Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา พินิจวรรณกรรม เรื่อง การวิเคราะห์โวหารภาพพจน์

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา พินิจวรรณกรรม เรื่อง การวิเคราะห์โวหารภาพพจน์

Published by akekung9, 2022-06-08 09:38:26

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา พินิจวรรณกรรม ที่ใช้ประกอบการวิจัย

Search

Read the Text Version

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพ่ิมเตมิ ท๓๐๒๐๗ กำรพินิจวรรณกรรม กลุม่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ี่ ๖ ภำคเรยี นท่ี 1 เวลำ ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ศึกษาเก่ียวกับความหมาย องค์ประกอบ ประเภท และหลักการวิเคราะห์ คุณค่า ของวรรณกรรมประเภทร้อยแก้วและร้อยกรอง ท้ังด้านวรรณศิลป์ สังคมวัฒนธรรม และด้านเน้ือหา ฝึกการวิเคราะห์องค์ประกอบ และคุณค่าของวรรณคดีประเภทร้อยแก้ว และร้อยกรอง ท้ังด้านวรรณศิลป์ สงั คมวฒั นธรรม และด้านเน้อื หา จากวรรณคดีท่ีกาหนด พร้อมทารายงานนาเสนอ โดยผ่านกระบวนการฝึกปฏิบัติ คิดสร้างสรรค์ สร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม สังเกต สืบค้น นาเสนอความรู้ ผ่านการรายงาน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ถึงความหมาย องค์ประกอบ ประเภท และหลักการวิเคราะห์ คุณค่าของวรรณคดีประเภทร้อยแก้ว ทั้งด้านวรรณศิลป์ สังคมวัฒนธรรม และด้านเนื้อหา และสามารถวิเคราะห์องค์ประกอบ และคุณค่าของวรรณคดีร้อยแก้ว ทั้งด้านวรรณศิลป์ สงั คมวัฒนธรรม และด้านเนื้อหา พรอ้ มทจ่ี ะนาเสนอผ่านการรายงาน การคน้ คว้า เพื่อให้เกิดจิตสานึกในการอนุรักษ์ความเป็นไทย และร่วมกันพัฒนาภูมิปัญญาไทย เกิดความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีวินัยในการสร้างสรรค์งาน ซื่อสัตย์ มุ่งม่ันในการทางาน ใฝร่ ู้คู่คณุ ธรรมและรักความเปน็ ไทย ผลกำรเรยี นรู้ ๑. บอกความหมายและประเภทของวรรณกรรมไทยได้ ๒. บอกองค์ประกอบ และหลักการวเิ คราะห์วรรณกรรมไทยได้ ๓. วิเคราะหค์ ณุ ค่าทางด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมวัฒนธรรม และด้านเนื้อหาจากวรรณกรรมไทยได้ ๔. มที ัศนคติอันดีต่อวรรณกรรมไทย รวมทั้งหมด ๔ ผลกำรเรียนรู้ หลักสตู รทอ้ งถ่นิ “กรงุ เทพฯ ศึกษา” หลกั สตู รโตไปไมโ่ กง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

โครงสร้ำงรำยวชิ ำเพมิ่ เติม ท30207 กำรพนิ ิจวรรณกรรม กลุ่มสำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ี่ 6 ภำคเรียนที่ 1 จำนวน 4๐ ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต หนว่ ยที่ ชื่อหน่วยกำรเรยี นรู้ ผลกำรเรยี นรู้ สำระสำคญั เวลำ นำ้ หนัก (ชั่วโมง) คะแนน ๑ ความรเู้ บื้องต้น ๑. บอกความหมาย วรรณคดี เป็นสง่ิ ที่แสดง เกยี่ วกบั และประเภท ความเจริญของชาติ 6 ๕ วรรณกรรมไทย ของวรรณกรรมไทยได้ เพราะเป็นสง่ิ ทแ่ี สดงถงึ ๔. มที ศั นคตอิ ันดี ความงดงามทางด้าน ๔ 15 ภาษา วัฒนธรรม ต่อวรรณคดีไทย ความเชือ่ สภาพสังคม อกี ท้ังยงั สอดแทรก ๒ องค์ประกอบ ๒. บอกองคป์ ระกอบ ความรู้ และข้อคิดไว้ อีกดว้ ย ดังน้ัน และหลกั การ และหลักการวเิ คราะห์ จงึ เป็นสงิ่ จาเปน็ ท่ีชาวไทยควรตอ้ งมี วิเคราะห์วรรณกรรม วรรณกรรมไทยได้ ความรเู้ กี่ยวกบั วรรณคดีไทย ไทย วรรณคดี เป็นสงิ่ ที่แสดง ความเจริญของชาติ เพราะเป็นส่งิ ที่แสดงถึง ความงดงามทางด้าน ภาษา วฒั นธรรม ความเช่ือ สภาพสงั คม อกี ท้ังยังสอดแทรก ความรู้ และข้อคิดไว้ อีกด้วย ดงั นน้ั จงึ เปน็ สิง่ จาเปน็ ทช่ี าวไทยควรต้องมี ความรเู้ กย่ี วกบั วรรณคดีไทย

หนว่ ยท่ี ช่อื หน่วยกำรเรียนรู้ ผลกำรเรยี นรู้ สำระสำคญั เวลำ นำ้ หนกั (ช่วั โมง) คะแนน ๓ คณุ คา่ ๓. วิเคราะหค์ ุณค่า วรรณคดี เป็นสิง่ ทีแ่ สดง ความเจรญิ ของชาติ ๑๐ 2๕ ทางด้านวรรณศลิ ป์ ทางด้านวรรณศลิ ป์ เพราะเปน็ สิ่งที่แสดงถงึ ความงดงามทางด้าน ๖ ๑๕ ดา้ นสังคมวฒั นธรรม ภาษา วัฒนธรรม ความเชือ่ สภาพสงั คม ๔ ๑๕ และด้านเน้ือหา อกี ท้ังยังสอดแทรก ความรู้ และข้อคิดไว้ จากวรรณกรรมไทยได้ อีกดว้ ย ดังนั้น จึงเป็นสงิ่ จาเปน็ ๔ คณุ คา่ ทางด้านสงั คม ๓. วเิ คราะห์คุณคา่ ทช่ี าวไทยควรต้องมี ความรเู้ ก่ียวกับ วัฒนธรรม ทางดา้ นวรรณศลิ ป์ วรรณคดีไทย วรรณคดี เป็นสงิ่ ที่แสดง ด้านสังคมวัฒนธรรม ความเจรญิ ของชาติ เพราะเป็นส่งิ ท่ีแสดงถึง และด้านเน้ือหา ความงดงามทางด้าน ภาษา วัฒนธรรม จากวรรณกรรมไทยได้ ความเชอื่ สภาพสังคม อีกทั้งยงั สอดแทรก ๕ คุณค่าทางด้าน ๓. วเิ คราะห์คณุ คา่ ความรู้ และข้อคิดไว้ เนื้อหา ทางดา้ นวรรณศลิ ป์ อกี ดว้ ย ดังนั้น ด้านสงั คมวัฒนธรรม จึงเปน็ สง่ิ จาเปน็ และดา้ นเนื้อหา ที่ชาวไทยควรตอ้ งมี จากวรรณกรรมไทยได้ ความรูเ้ กี่ยวกับ วรรณคดีไทย วรรณคดี เปน็ สงิ่ ทแี่ สดง ความเจรญิ ของชาติ เพราะเป็นสิง่ ทแ่ี สดงถึง ความงดงามทางด้าน ภาษา วัฒนธรรม ความเชอ่ื สภาพสงั คม

หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยกำรเรยี นรู้ ผลกำรเรยี นรู้ สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั (ช่ัวโมง) คะแนน อกี ท้ังยังสอดแทรก ๑๐ 25 ความรู้ และข้อคิดไว้ 80 อกี ดว้ ย ดังน้ัน 20 100 จึงเป็นสิ่งจาเป็น ท่ีชาวไทยควรต้องมี ความร้เู กยี่ วกับ วรรณคดีไทย ๖ รายงานนาเสนอ ๒. บอกองคป์ ระกอบ การนาเสนอความรู้ ความรู้ และหลักการวเิ คราะห์ คือ กจิ กรรมท่ผี ้เู รียน วรรณกรรมไทยได้ ได้แสดงความร้ทู ่ไี ด้ ๓. วิเคราะหค์ ุณค่า จากการเรยี นท้ังหมด ทางด้านวรรณศิลป์ ผ่านการวิเคราะห์ ด้านสงั คมวัฒนธรรม สังเคราะห์ และด้านเน้ือหา และประเมินคา่ จากวรรณกรรมไทยได้ พรอ้ มจัดทาช้ินงาน ๔. มีทัศนคตอิ ันดี เพอ่ื นาเสนอความรู้ ตอ่ วรรณกรรมไทย ของตน รวมคะแนนระหว่ำงเรียน/สอบกลำงภำค คะแนนปลำยภำค รวม

แผนการจัดการเรียนรู้ รหสั วชิ า ท๓๐๒๐๗ ช่ือวิชา กำรพนิ จิ วรรณกรรม กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ชัว่ โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ คณุ คำ่ ทำงดำ้ นวรรณศิลป์ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๙ – ๑๓ เรอ่ื ง กำรวิเครำะห์โวหำรภำพพจน์ จานวน ๕ ชว่ั โมง วนั ท่ี ๘ – ๙, ๑๕ – ๑๖ และ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๕ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. ผลกำรเรยี นรู้ ๑.๓ วเิ คราะหค์ ณุ ค่าทางดา้ นวรรณศลิ ป์ ด้านสงั คมวฒั นธรรม และดา้ นเน้อื หาจากวรรณกรรมไทยได้ 2. สำระสำคัญ/ควำมคดิ รวบยอด โวหารภาพพจน์ คือ ส่วนหนึ่งในการวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี หรือวรรณกรรมไทย เป็นการใช้คา ข้อความ หรือสานวน เพ่ือให้ผู้อ่านเกิดภาพในการอ่าน เช่น การใช้ข้อความเปรียบเทียบ การใช้คาเลียนเสียง ธรรมชาติ เปน็ ต้น 3. จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ (KPA) ๓.๑ ดำ้ นควำมรู้ บอก และอธบิ ายหลกั การวเิ คราะห์คุณค่าทางด้านวรรณศลิ ป์ในส่วนของโวหารภาพพจน์ จากวรรณกรรมไทยได้ ๓.๒ ดำ้ นทกั ษะ อา่ นวเิ คราะห์โวหารภาพพจน์จากวรรณกรรมไทย และเขยี นข้อความทมี่ ีโวหารภาพพจน์ได้ ๓.๓ ดำ้ นคุณลักษณะ เห็นคุณค่าของวรรณกรรม และวรรณคดีไทย 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น √ ๔.๑ ความสามารถในการส่ือสาร √ ๔.๔ ความสามรถในการใช้ทักษะชวี ิต √ ๔.๒ ความสามารถในการคดิ √ ๔.๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี √ ๔.๓ ความสามารถในการแก้ปญั หา 5. สมรรถนะของผเู้ รียนตำมหลักสตู รฐำนสมรรถนะ √ ๕.๑ การจดั การตนเอง √ ๕.๔ การรวมพลังทางานเป็นทีม √ ๕.๒ การคิดข้ันสงู ๕.๕ การเปน็ พลเมืองทเี่ ข้มแข็ง √ ๕.๓ การสอื่ สาร ๕.๖ การอยูร่ ่วมกบั ธรรมชาติ และวทิ ยาการอย่างยั่งยืน 6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๖.๕ อยู่อย่างพอเพยี ง ๖.๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ √ ๖.๖ มุ่งมั่นในการทางาน ๖.๒ ซ่อื สตั ย์สจุ รติ √ ๖.๓ มีวินัย ๖.๗ รักความเป็นไทย √ ๖.๔ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๘ มจี ติ สาธารณะ

7. ช้ินงำน/ภำระงำน 7.1 แบบฝกึ หัดที่ ๑ มาวิเคราะห์โวหารกนั เปน็ แบบฝกึ หัดปรนยั ๔ ตวั เลือกจานวน ๑๕ ข้อ ๗.๒ แบบฝึกหัดท่ี ๒ สร้างข้อความด้วยโวหาร ให้นักเรียนเขียนข้อความ โดยข้อความที่นักเรียนเขียน น้ัน ตอ้ งปรากฏการใชโ้ วหารภาพพจนท์ ่ีนกั เรยี นจบั สลากได้ หรือเลอื กมา พร้อมวาดภาพ หรอื หาภาพประกอบ ให้สอดคล้องกับข้อความที่เขียน ท้ังนี้ให้นักเรียนทาลงในแบบฝึก หรือกระดาษเอสี่ ตามความสะดวกของ นักเรยี น 8. กระบวนกำรจัดกำรเรยี นรู้ - ชัว่ โมงท่ี ๑ ๘. กระบวกกำรจัดกำรเรยี นรใู้ นช้ันเรยี น ๘.๑ ขนั้ นำเข้ำสบู่ ทเรยี น - นักเรียนรับแบบฝึก และอ่านข้อความจากแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ พร้อมฟังส่ือเน้ือเพลง “หยาดเพชร” ในข้อความท่ีว่า “เปรียบเธอเพชรงามน้าหนึ่ง หวานปาน น้าผึ้งเดือนห้า หยาดเพชรเกล็ดแก้วแววฟ้า ร่วงมาจากฟ้าหรือไร” แล้วร่วมกันสนทนาว่า จากเน้ือเพลงนี้ ผู้ร้องกล่าวถึงใคร และผู้ร้องใช้วิธกี ารใดในการกลา่ ว จากน้ันร่วมกันอภปิ รายสรุป โดยครูสรุปว่า ผู้ร้องกล่าวถึงหญิงสาวท่ีตนรัก โดยใช้การเปรียบเทียบว่า เธองดงาม และมีค่าเหมือนเพชรน้าหนึ่ง อ่อนหวานเหมือนน้าผ้ึงเดือนห้าท่ีมีคุณภาพดีท่ีสุด ซ่ึงการกล่าว ข้อความเชน่ น้ีเปน็ การกล่าวโดยใชโ้ วหารภาพพจน์ เพอ่ื เช่อื มโยงเขา้ สเู่ น้ือหา (๕ นาที) ๘.๒ ขั้นกำรจดั กำรเรียนรู้ - นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนในแบบฝึกท่ีเป็นข้อสอบปรนัย ๔ ตัวเลือกจานวน ๑๐ ข้อ (๑๐ นาท)ี - นักเรียน และครูร่วมกันสนทนาว่า จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และการอ่านเนื้อเพลง หยาดเพชรเม่ือสักครู่ การใช้โวหารภาพพจน์น่าจะหมายถึงส่ิงใด จากนั้นร่วมกันอภิปรายสรุป แล้วครูอธิบายเพ่มิ เติมในเนื้อหาสว่ นที่ยังไมส่ มบูรณ์ถึงความหมาย และโวหารภาพพจน์แตล่ ะชนิด (๕ นาที) - นักเรียนอ่านข้อความในแบบฝึก หรือส่ือ พร้อมฟังส่ือเนื้อเพลง “บุพเพสันนิวาส” ในข้อความ ที่ว่า“รักเหมือนโคถึกท่ีคึกพิโรธ ความรักเช่นน้ันให้โทษ จะไปโกรธโทษรักไม่ได้” แล้วร่วมกัน สนทนาว่า จากเน้ือเพลงน้ี ผู้ร้องกล่าวถึงความรักว่าเป็นอย่างไร และใช้วิธีใดในการกล่าว จากนั้นร่วมกันอภิปรายสรุป โดยครูสรุปว่า ผู้ร้องกล่าวถึงความรักเหมือนกับวัวท่ีกาลังคึก และโกรธ เป็นความรักท่ีให้โทษ โดยใช้การเปรียบเทียบ ซ่ึงเป็นการใช้โวหารภาพพจน์ อุปมา จากน้ันนักเรียนอ่านข้อมูลความรู้ เร่ืองอุปมาจากแบบฝึก หรือส่ือ แล้วร่วมกันอภิปรายสรุป พรอ้ มฟงั ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ และร่วมกันยกตัวอย่างประกอบ (๕ นาท)ี - นักเรียนอา่ นข้อความในแบบฝึก หรอื ส่อื พรอ้ มฟังส่ือเน้ือเพลง “กสิกรแขง็ ขนั ” ในข้อความที่ว่า “กสิกรแข็งขันเป็นกระดูกสันหลังของชาติ ไทยจะเรืองอานาจเพราะไทยเป็นชาติกสิกรรม” แลว้ รว่ มกนั สนทนาวา่ จากเนื้อเพลงน้ี ผู้รอ้ งใหก้ สิกร หรือเกษตรกรเปน็ สิ่งใด และเกษตรกรจริง ๆ รูปร่าง หน้าตาเช่นนั้นหรือไม่ จากนั้นร่วมกันอภิปรายสรุป โดยครูสรุปว่า ผู้ร้องให้กสิกร หรือเกษตรกรเป็นกระดูกสันหลังของชาติ แต่เกษตรกรไม่ได้มีรูปร่าง หน้าตาเป็นกระดูกสันหลัง ของชาติจริง ๆ เป็นการเปรียบให้เป็น ซึ่งเป็นการใช้โวหารภาพพจน์ อุปลักษณ์ จากน้ันนักเรียน อา่ นข้อมูลความรู้ในแบบฝึก หรือสอ่ื เร่ืองอุปลักษณ์ แลว้ ร่วมกนั อภิปรายสรปุ พรอ้ มฟังครอู ธิบาย เพมิ่ เติม และร่วมกนั ยกตัวอยา่ งประกอบ (๕ นาท)ี

- นักเรียนอ่านข้อความในแบบฝึก หรือสื่อ พร้อมฟังส่ือเน้ือเพลง “ใจเธอใจฉัน” ในข้อความท่ีว่า “อาทิตย์จะส้ินแสง โลกแลง้ แหง้ ปานใด ไมอ่ าจเปลีย่ นใจฉันนนั้ ตอ่ ใหด้ นิ ฟา้ พังทลาย โลกสลายฉัน นี้ไม่หวั่น ไม่มีวัน ฉันจะผันแปรผิดใจ” แล้วร่วมกันสนทนาว่า จากเนื้อเพลงนี้ ผู้ร้องกล่าวถึงส่ิงใด และมีความเป็นไปได้หรือไม่ ในข้อความน้ี จากนั้นร่วมกันอภิปรายสรุป โดยครูสรุปว่า ผู้ร้อง กล่าวถึงความรักท่ีเขาทั้งสองมีต่อกัน ไม่ว่าอย่างไรก็ไม่มีวันเปล่ียนแปลง เป็นข้อความท่ีไม่ทาง เป็นไปได้ โดยกล่าวมากกว่าความเป็นจริง เพราะโลกแตกก็ไม่มีชีวิตอยู่รักกัน ซึ่งเป็นการใช้ โวหารภาพพจน์ อติพจน์ จากนั้นนักเรียนอ่านข้อมูลความรู้ในแบบฝึก หรือส่ือ เรื่องอติพจน์ แล้วรว่ มกนั อภปิ รายสรปุ พรอ้ มฟงั ครอู ธบิ ายเพม่ิ เติม และร่วมกนั ยกตัวอยา่ งประกอบ (๕ นาที) - นักเรียนอ่านข้อความในแบบฝึก หรือสื่อ พร้อมฟังส่ือเน้ือเพลง “เสี้ยววินาที” ในข้อความที่ว่า “พริบตาเดียวโอกาสแค่พริบตาเดียว มันเปลี่ยนชวี ติ เราได้ ขอเพยี งแค่นน้ั ” แล้วรว่ มกันสนทนาว่า จากเนื้อเพลงผู้ร้องกล่าวถึงส่ิงใด และมีความเป็นไปได้หรือไม่ ในข้อความนี้ จากนั้นร่วมกัน อภิปรายสรุป โดยครูสรุปว่า ผู้ร้องกล่าวถึงโอกาสที่มากับช่วงเวลาส้ัน ๆ โดยใช้คาว่าพริบตาเดยี ว ท้ังนี้มันเป็นไปไม่ได้พริบตาเดียว เป็นการกล่าวท่ีน้อยกว่าความเป็นจริง ซึ่งเป็นการใช้ โวหารภาพพจน์ อวพจน์ จากน้ันนักเรียนอ่านข้อมูลความรู้ในแบบฝึก หรือส่ือ เร่ืองอวพจน์ แลว้ ร่วมกันอภิปรายสรุป พร้อมฟงั ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ และรว่ มกันยกตัวอยา่ งประกอบ (๕ นาท)ี - นกั เรยี นอา่ นข้อความในแบบฝึก หรอื สอื่ พรอ้ มฟงั ส่ือเน้ือเพลง “ด้วยรักและปลาทู” ในข้อความ ที่ว่า“ร้องเหมียว เหมียว เด๋ียวเดียวก็มา เข้ามา เข้ามาคลอกับเธอ เหมียว เหมียว เหมียว หง่าว เหมียว เหมยี ว เหมยี ว หงา่ ว แปลตรง ๆ วา่ ฉนั ตอ้ งการเธอ” แล้วรว่ มกันสนทนาว่า จากเนื้อเพลง มีการใช้เสียงของสัตว์ชนิดใดปรากฏอยู่ เป็นเสียงที่เกิดตามธรรมชาติหรือไม่ จากนั้นร่วมกัน อภิปรายสรุป โดยครูสรุปว่า เพลงนี้มีการใช้เสียงของแมวที่ร้องเหมียว และหง่าว เป็นเสียง ท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นการใช้โวหารภาพพจน์ สัทพจน์ จากนั้นนักเรียนอ่านข้อมูล ความรู้ในแบบฝึก หรือสื่อ เรื่องสัทพจน์ แล้วร่วมกันอภิปรายสรุป พร้อมฟังครูอธิบายเพ่ิมเติม และรว่ มกันยกตวั อย่างประกอบ (๕ นาท)ี ๘.๓ ข้ันอธบิ ำยและลงข้อสรปุ - นักเรียนและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม โดยนักเรียนบอกความรู้ที่ได้จากการเรียนในคาบเรียนน้ี และความรขู้ องนักเรียนวา่ รสู้ กึ เช่นไรกับกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีไดท้ าไป (๕ นาที)

- ชวั่ โมงท่ี ๒ ๘. กระบวกกำรจัดกำรเรยี นรู้ในชั้นเรียน ๘.๑ ขนั้ นำเข้ำสบู่ ทเรียน - นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ทบทวนเนื้อหาที่ได้เรียนไปในคาบเรียนท่ีแล้ว จากน้ันร่วมกัน อภิปรายสรปุ เพอื่ เช่ือมโยงเขา้ สู่เนื้อหา (๕ นาที) ๘.๒ ข้นั กำรจดั กำรเรยี นรู้ - นักเรียนอ่านข้อความในแบบฝึก หรือส่ือ พร้อมฟังส่ือเนื้อเพลง “ไม้ขีดไฟกับดอกทานตะวัน” ในข้อความท่ีว่า “เจ้าไม้ขีดไฟก้านน้อยเดียวดาย แอบรักดอกทานตะวัน แรกแย้มยามบาน อวดแสงตะวันช่างงดงามเกินจะเอ่ย” แล้วร่วมกันสนทนาว่า จากเน้ือเพลงน้ี ตัวละคร และการกระทาใดบ้าง ตัวละครน้ันใช่มนุษย์ หรือไม่ และการกระทาของตัวละครน้ันเป็นไปได้ หรือไม่ในความจริง จากนั้นร่วมกันอภิปรายสรุป โดยครูสรุปว่า เพลงนี้มีตัวละครสองตัว คือ ไม้ขีดไฟกับดอกทานตะวัน ไม้ขีดไฟน้ันแอบรักดอกทานตะวัน ตัวละครนั้นไม่ใช่มนุษย์ และการกระทานั้นก็ไม่มีวนั เป็นจริงได้ เพราะไม้ขีดไฟไม่สามารถทากริยาแอบรักได้ ซึ่งเป็นการใช้ โวหารภาพพจน์ บุคคลวัต จากน้ันนักเรียนอ่านข้อมูลความรู้ในแบบฝึก หรือสื่อ เร่ืองบุคคลวัต แล้วร่วมกันอภปิ รายสรปุ พร้อมฟงั ครูอธบิ ายเพ่มิ เตมิ และร่วมกันยกตัวอย่างประกอบ (๕ นาที) - นักเรียนอ่านข้อความในแบบฝึก หรือสื่อ พร้อมฟังส่ือเน้ือเพลง “นกขม้ิน” ในข้อความท่ีว่า “หนาวพระพายท่ีพัดเชยอกเอ๋ยหนาวสั่น สุดบ่ันทอน” แล้วร่วมกันสนทนาว่า จากเน้ือเพลงนี้ พระพาย คือส่ิงใด เดิมทีคือส่ิงใด หมายถึงมนุษย์หรือไม่ จากนั้นร่วมกันอภิปรายสรุป โดยครู สรุปว่า เพลงนี้ พระพายนั้นเดิมทีคือ ลม ซึ่งไม่ใช่มนุษย์ เป็นการสร้างตั วตนให้กับ ลม ให้กลายเป็นส่ิงท่ีใกล้เคียงกับมนุษย์ และแสดงอาการเช่นเดียวกับมนุษย์ เป็นการใช้ โวหารภาพพจน์ บุคลาธิษฐาน จากนั้นนักเรียนอ่านข้อมูลความรู้ในแบบฝึก หรือสื่อ เรื่องบุคลาธิษฐาน แล้วร่วมกันอภิปรายสรุป พร้อมฟังครูอธิบายเพิ่มเติม และร่วมกันยกตัวอย่าง ประกอบ (๕ นาที) - นักเรียนอ่านข้อความในแบบฝึก หรือส่ือ พร้อมฟังส่ือเนื้อเพลง “กุหลาบแดง” ในข้อความที่ว่า “โอ้กหุ ลาบแดงเปน็ ส่ือแหง่ ความรักเรา กลน่ิ สียวนเยา้ เร้าใจใหร้ ักรญั จวน” แล้วร่วมกันสนทนาว่า จากเน้ือเพลงน้ี มีการกล่าวถึงส่ิงใด แล้วสิ่งนั้นใช้แทนส่ิงใด จากน้ันร่วมกันอภิปรายสรุป โดยครูสรปุ ว่า เพลงน้ีมกี ารกล่าวถงึ ดอกกหุ ลาบ โดยใช้แทนความรกั ทัง้ น้ดี อกกหุ ลาบเปน็ สื่อแทน ความรักท่ีรู้กันโดยสากล ซึ่งเป็นการใช้โวหารภาพพจน์ สัญลักษณ์ จากนั้นนักเรียนอ่านข้อมูล ความรู้ในแบบฝึก หรือส่ือ เรื่องสัญลักษณ์ แล้วร่วมกันอภิปรายสรุป พร้อมฟังครูอธิบายเพ่ิมเติม และรว่ มกันยกตวั อย่างประกอบ (๕ นาท)ี - นักเรียนอ่านข้อความในแบบฝึก หรือสื่อ พร้อมฟังส่ือเนื้อเพลง “ไอหนุ่มผมยาว” ในข้อความ ที่ว่า“เพียงเจอไอหนุ่มผมยาว น้องสาวก็ลืมพี่หมดสิ้น รักเราจะไม่ถวิล ไปหลงลมลิ้นเจ้าศิลปิน ผมยาว” แลว้ ร่วมกันสนทนาว่า จากเนือ้ เพลงนี้ มีการกล่าวถึงใครเป็นบุคคลที่สาม และได้บอกชื่อ หรอื รปู รา่ งทัง้ หมดหรือไม่ และหากเป็นตวั ละครในเพลงจะทราบหรือไม่วา่ เป็นใคร จากน้ันร่วมกัน อภิปรายสรุป โดยครูสรุปว่า เพลงน้ีมีการกล่าวถึงไอหนุ่มผมยาวเป็นบุคคลท่ีสาม ไม่ได้มีการบอกช่ือ หรือรูปร่างท้ังหมด บอกแต่เพียงว่า เป็นหนุ่มผมยาว ถ้าหากเป็นตัวละคร ในเพลง ก็สามารถทราบได้ว่าเป็นคนไหน ซึ่งเป็นการใช้โวหารภาพพจน์ นามนัย จากนั้นนักเรียน อ่านข้อมูลความรู้ในแบบฝึก หรือสื่อ เร่ืองนามนัย แล้วร่วมกันอภิปรายสรุป พร้อมฟังครูอธิบาย เพม่ิ เติม และร่วมกนั ยกตวั อย่างประกอบ (๕ นาท)ี

- นักเรียนอ่านข้อความในแบบฝึก หรือสื่อ พร้อมฟังสื่อเนื้อเพลง “รัก” ในข้อความที่ว่า “เหมือนฝนตกตอนหน้าแล้ง เหมือนเห็นสายรุ้งข้ึนกลางแจ้ง เหