้เนน้ 4 คุณลักษณะ คือ ดา้ นความมีวินัย ดา้ นความรบั ผิดชอบ ด้านความซื่อสัตยส์ ุจริต และ ด้านความสนใจใฝ่เรยี นรู้ ซงึ่ ในแตล่ ะด้านมีพฤตกิ รรมบ่งช้ที สี่ ำคญั และนำมาเลือกใช้ ดงั นี้ 1. ความมีวนิ ัย คอื ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บข้อบังคับและขอ้ ตกลงตา่ ง ๆ ของสถานศึกษาได้แก่การแต่ง กายถกู ตอ้ งตามระเบียบและข้อบงั คบั ตรงตอ่ เวลา รกั ษาสาธารณสมบตั ิ ส่งิ แวดล้อมและเข้ารว่ มกิจกรรมท่คี รู กำหนดและประพฤติตนถกู ต้องตามศลี ธรรมอนั ดีงาม (เข้าช้ันเรียนตรงเวลา) 2. ความรบั ผดิ ชอบ คอื การเตรยี มความพร้อมในการเรยี นและการปฏบิ ัตงิ าน ปฏิบัติงานตามขัน้ ตอน ท่ี วางไว้ ปฏิบัติงานดว้ ยความต้งั ใจ ปฏิบัติงานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ ปฏบิ ัติงานที่ได้รับมอบหมายเสรจ็ ตาม กำหนด มีความเพียรพยายามในการเรียนและการปฏิบตั ิงาน ปฏบิ ัตงิ านตามหน้าท่ีของตนเอง ยอมรบั ผล การ กระทำของตนเอง ปฏบิ ัติงานโดยคำนงึ ถงึ ความปลอดภัยต่อตนเองและส่วนรวม (นกั เรยี นเอาใจใส่การ เข้ารว่ ม กจิ กรรมในแตล่ ะแผนการจดั การเรยี นรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอย่างตง้ั ใจ) 3. ความซอ่ื สัตย์สจุ รติ คอื การพดู ความจริง ไมน่ ำผลงานของผู้อ่นื มาแอบอา้ งเป็นของตนเอง ไม่ทุจริต ในการสอบ ไมล่ กั ขโมยเปน็ ต้น (นกั เรียนไม่ถามและไมล่ อกคำตอบจากผู้อ่ืน) 4. ความสนใจใฝร่ ู้ เป็นการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ซักถามปญั หาข้อสงสัย แสวงหาประสบการณ์ และ คน้ หาความรู้ใหม่ ๆ (นกั เรียนใฝใ่ นการเรยี นรู้อย่เู สมอ โดยการศกึ ษาหาความรดู้ ว้ ยตนเอง หรือ ปรึกษาหารือ หาความรู้ หรือศึกษาด้วยวธิ ีการอน่ื ๆ)

2. เกณฑแ์ ละวิธีการปฏบิ ตั ิในการวัดและประเมินผลการเรียนรายวชิ า เกณฑ์การตัดสนิ ผลการเรยี น ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าดว้ ย การประเมินผลการ เรยี นตามหลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี ดงั นี้ ระดับผลการเรียน ความหมาย ชว่ งคะแนน 4.0 ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑด์ ีเยี่ยม 80 ขน้ึ ไป 3.5 ผลการเรียนอยู่ในเกณฑด์ ีมาก 75-79 3.0 ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑด์ ี 70-74 2.5 ผลการเรียนอยู่ในเกณฑด์ ีพอใช้ 65-69 2.0 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์พอใช้ 60-64 1.5 ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ออ่ น 55-59 1.0 ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์อ่อนมาก 50-54 0 ผลการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์ขัน้ ตำ่ ตำ่ กวา่ 50 รายวชิ าใดทีแ่ สดงระดบั ผลการเรียนตามตารางข้างตน้ ไม่ได้ให้ใชต้ ัวอกั ษรตอ่ ไปน้ี ข.ร. หมายถึง ขาดเรียน ไมม่ ีสิทธิเขา้ รับการประเมินสรุปผลการเรยี นเนื่องจากมเี วลาเรียนตำ่ กว่ารอ้ ย ละ 80 โดยสถานศึกษาพิจารณาแลว้ เหน็ ว่าไม่ใช่เหตุสดุ วิสัย ข.ป. หมายถงึ ขาดการปฏบิ ัติงาน หรอื ปฏบิ ัตงิ านไมค่ รบ โดยสถานศึกษาพิจารณาแลว้ เหน็ วา่ ไม่มี เหตผุ ลสมควร ข.ส. หมายถึง ขาดการประเมินสรปุ ผลการเรียน โดยสถานศกึ ษาพิจารณาแล้วเหน็ วา่ ไม่มีเหตุผล สมควร ถ.ล. หมายถงึ ถอนรายวิชาภายหลังกำหนด โดยสถานศึกษาพิจารณาแลว้ เห็นวา่ ไมม่ เี หตุผลสมควร ถ.น. หมายถึง ถอนรายวชิ าภายในกำหนด ถ.พ. หมายถึง ถูกสัง่ พักการเรียนในระหวา่ งทีม่ ีการประเมนิ สรุปผลการเรยี น ท. หมายถงึ ทจุ ริตในการสอบหรอื งานทมี่ อบหมายให้ทำ ม.ส. หมายถงึ ไมส่ มบรู ณเ์ นื่องจากไม่สามารถเขา้ รับการประเมนิ ครบทกุ ครงั้ และหรือไม่ส่งงานอัน เป็น สว่ นประกอบของการเรยี นรายวิชาตามกำหนด ดว้ ยเหตุจำเปน็ อนั สุดวิสัย ม.ท. หมายถงึ ไมส่ ามารถเขา้ รบั การประเมนิ ทดแทนการประเมินสว่ นทขี่ าดของรายวิชาทีไ่ มส่ มบรู ณ์ ภายในภาคเรียนถัดไป ผ. หมายถงึ ได้เข้าร่วมกจิ กรรมตามกำหนด และผลการประเมินผ่าน ม.ผ. หมายถึง ไมเ่ ข้ารว่ มกิจกรรม หรือผลการประเมนิ ไม่ผา่ น หรอื ผลการประเมนิ การเรียนโดยไมน่ ับ จำนวนหนว่ ยกติ มารวมเพ่ือการสำเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตรไม่ผา่ น หรอื ไม่ไดท้ ำการประเมนิ ผลการเรยี น

หลักสูตรรายวิชา ระดบั ช้นั ปวช. สาขาวชิ า ช่างอเิ ล็กทรอนิกส์ ๒ หนว่ ยกิต รหสั วชิ า 20105-2107 ชื่อวิชา เขียนแบบอิเลก็ ทรอนกิ สด์ ว้ ยคอมพิวเตอร์ 4 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ชอ่ื วิชา เขยี นแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ดว้ ยคอมพิวเตอร์ ๑–๓–๒ จดุ ประสงคร์ ายวชิ า เพือ่ ให้ 1. เขา้ ใจการใช้โปรแกรมเขียนแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ดว้ ยคอมพิวเตอร์ 2. มีทักษะในการเขียนแบบวงจร และวงจรพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ 3. มที ักษะในการใชเ้ คร่อื งพมิ พจ์ ากโปรแกรมเขยี นแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ 4. มีกิจนสิ ัยในการทา่ งานด้วยความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย ประณีตรอบคอบ และปลอดภยั สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเ้ ก่ยี วกบั การใชง้ านโปรแกรมเขียนแบบอเิ ล็กทรอนิกสด์ ้วยคอมพิวเตอร์ 2. เขียนแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจรพิมพ์ด้วยคอมพวิ เตอร์ คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบตั กิ ารใช้โปรแกรมเขยี นแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู เชน่ Visio, Protel, Orcad, Proteus Professional, PCB Wizard, Altium Design เปน็ ต้น ในการออกแบบ อ่านและเขยี นแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ วงจรพมิ พช์ นิดหน้าเดยี วและหลายหนา้ ลายพมิ พส์ ัญลกั ษณ์ของ อปุ กรณ์ การพมิ พง์ านด้วยเครื่องพมิ พ์ หมายเหคุ (ถา้ มี : ใหอ้ ธิบายถงึ สาเหคขุ องการปรบั ปรุงรายวิชา) ............................................................................................................................. .......................................................

การวิเคราะห์หลักสตู รรายวิชา ระดบั ช้ัน ปวช. ตารางวิเคราะหห์ ลกั สูตรายวชิ า ๒ หน่วยกิต รหสั วิชา ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวชิ า ชา่ งอิเล็กทรอนิกส์ ๔ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ชือ่ วชิ า เขียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ด้วยคอมพวิ เตอร์ หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ รวม ทฤษฎี ปฏิบัติ (ชม.) ๑ การใชง้ านโปรแกรมต่างๆ และคณุ สมบัติของแผน่ วงจรพิมพ์แตล่ ะชนดิ ๒ การติดตั้งและใชง้ านโปรแกรม Visio เบ้อื งต้น 13 4 ๓ การออกแบบ อา่ น และเขียนแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ดว้ ยโปรแกรม 13 4 26 8 Visio ๔ การติดต้ังและใชง้ านโปรแกรม Proteus เบ้ืองต้น 13 4 ๕ การออกแบบ อ่าน และเขยี นแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ด้วยโปรแกรม 26 8 Proteus 13 4 ๖ การตดิ ตงั้ และใชง้ านโปรแกรม EasyEDA เบอ้ื งต้น 26 8 ๗ การออกแบบ อา่ น และเขียนแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม 13 4 EasyEDA 26 8 ๘ การออกแบบวงจรพิมพ์ 1 หนา้ 4 12 16 ๙ การออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ -- 4 ๑๐ การสร้างวงจร และทดสอบลายวงจรพมิ พ์ 1 หน้า สอบปลายภาค รวม ๑7 ๕1 ๗๒

การปรับปรุงหลกั สตู รรายวชิ า (ถา้ ม)ี ระดับชน้ั ปวช. ตารางแสดงการปรบั ปรงุ หลกั สตู รายวชิ า ๒ หนว่ ยกติ รหสั วชิ า ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวชิ า ชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ ช่อื วชิ า เขียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หน่วย ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ การปรับปรุง พฤติกรรมท่พี ึง รวม ที่ (รายละเอียดการปรบั ปรงุ ) หลกั สตู รรายวิชา ประสงค์ (ชม.) ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม หมายเหตุ (คำอธิบายการปรับปรุงหลกั สตู รรายวิชา)

การวเิ คราะหแ์ หล่งการเรียนรู้ ระดบั ช้ัน ปวช. ตารางวิเคราะหแ์ หลง่ การเรียนรู้ ๒ หน่วยกิต รหสั วชิ า ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวิชา ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ๔ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ช่อื วิชา เขยี นแบบอิเล็กทรอนิกสด์ ้วยคอมพิวเตอร์ หนว่ ย ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้/หัวข้อการเรยี นรู้ แหลง่ การเรยี นรู้ หมาย ที่ ก ข ค ง จ ฉ เหตุ ๑ การใชง้ านโปรแกรมตา่ งๆ และคณุ สมบตั ิของแผ่นวงจรพิมพแ์ ตล่ ะชนดิ ๑.๑ โปรแกรมสำหรับออกแบบวงจรพมิ พ์ // // // ๑.๒ แผ่นวงจรพมิ พ์ // // // ๑.๓ ประเภทแผน่ วงจรพมิ พ์ // // ๑.๔ ลักษณะการใช้งานแผ่นวงจรพิมพ์ // // // ๑.๕ กระบวนการสรา้ งแผ่นวงจรพมิ พ์ // // // ๒ การติดตง้ั และใชง้ านโปรแกรม Visio เบือ้ งต้น // ๒.๑ คณุ สมบตั ิของโปรแกรม Visio // // // ๒.๒ สว่ นประกอบของโปรแกรม Visio // // ๒.๓ การติดต้ังโปรแกรม Visio // // // ๒.๔ การใช้งานโปรแกรม Visio เบือ้ งตน้ // // // ๓ การออกแบบ อ่าน และเขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม Visio ๓.๑ วิธอี อกแบบวงวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ด้วยโปรแกรม Visio // ๓.๒ การอ่านวงวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ดว้ ยโปรแกรม Visio // ๓.๓ การเขียนแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ด้วยโปรแกรม Visio // ๓.๔ ขอ้ ควรระวังในงานโปรแกรม Visio // ๔ การตดิ ต้งั และใชง้ านโปรแกรม Proteus เบ้อื งต้น 4.๑ คณุ สมบตั ิของโปรแกรม Proteus // 4.๒ สว่ นประกอบของโปรแกรม Proteus // 4.๓ การตดิ ตั้งโปรแกรม Proteus // 4.๔ การใช้งานโปรแกรม Proteus เบอ้ื งตน้ //

การวเิ คราะห์แหล่งการเรียนรู้ ระดบั ชน้ั ปวช. ตารางวิเคราะห์แหลง่ การเรียนรู้ ๒ หน่วยกิต รหัสวชิ า ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวิชา ช่างอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๔ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ชื่อวชิ า เขยี นแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ด้วยคอมพิวเตอร์ หนว่ ย ชือ่ หน่วยการเรียนร/ู้ หวั ข้อการเรยี นรู้ แหล่งการเรยี นรู้ หมาย ท่ี ก ข ค ง จ ฉ เหตุ ๕ การออกแบบ อา่ น และเขียนแบบวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ ด้วยโปรแกรม // // Proteus // // 5.๑ วิธอี อกแบบวงวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม Visio // // 5.๒ การอา่ นวงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Visio // // 5.๓ การเขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Visio 5.๔ ข้อควรระวงั ในงานโปรแกรม Visio // // // // ๖ การตดิ ตัง้ และใช้งานโปรแกรม EasyEDA เบอื้ งต้น // // 6.๑ คณุ สมบัติของโปรแกรม EasyEDA // // 6.๒ สว่ นประกอบของโปรแกรม EasyEDA 6.๓ การตดิ ต้ังโปรแกรม EasyEDA // // 6.๔ การใช้งานโปรแกรม EasyEDA เบอ้ื งต้น // // // // ๗ การออกแบบ อา่ น และเขียนแบบวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ ดว้ ยโปรแกรม // // EasyEDA 7.๑ วิธอี อกแบบวงวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ ดว้ ยโปรแกรม EasyEDA // // 7.๒ การอ่านวงวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม EasyEDA // // 7.๓ การเขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ด้วยโปรแกรม EasyEDA // // 7.๔ ขอ้ ควรระวังในงานโปรแกรม EasyEDA // // ๘ การออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า ๘.๑ วิธอี อกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ ๘.๒ ข้ันตอนการออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ ๘.๓ ข้อควรระวงั ในงานการออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ ๘.๔ การออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า บนโปรแกรม Easy EDA

การวิเคราะหแ์ หล่งการเรยี นรู้ ระดบั ชัน้ ปวช. ตารางวิเคราะห์แหลง่ การเรียนรู้ ๒ หน่วยกติ รหัสวชิ า ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวชิ า ชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ ๔ ช่วั โมง/สัปดาห์ ช่ือวชิ า เขยี นแบบอิเลก็ ทรอนิกสด์ ว้ ยคอมพวิ เตอร์ หน่วย ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้/หัวขอ้ การเรยี นรู้ แหล่งการเรียนรู้ หมาย ท่ี ก ข ค ง จ ฉ เหตุ ๙ การออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ // // 9.๑ วธิ อี อกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ดว้ ยโปรแกรม EasyEDA // // 9.๒ ขั้นตอนการออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หน้า // // 9.๓ ขอ้ ควรระวังในงานการออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ // // 9.๔ การออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ดว้ ยโปรแกรม EasyEDA // // ๑๐ การสร้างวงจร และทดสอบลายวงจรพมิ พ์ 1 หน้า // // ๑๐.๑ วิธีการสรา้ งวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ // // // // ๑๐.๒ ข้อควรระวงั ในการสร้างวงจรพิมพ์ 1 หนา้ ๑๐.๓ การสรา้ งวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ ๑๐.๔ การทดสอบลายวงจรพิมพ์ 1 หน้า แหลง่ ท่ีมาของแหล่งการเรียนรู้ ก. ส่ิงทก่ี ำหนดในรายวิชา ข. ประสบการณข์ องตนเอง ค. สอบถามจากผเู้ ชีย่ วชาญ ง. จากตำราหรือเอกสารทเี่ กีย่ วข้อง จ. จาการดูงานจากสถานประกอบการณ์ ฉ. อ่นื ๆ.....จากอินเตอร์เนต็ ....................

การวิเคราะห์สมรรถนะทัว่ ไป ระดบั ช้นั ปวช. ตารางวิเคราะห์สมรรถนะท่ัวไป ๒ หนว่ ยกติ รหสั วชิ า ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวชิ า ชา่ งอิเล็กทรอนิกส์ ๔ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ชอ่ื วิชา เขยี นแบบอิเลก็ ทรอนิกสด์ ว้ ยคอมพวิ เตอร์ หน่วย ช่อื หน่วยการเรยี นรู/้ หัวข้อการเรยี นรู้ สมรรถนะท่วั ไป ที่ ๑ การใช้งานโปรแกรมต่างๆ และคณุ สมบัตขิ องแผ่นวงจรพมิ พแ์ ต่ละชนดิ ๑.๑ โปรแกรมสำหรับออกแบบวงจรพิมพ์ ๑.๑ แสดงความรูเ้ ก่ยี วกบั โปรแกรมสำหรบั ออกแบบวงจรพมิ พ์ ๑.๒ แผน่ วงจรพิมพ์ ๑.๒ แสดงความรเู้ ก่ียวกับแผน่ วงจรพมิ พ์ ๑.๓ ประเภทแผน่ วงจรพิมพ์ ๑.๓ แสดงความรู้เกี่ยวกับประเภทแผน่ วงจรพมิ พ์ ๑.๔ ลกั ษณะการใชง้ านแผ่นวงจรพมิ พ์ ๑.๔ แสดงทกั ษะในการจำแนกลกั ษณะการใช้งานแผ่นวงจรพมิ พ์ ๑.๕ กระบวนการสร้างแผ่นวงจรพิมพ์ ๑.๕ แสดงทักษะในการยกตวั อยา่ งกระบวนการสรา้ งแผ่นวงจรพมิ พ์ ๒ การตดิ ตง้ั และใช้งานโปรแกรม Visio เบอื้ งต้น ๒.๑ คณุ สมบัตขิ องโปรแกรม Visio ๒.๑ แสดงความร้เู กยี่ วกบั คณุ สมบตั ิของโปรแกรม Visio ๒.๒ สว่ นประกอบของโปรแกรม Visio ๒.๒ แสดงความร้เู ก่ียวกับสว่ นประกอบของโปรแกรม Visio ๒.๓ การตดิ ต้งั โปรแกรม Visio ๒.๓ แสดงทกั ษะในการตดิ ตั้งโปรแกรม Visio ๒.๔ การใชง้ านโปรแกรม Visio เบอ้ื งตน้ ๒.๔ แสดงทกั ษะในการใชง้ านโปรแกรม Visio เบ้ืองต้น 3 การออกแบบ อ่าน และเขียนแบบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ดว้ ยโปรแกรม Visio ๓.๑ วิธอี อกแบบวงวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ ด้วย ๓.๑ แสดงความรเู้ ก่ยี วกับวิธอี อกแบบวงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ดว้ ย โปรแกรม Visio โปรแกรม Visio ๓.๒ การอ่านวงวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์บน ๓.๒ แสดงทกั ษะในการอา่ นวงวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์บนโปรแกรม โปรแกรม Visio Visio ๓.๓ การเขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ด้วย ๓.๓ แสดงทกั ษะในการเขยี นแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม โปรแกรม Visio Visio ๓.๔ ขอ้ ควรระวงั ในงานโปรแกรม Visio ๓.๔ แสดงความรู้เกย่ี วกบั ขอ้ ควรระวงั ในงานโปรแกรม Visio 4 การติดต้ังและใช้งานโปรแกรม Proteus เบือ้ งต้น 4.๑ คณุ สมบัตขิ องโปรแกรม Proteus 4.๑ แสดงความรเู้ ก่ียวกับคณุ สมบตั ิของโปรแกรม Proteus 4.๒ ส่วนประกอบของโปรแกรม Proteus 4.๒ แสดงความรู้เกีย่ วกับสว่ นประกอบของโปรแกรม Proteus 4.๓ การติดตงั้ โปรแกรม Proteus 4.3 แสดงทักษะในการตดิ ต้ังโปรแกรม Proteus 4.๔ การใชง้ านโปรแกรม Proteus เบอ้ื งต้น 4.๔ แสดงทักษะในการใช้งานโปรแกรม Proteus เบือ้ งต้น

การวเิ คราะหส์ มรรถนะทั่วไป ระดบั ช้นั ปวช. ตารางวิเคราะห์สมรรถนะทั่วไป ๒ หนว่ ยกติ รหัสวิชา ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวิชา ชา่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๔ ช่วั โมง/สปั ดาห์ ชอื่ วิชา เขียนแบบอิเล็กทรอนิกสด์ ้วยคอมพิวเตอร์ หนว่ ย ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้/หวั ขอ้ การเรยี นรู้ สมรรถนะท่ัวไป ท่ี 5 การออกแบบ อ่าน และเขียนแบบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ดว้ ยโปรแกรม Proteus 5.๑ วิธอี อกแบบวงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วย ๕.๑ แสดงความรู้เกยี่ วกบั วธิ อี อกแบบวงวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ดว้ ย โปรแกรม Proteus โปรแกรม Proteus 5.๒ การอ่านวงวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์บน ๕.๒ แสดงทักษะในการอ่านวงวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์บนโปรแกรม โปรแกรม Proteus Proteus 5.๓ การเขียนแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ดว้ ย 5.๓ แสดงทักษะในการเขยี นแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม โปรแกรม Proteus Proteus 5.๔ ขอ้ ควรระวงั ในงานโปรแกรม Proteus ๕.๔ แสดงความรูเ้ กย่ี วกับขอ้ ควรระวงั ในงานโปรแกรม Proteus 6 การติดตั้งและใช้งานโปรแกรม EasyEDA เบอื้ งตน้ 6.๑ คณุ สมบัตขิ องโปรแกรม EasyEDA ๖.๑ แสดงความรู้เกย่ี วกบั คณุ สมบตั ิของโปรแกรม EasyEDA 6.๒ สว่ นประกอบของโปรแกรม EasyEDA ๖.๒ แสดงความรู้เก่ยี วกบั ส่วนประกอบของโปรแกรม EasyEDA 6.๓ การตดิ ตง้ั โปรแกรม EasyEDA ๖.๓ แสดงทกั ษะในการตดิ ต้งั โปรแกรม EasyEDA 6.๔ การใชง้ านโปรแกรม EasyEDA เบอื้ งตน้ ๖.4 แสดงทักษะในการใช้งานโปรแกรม EasyEDA เบ้อื งตน้ 7 การออกแบบ อา่ น และเขยี นแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ดว้ ยโปรแกรม EasyEDA 7.๑ วธิ อี อกแบบวงวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ ดว้ ย ๗.๑ แสดงความร้เู กยี่ วกับวธิ อี อกแบบวงวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ด้วย โปรแกรม EasyEDA โปรแกรม EasyEDA 7.๒ การอา่ นวงวงจรอิเล็กทรอนิกส์บน ๗.๒ แสดงทักษะในการอา่ นวงวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์บนโปรแกรม โปรแกรม EasyEDA EasyEDA 7.๓ การเขยี นแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ด้วย ๗.๓ แสดงทกั ษะในการเขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ดว้ ยโปรแกรม โปรแกรม EasyEDA EasyEDA 7.๔ ข้อควรระวงั ในงานโปรแกรม EasyEDA ๗.๔ แสดงความรเู้ ก่ยี วกับข้อควรระวังในงานโปรแกรม EasyEDA

การวเิ คราะห์สมรรถนะท่วั ไป ระดบั ช้ัน ปวช. ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะท่วั ไป ๒ หน่วยกติ รหสั วิชา ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวชิ า ช่างอิเล็กทรอนิกส์ ๔ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ชือ่ วิชา เขยี นแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หน่วย ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้/หัวข้อการเรยี นรู้ สมรรถนะทวั่ ไป ท่ี 8 การออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า ๘.๑ วธิ อี อกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ 8.๑ แสดงความรู้เกี่ยวกับวธิ อี อกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า ๘.๒ ข้ันตอนการออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ 8.๒ แสดงความร้เู กี่ยวกับข้นั ตอนการออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ ๘.๓ ขอ้ ควรระวงั ในงานการออกแบบวงจรพมิ พ์ 8.๓ แสดงความรู้เกี่ยวกับข้อควรระวงั ในงานการออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า 1 หน้า ๘.๔ การออกแบบวงจรพิมพ์ 1 หนา้ บน 8.๔ แสดงทักษะในการออกแบบวงจรพิมพ์ 1 หนา้ บนโปรแกรม โปรแกรม Easy EDA Easy EDA 9 การออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ 9.๑ วิธอี อกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ด้วย ๙.๑ แสดงความร้เู กย่ี วกับวธิ อี อกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หน้าดว้ ย โปรแกรม EasyEDA โปรแกรม EasyEDA 9.๒ ขน้ั ตอนการออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ๙.๒ แสดงความรู้เก่ยี วกับข้ันตอนการออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ 9.๓ ขอ้ ควรระวังในงานการออกแบบวงจรพิมพ์ ๙.๓ แสดงความรูเ้ กย่ี วกับข้อควรระวังในงานการออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หน้า 2 หนา้ 9.๔ การออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ด้วย ๙.๔ แสดงทกั ษะในการออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ดว้ ยโปรแกรม โปรแกรม EasyEDA EasyEDA 10 การสรา้ งวงจร และทดสอบลายวงจรพมิ พ์ 1 หน้า ๑๐.๑ วิธีการสรา้ งและทดสอบวงจรพิมพ์ 1 10.๑ แสดงความรเู้ ก่ียวกบั วธิ ีการสรา้ งและทดสอบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า หนา้ ๑๐.๒ ข้อควรระวงั ในการสรา้ งและทดสอบ 10.๒ แสดงความรเู้ ก่ียวกบั ขอ้ ควรระวงั ในการสรา้ งและทดสอบ วงจรพมิ พ์ 1 หนา้ วงจรพมิ พ์ 1 หน้า ๑๐.๓ การสร้างวงจรพิมพ์ 1 หนา้ 10.๓ แสดงทกั ษะในการสร้างวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ ๑๐.๔ การทดสอบลายวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ 10.๔ แสดงทักษะในการทดสอบลายวงจรพมิ พ์ 1 หนา้

การวเิ คราะห์สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ทฤษฏ)ี ระดับชัน้ ปวช. ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะท่พี ึงประสงค์ ๒ หนว่ ยกติ รหสั วิชา ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวิชา ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ๔ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ช่อื วชิ า เขยี นแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ด้วยคอมพวิ เตอร์ หน่วย สมรรถนะท่วั ไป สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ ท่ี ๑ การใชง้ านโปรแกรมต่างๆ และคณุ สมบตั ขิ องแผน่ วงจรพมิ พแ์ ต่ละชนิด ๑.๑ แสดงความรเู้ กี่ยวกับโปรแกรมสำหรับออกแบบวงจร ๑.๑ อธิบายโปรแกรมสำหรบั ออกแบบวงจรพิมพ์ได้ พมิ พ์ ถกู ต้อง ๑.2 แสดงความรเู้ ก่ียวกบั แผ่นวงจรพมิ พ์ ๑.๒ อธบิ ายแผน่ วงจรพมิ พไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง ๑.๓ แสดงความรเู้ กย่ี วกับประเภทแผ่นวงจรพิมพ์ ๑.๓ อธบิ ายประเภทแผน่ วงจรพมิ พ์ไดถ้ ูกตอ้ ง ๒ การตดิ ต้ังและใช้งานโปรแกรม Visio เบ้ืองตน้ ๒.๑ แสดงความรเู้ กี่ยวกับคณุ สมบตั ขิ องโปรแกรม Visio ๒.๑ อธิบายองค์คณุ สมบัติของโปรแกรม Visio ได้ ถกู ต้อง ๒.๒ แสดงความร้เู กย่ี วกับส่วนประกอบของโปรแกรม Visio ๒.๒ อธิบายสว่ นประกอบของโปรแกรม Visio ได้ ถกู ตอ้ ง ๓ การออกแบบ อา่ น และเขียนแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ ดว้ ยโปรแกรม Visio ๓.๑ แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับวธิ อี อกแบบวงวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ ๓.๑ อธิบายออกแบบวงวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ดว้ ย ดว้ ยโปรแกรม Visio โปรแกรม Visio ไดถ้ กู ต้อง ๓.2 แสดงความรเู้ กย่ี วกับข้อควรระวังในงานโปรแกรม Visio ๓.๒ อธิบายขอ้ ควรระวงั ในงานโปรแกรม Visio ได้ ถกู ตอ้ ง ๔ การติดตั้งและใช้งานโปรแกรม Proteus เบอื้ งต้น 4.๑ แสดงความรเู้ กีย่ วกบั คณุ สมบตั ขิ องโปรแกรม Proteus 4.๑ อธิบายคณุ สมบัติของโปรแกรม Proteusได้ ถูกต้อง 4.๒ แสดงความรู้เกี่ยวกบั สว่ นประกอบของโปรแกรม 4.๒ อธิบายสว่ นประกอบของโปรแกรม Proteus ได้ Proteus ถกู ตอ้ ง ๕ การออกแบบ อา่ น และเขยี นแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม Proteus ๕.๑ แสดงความรู้เกย่ี วกับวธิ อี อกแบบวงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๕.1 บอกวธิ อี อกแบบวงวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ดว้ ย ดว้ ยโปรแกรม Proteus โปรแกรม Proteus ถูกตอ้ ง ๕.2 แสดงความรเู้ กย่ี วกบั ขอ้ ควรระวังในงานโปรแกรม ๕.๒ บอกขอ้ ควรระวังในงานโปรแกรม Proteus ได้ Proteus ถูกต้อง ๖ การตดิ ต้ังและใชง้ านโปรแกรม EasyEDA เบอ้ื งตน้ ๖.๑ แสดงความรเู้ กีย่ วกับคณุ สมบตั ิของโปรแกรม EasyEDA ๖.๑ อธิบายคณุ สมบัตขิ องโปรแกรม EasyEDA ได้ ถกู ตอ้ ง ๖.๒ แสดงความรู้เกย่ี วกับสว่ นประกอบของโปรแกรม ๖.๒ บอกสว่ นประกอบของโปรแกรม EasyEDA ได้ EasyEDA ถูกตอ้ ง

การวเิ คราะห์สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ (ทฤษฏ)ี ระดบั ชั้น ปวช. ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะทพี่ ึงประสงค์ ๒ หน่วยกิต รหสั วชิ า ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวิชา ช่างอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๔ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ช่ือวชิ า เขยี นแบบอิเล็กทรอนิกส์ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หนว่ ย สมรรถนะทวั่ ไป สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ ท่ี ๗ การออกแบบ อ่าน และเขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ดว้ ยโปรแกรม EasyEDA ๗.๑ แสดงความรู้เก่ยี วกบั วธิ อี อกแบบวงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๗.๑ อธิบายวธิ อี อกแบบวงวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ดว้ ย ดว้ ยโปรแกรม EasyEDA โปรแกรม EasyEDA ไดถ้ ูกต้อง ๗.2 แสดงความรูเ้ กีย่ วกบั ข้อควรระวงั ในงานโปรแกรม ๗.๒ อธิบายขอ้ ควรระวังในงานโปรแกรม EasyEDA EasyEDA ไดถ้ ูกต้อง ๘ การออกแบบวงจรพิมพ์ 1 หนา้ 8.๑ แสดงความรู้เกี่ยวกบั วิธอี อกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า ๘.๑ อธิบายวิธอี อกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ ได้ถูกต้อง 8.๒ แสดงความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 ๘.๒ อธิบายข้ันตอนการออกแบบวงจรพิมพ์ 1 หนา้ ได้ หน้า ถูกตอ้ ง 8.๓ แสดงความรเู้ กี่ยวกบั ขอ้ ควรระวังในงานการออกแบบ ๘.3 อธบิ ายขอ้ ควรระวงั ในงานการออกแบบวงจร วงจรพมิ พ์ 1 หนา้ พมิ พ์ 1 หนา้ ไดถ้ กู ตอ้ ง ๙ การออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ๙.๑ แสดงความรเู้ กี่ยวกบั วธิ อี อกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ด้วย ๙.๑ อธิบายวิธอี อกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ ดว้ ย โปรแกรม EasyEDA โปรแกรม EasyEDA ได้ถูกต้อง ๙.๒ แสดงความรเู้ ก่ียวกับขน้ั ตอนการออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 ๙.๒ อธิบายขน้ั ตอนการออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ ได้ หน้า ถูกตอ้ ง ๙.๓ แสดงความรู้เกี่ยวกับข้อควรระวังในงานการออกแบบ ๙.3 อธิบายข้อควรระวังในงานการออกแบบวงจร วงจรพิมพ์ 2 หนา้ พิมพ์ 2 หน้าไดถ้ ูกตอ้ ง ๑๐ การสรา้ งวงจร และทดสอบลายวงจรพิมพ์ 1 หนา้ ๙.๑ แสดงความรเู้ กย่ี วกบั วธิ ีการสรา้ งและทดสอบวงจรพิมพ์ ๑๐.๑ อธบิ ายวธิ กี ารสรา้ งและทดสอบวงจรพมิ พ์ 1 1 หน้า หน้าได้ถกู ตอ้ ง ๙.๒ แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั ขอ้ ควรระวงั ในการสรา้ งและ ๑๐.๒ อธบิ ายขอ้ ควรระวงั ในการสรา้ งและทดสอบ ทดสอบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า วงจรพมิ พ์ 1 หน้าไดถ้ ูกตอ้ ง

การวิเคราะหส์ มรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ (ปฏิบัติ) ระดับชน้ั ปวช. ตารางวิเคราะห์สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ ๒ หนว่ ยกิต รหัสวิชา ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวชิ า ช่างอิเล็กทรอนิกส์ ๔ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ช่อื วชิ า เขยี นแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ด้วยคอมพวิ เตอร์ หนว่ ย สมรรถนะท่วั ไป สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ ที่ ๑ การใช้งานโปรแกรมตา่ งๆ และคณุ สมบัตขิ องแผน่ วงจรพิมพแ์ ต่ละชนิด ๑.1 แสดงทักษะในการจำแนกลกั ษณะการใช้งาน ๑.๑ จำแนกลักษณะการใชง้ านแผน่ วงจรพิมพ์ได้ แผน่ วงจรพิมพ์ ถูกตอ้ ง ๑.2 แสดงทกั ษะในการยกตัวอยา่ งกระบวนการสร้าง ๑.๒ ยกตัวอย่างกระบวนการสร้างแผน่ วงจรพมิ พ์ได้ แผน่ วงจรพมิ พ์ ถูกตอ้ ง ๒ การติดต้งั และใชง้ านโปรแกรม Visio เบอ้ื งตน้ ๒.1 แสดงทักษะในการตดิ ต้ังโปรแกรม Visio ๒.๑ ตดิ ต้งั โปรแกรม Visio ไดถ้ ูกต้อง ๒.2 แสดงทกั ษะในการใช้งานโปรแกรม Visio เบ้อื งต้น ๒.๒ ใช้งานโปรแกรม Visio เบ้ืองตน้ ได้ถูกตอ้ ง ๓ การออกแบบ อา่ น และเขยี นแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม Visio ๓.1 แสดงทักษะในการอา่ นวงวงจรอิเล็กทรอนิกส์บน ๓.๑ อา่ นวงวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์บนโปรแกรม Visio ได้ โปรแกรม Visio ถกู ต้อง ๓.2 แสดงทกั ษะในการเขยี นแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ด้วย 3.2 เขยี นแบบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ดว้ ยโปรแกรม โปรแกรม Visio Visio ไดถ้ กู ต้อง ๔ การตดิ ตง้ั และใช้งานโปรแกรม Proteus เบ้ืองตน้ 4.3 แสดงทักษะในการตดิ ตงั้ โปรแกรม Proteus ๔.๑ ตดิ ต้งั โปรแกรม Proteus ไดถ้ ูกต้อง 4.๔ แสดงทักษะในการใชง้ านโปรแกรม Proteus เบอ้ื งตน้ ๔.๒ ใช้งานโปรแกรม Proteus เบอื้ งตน้ ไดถ้ ูกต้อง ๕ การออกแบบ อ่าน และเขียนแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม Proteus ๕.1 แสดงทกั ษะในการอา่ นวงวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์บน ๕.๑ อา่ นวงวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์บนโปรแกรม โปรแกรม Proteus Proteus ถูกต้อง 5.2 แสดงทกั ษะในการเขยี นแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ดว้ ย ๕.๒ เขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ด้วยโปรแกรม โปรแกรม Proteus Proteus ไดถ้ ูกตอ้ ง ๖ การตดิ ตัง้ และใช้งานโปรแกรม EasyEDA เบอื้ งตน้ ๖.1 แสดงทกั ษะในการตดิ ต้ังโปรแกรม EasyEDA ๖.๑ ติดต้ังโปรแกรม EasyEDA ได้ถูกตอ้ ง ๖.2 แสดงทกั ษะในการใชง้ านโปรแกรม EasyEDA เบ้อื งตน้ 6.2 ใช้งานโปรแกรม EasyEDA เบือ้ งตน้ ได้ถกู ตอ้ ง ๗ การออกแบบ อา่ น และเขยี นแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม EasyEDA ๗.1 แสดงทกั ษะในการอ่านวงวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ด้วย ๗.๑ อา่ นวงวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกสด์ ้วยโปรแกรม โปรแกรม EasyEDA EasyEDA ไดถ้ กู ต้อง ๗.2 แสดงทกั ษะในการเขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ด้วย 7.2 เขยี นแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม โปรแกรม EasyEDA EasyEDA ไดถ้ ูกตอ้ ง

การวเิ คราะห์สมรรถนะที่พงึ ประสงค์ (ปฏิบตั )ิ ระดับชัน้ ปวช. ตารางวิเคราะห์สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ ๒ หนว่ ยกิต รหสั วิชา ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวชิ า ชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ ๔ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ช่ือวิชา เขียนแบบอิเลก็ ทรอนกิ สด์ ว้ ยคอมพวิ เตอร์ หนว่ ย สมรรถนะทว่ั ไป สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ๘.๑ ออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า บนโปรแกรม Easy ๘ การออกแบบวงจรพิมพ์ 1 หนา้ EDA ได้ถูกตอ้ ง 8.1 แสดงทกั ษะในการออกแบบวงจรพิมพ์ 1 หน้า บน โปรแกรม Easy EDA ๙.๑ ออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ดว้ ยโปรแกรม EasyEDA ได้ถกู ต้อง ๙ การออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ ๙.1 แสดงทกั ษะในการออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ ดว้ ย ๑๐.๑ สรา้ งวงจรพิมพ์ 1 หน้าได้ถกู ตอ้ ง โปรแกรม EasyEDA ๑๐.๒ ทดสอบลายวงจรพิมพ์ 1 หน้าได้ถูกต้อง ๑๐ การสรา้ งวงจร และทดสอบลายวงจรพิมพ์ 1 หนา้ 10.1 แสดงทกั ษะในการสร้างวงจรพิมพ์ 1 หน้า 10.2 แสดงทักษะในการทดสอบลายวงจรพมิ พ์ 1 หนา้

การวิเคราะห์พฤติกรรมการเรียนรทู้ พ่ี งึ ประสงค์ (ทฤษฏี) ระดบั ชัน้ ปวช. ตารางวิเคราะห์พฤติกรรมการเรียนร้ทู ีพ่ ึงประสงค์ ๒ หน่วยกติ รหัสวิชา ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวชิ า ชา่ งอเิ ล็กทรอนิกส์ ๔ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ช่ือวชิ า เขยี นแบบอิเล็กทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ หนว่ ย สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ พฤตกิ รรมการเรยี นรทู้ พี่ งึ ประสงค์ ที่ R U Ap An E C ๑ การใชง้ านโปรแกรมตา่ งๆ และคณุ สมบัตขิ องแผ่นวงจรพิมพแ์ ต่ละชนดิ X ๑.๑ อธบิ ายโปรแกรมสำหรบั ออกแบบวงจรพมิ พ์ได้ถกู ตอ้ ง I ๑.๒ อธิบายแผ่นวงจรพมิ พไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง X ๑.๓ อธบิ ายประเภทแผ่นวงจรพมิ พ์ได้ถูกตอ้ ง I ๒ การตดิ ตง้ั และใช้งานโปรแกรม Visio เบ้ืองต้น I ๒.๑ อธบิ ายองค์คณุ สมบตั ิของโปรแกรม Visio ได้ถูกตอ้ ง ๒.๒ อธบิ ายส่วนประกอบของโปรแกรม Visio ไดถ้ ูกต้อง I ๓ การออกแบบ อ่าน และเขียนแบบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ดว้ ยโปรแกรม I Visio ๓.๑ อธบิ ายออกแบบวงวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ด้วยโปรแกรม Visio ได้ I ถกู ต้อง I ๓.๒ อธบิ ายขอ้ ควรระวงั ในงานโปรแกรม Visio ไดถ้ ูกตอ้ ง I ๔ การติดตงั้ และใชง้ านโปรแกรม Proteus เบือ้ งตน้ 4.๑ อธิบายคณุ สมบัตขิ องโปรแกรม Proteusได้ถกู ตอ้ ง I 4.๒ อธบิ ายส่วนประกอบของโปรแกรม Proteus ได้ถูกตอ้ ง ๕ การออกแบบ อ่าน และเขียนแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ด้วยโปรแกรม Proteus ๕.1 บอกวธิ อี อกแบบวงวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ดว้ ยโปรแกรม Proteus ถกู ต้อง ๕.๒ บอกขอ้ ควรระวงั ในงานโปรแกรม Proteus ไดถ้ กู ตอ้ ง

การวเิ คราะห์พฤตกิ รรมการเรียนรู้ท่พี งึ ประสงค์ (ทฤษฏ)ี ระดับช้นั ปวช. ตารางวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมการเรียนรู้ทีพ่ งึ ประสงค์ ๒ หนว่ ยกติ รหัสวชิ า ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวชิ า ช่างอิเล็กทรอนกิ ส์ ๔ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ชอื่ วิชา เขียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ด้วยคอมพวิ เตอร์ หนว่ ย สมรรถนะท่พี ึงประสงค์ พฤติกรรมการเรียนร้ทู พ่ี งึ ประสงค์ ท่ี ๖ การตดิ ตั้งและใช้งานโปรแกรม EasyEDA เบอ้ื งตน้ R U Ap An E C ๖.๑ อธิบายคณุ สมบัตขิ องโปรแกรม EasyEDA ไดถ้ ูกต้อง X ๖.๒ บอกส่วนประกอบของโปรแกรม EasyEDA ได้ถกู ตอ้ ง X ๗ การออกแบบ อ่าน และเขยี นแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม EasyEDA ๗.๑ อธบิ ายวธิ อี อกแบบวงวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ด้วยโปรแกรม EasyEDA I ไดถ้ กู ตอ้ ง ๗.๒ อธบิ ายขอ้ ควรระวังในงานโปรแกรม EasyEDAได้ถกู ตอ้ ง I ๘ การออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า ๘.๑ อธิบายวธิ อี อกแบบวงจรพิมพ์ 1 หนา้ ไดถ้ กู ตอ้ ง X ๘.๒ อธิบายขนั้ ตอนการออกแบบวงจรพิมพ์ 1 หน้าไดถ้ กู ตอ้ ง I ๘.3 อธิบายขอ้ ควรระวังในงานการออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ ได้ถกู ต้อง I ๙ การออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ๙.๑ อธิบายวธิ อี อกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ ด้วยโปรแกรม EasyEDA ได้ I ถกู ต้อง ๙.๒ อธบิ ายขั้นตอนการออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ ได้ถูกต้อง X ๙.3 อธบิ ายขอ้ ควรระวงั ในงานการออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หน้าไดถ้ กู ต้อง X ๑๐ การสรา้ งวงจร และทดสอบลายวงจรพิมพ์ 1 หน้า ๑๐.๑ อธิบายวิธกี ารสร้างและทดสอบวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ ได้ถูกต้อง I ๑๐.๒ อธบิ ายขอ้ ควรระวังในการสรา้ งและทดสอบวงจรพมิ พ์ 1 หน้าได้ X ถูกตอ้ ง หมายเหตุ : ความหมายของระดบั การเรยี นรู้ทพ่ี งึ ประสงค์ (Bloom S Taxonomy ; 2001 ดา้ นความรู้ ระดบั ความสาคญั X = สาคญั มากท่ีสุด R = จำ (Remembering) An = วิเครำะห์ (Analyzing) U = เขำ้ ใจ (Understanding) Ap = ประยกุ ตใ์ ช้ (Applying) I = สาคญั มาก E = ประเมินค่ำ (Evaluting) C = คดิ สร้ำงสรรค์ (Creating) O = สาคญั

การวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมการเรียนรู้ที่พงึ ประสงค์ (ปฏบิ ตั ิ) ระดับช้นั ปวช. ตารางวิเคราะห์พฤติกรรมการเรียนรทู้ ่พี งึ ประสงค์ ๒ หน่วยกติ รหสั วิชา ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวิชา ชา่ งอิเล็กทรอนิกส์ ๔ ช่วั โมง/สปั ดาห์ ชอ่ื วชิ า เขียนแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หนว่ ย สมรถนะท่ีพึงประสงค์ พฤติกรรมการเรียนรทู้ ี่พงึ ประสงค์ ท่ี I MPAN ๑ การใช้งานโปรแกรมตา่ งๆ และคณุ สมบตั ขิ องแผ่นวงจรพมิ พแ์ ต่ละชนิด I ๑.๑ จำแนกลกั ษณะการใช้งานแผน่ วงจรพิมพ์ไดถ้ กู ต้อง I ๑.๒ ยกตวั อยา่ งกระบวนการสรา้ งแผน่ วงจรพิมพ์ไดถ้ กู ต้อง I ๒ การติดตง้ั และใชง้ านโปรแกรม Visio เบื้องตน้ I ๒.๑ ติดตั้งโปรแกรม Visioไดถ้ ูกตอ้ ง ๒.๒ ใช้งานโปรแกรม Visio เบือ้ งต้นได้ถกู ตอ้ ง I ๓ การออกแบบ อ่าน และเขยี นแบบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ด้วยโปรแกรม Visio I ๓.๑ อา่ นวงวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์บนโปรแกรม Visio ได้ถกู ตอ้ ง I 3.2 เขยี นแบบวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ด้วยโปรแกรม Visio ไดถ้ กู ต้อง I ๔ การตดิ ตงั้ และใชง้ านโปรแกรม Proteus เบ้อื งต้น I ๔.๑ ติดตัง้ โปรแกรม Proteus ไดถ้ กู ต้อง ๔.๒ ใชง้ านโปรแกรม Proteus เบอื้ งตน้ ได้ถูกตอ้ ง I I ๕ การออกแบบ อา่ น และเขยี นแบบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ด้วยโปรแกรม Proteus ๕.๑ อา่ นวงวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์บนโปรแกรม Proteus ถกู ต้อง I ๕.๒ เขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Proteus ได้ถูกตอ้ ง I ๖ การตดิ ตัง้ และใชง้ านโปรแกรม EasyEDA เบอื้ งต้น I ๖.๑ ติดตัง้ โปรแกรม EasyEDA ไดถ้ กู ต้อง 6.2 ใชง้ านโปรแกรม EasyEDA เบ้ืองตน้ ได้ถกู ต้อง ๗ การออกแบบ อ่าน และเขยี นแบบวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ ด้วยโปรแกรม EasyEDA ๗.๑ อา่ นวงวงจรอเิ ล็กทรอนิกสด์ ้วยโปรแกรม EasyEDA ได้ถูกต้อง 7.2 เขยี นแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม EasyEDA ได้ถูกตอ้ ง ๘ การออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หน้า ๘.๑ ออกแบบวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ บนโปรแกรม Easy EDA ไดถ้ กู ต้อง

การวเิ คราะห์พฤติกรรมการเรยี นรทู้ ีพ่ ึงประสงค์ (ปฏบิ ตั ิ) ระดบั ชัน้ ปวช. ตารางวิเคราะห์พฤตกิ รรมการเรียนรู้ที่พงึ ประสงค์ ๒ หน่วยกติ รหัสวชิ า ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวชิ า ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ๔ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ชือ่ วชิ า เขยี นแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ด้วยคอมพวิ เตอร์ หนว่ ย สมรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ พฤติกรรมการเรยี นรทู้ พ่ี งึ ประสงค์ ที่ I MPAN ๙ การออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หน้า I ๙.๑ ออกแบบวงจรพมิ พ์ 2 หนา้ ดว้ ยโปรแกรม EasyEDA ได้ถกู ต้อง I ๑๐ การสร้างวงจร และทดสอบลายวงจรพิมพ์ 1 หน้า I ๑๐.๑ สรา้ งวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ ไดถ้ กู ต้อง ๑๐.๒ ทดสอบลายวงจรพมิ พ์ 1 หน้าได้ถูกตอ้ ง หมายเหตุ : ความหมายของระดบั การเรยี นรู้ทพ่ี งึ ประสงค์ (Bloom S Taxonomy ; 2001) ดำ้ นทกั ษะ ระดบั ควำมสำคญั I = สงั เกตและเลียนแบบ (Imitation) X = สำคญั มำกที่สุด M = ทำตำมได้ (Manipulation) I = สำคญั มำก P = ทำไดถ้ กู ตอ้ ง (Precision) O = สำคญั A = เรียนรู้วิธีกำรทำอยำ่ งถกู ตอ้ ง (Aeticuiation) N = ทำไดอ้ ยำ่ งอตั โนมตั ิ (Naturalization)

โครงการสอนรายวิชา ระดับชั้น ปวช. โครงการสอนรายวชิ า ๒ หนว่ ยกติ รหสั วชิ า ๒๐๑๐5-๒107 สาขาวิชา ชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ ๔ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ช่อื วิชา เขียนแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ดว้ ยคอมพิวเตอร์ สอน สปั ดาห์ หน่วย ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ จำนวน แบบฝกึ หดั คร้งั ที่ ที่ ที่ ชั่วโมง (ใบงาน) ๑ ๑ 1 การใช้งานโปรแกรมต่างๆ และคณุ สมบัติของ ๔ แผ่นวงจรพมิ พ์แตล่ ะชนดิ ๒ ๒ 2 การตดิ ต้งั และใชง้ านโปรแกรม Visio เบอ้ื งตน้ ๔ ๓ ๓ 2 การออกแบบ อา่ น และเขยี นแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ ๔ ด้วยโปรแกรม Visio ๔ ๔ 3 การออกแบบ อ่าน และเขยี นแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ ๔ ดว้ ยโปรแกรม Visio (ต่อ) ๕ ๕ 3 การตดิ ตง้ั และใช้งานโปรแกรม Proteus เบ้ืองต้น ๔ ๖ ๖ 4 การออกแบบ อา่ น และเขียนแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๔ ดว้ ยโปรแกรม Proteus ๗ ๗ 4 การออกแบบ อา่ น และเขียนแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๔ ด้วยโปรแกรม Proteus (ต่อ) ๘ ๘ 5 การตดิ ตง้ั และใช้งานโปรแกรม EasyEDA เบ้อื งตน้ ๔ ๙ ๙ 5 การออกแบบ อ่าน และเขยี นแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๔ ด้วยโปรแกรม EasyEDA ๑๐ ๑๐ 6 การออกแบบ อ่าน และเขยี นแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๔ ดว้ ยโปรแกรม EasyEDA (ต่อ) ๑๑ ๑๑ 6 การออกแบบวงจรพิมพ์ 1 หน้า ๔ ๑๒ ๑๒ 7 การออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หนา้ ๔ ๑๓ ๑๓ 7 การออกแบบวงจรพิมพ์ 2 หน้า (ต่อ) ๔ ๑๔ ๑๔ 8 การสรา้ งวงจร และทดสอบลายวงจรพิมพ์ 1 หน้า ๔ ๑๕ ๑๕ 8 การสรา้ งวงจร และทดสอบลายวงจรพมิ พ์ 1 หน้า (ตอ่ ) ๔ ๑๖ ๑๖ 9 การสรา้ งวงจร และทดสอบลายวงจรพิมพ์ 1 หน้า (ตอ่ ) ๔ ๑๗ ๑๗ 10 การสร้างวงจร และทดสอบลายวงจรพมิ พ์ 1 หนา้ (ตอ่ ) ๔ ๑๘ ๑๘ - สอบปลายภาค ๔ รวม ๗๒ หมายเหตุ โครงการสอนนจ้ี ัดทำขนึ้ เพอ่ื เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเทา่ นนั้ ระยะเวลาอาจมีการเปลย่ี นแปลงได้ ตามความเหมาะสม

การบูรณาการรายวิชา (ถ้าม)ี 1. การบรู ณาการคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ การบรู ณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ น้ีไดก้ ำหนดขน้ึ ตามกรอบ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ซ่ึงประกอบด้วย 15 คุณลักษณะ โดยในวิชาการออกแบบเครื่องจักรกล ได้เน้น 4 คุณลักษณะ คือ ด้านความมี วนิ ัย ด้านความรับผิดชอบ ด้านความซื่อสัตย์สุจรติ และด้านความสนใจใฝ่เรียนรู้ ซ่ึงในแต่ละ ด้านมีพฤติกรรม บ่งช้ที ส่ี ำคญั และนำมาเลอื กใช้ ดังนี้ 1) ความมีวินัย คือปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับและข้อตกลงต่าง ๆ ของสถานศึกษาได้แก่การแต่ง กายถูกต้องตามระเบียบและข้อบังคับ ตรงต่อเวลา รักษาสาธารณสมบัติ สิ่งแวดล้อมและเข้าร่วมกิจกรรมท่ีครู กำหนดและประพฤตติ นถกู ตอ้ งตามศีลธรรมอนั ดีงาม (เข้าชน้ั เรียนตรงเวลา) 2) ความรับผิดชอบ คือการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานตามข้ันตอนท่ี วางไว้ ปฏิบัติงานด้วยความตั้งใจ ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตาม กำหนด มีความเพียรพยายามในการเรียนและการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานตามหน้าท่ีของตนเอง ยอมรับผลการ กระทำของตนเอง ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยต่อตนเองและส่วนรวม (นักเรียนเอาใจใส่การเข้าร่วม กิจกรรมในแต่ละแผนการจดั การเรียนร้มู ่งุ เนน้ สมรรถนะอย่างต้งั ใจ) 3) ความซื่อสัตยส์ ุจริต คอื การพดู ความจริง ไมน่ ำผลงานของผอู้ ืน่ มาแอบอา้ งเปน็ ของตนเอง ไม่ทุจรติ ใน การสอบ ไมล่ ักขโมยเป็นตน้ (นกั เรียนไม่ถามและไม่ลอกคำตอบจากผอู้ นื่ ) 4) ความสนใจใฝ่รู้ เป็นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ซักถามปัญหาข้อสงสัย แสวงหาประสบการณ์และ ค้นหาความรู้ใหม่ ๆ (นักเรียนใฝ่ในการเรียนรู้อยู่เสมอ โดยการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง หรือปรึกษาหารือ หาความรู้ หรือศกึ ษาด้วยวธิ ีการอืน่ ๆ) 2. การบูรณาการเขา้ กับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 หว่ ง 2 เงอื่ นไข 4 มติ ิประกอบด้วย 3 หว่ ง 2 เงื่อนไข 4 มิติ 1. ความพอประมาณ 1. เงอื่ นไขความรู้ 1. เศรษฐกิจ 2. ความมีเหตผุ ล 2. เงอื่ นไขคุณธรรม 2. สงั คม 3. การมภี ูมิคุม้ กันในตวั ที่ดี 3. สิ่งแวดลอ้ ม 4. วฒั นธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook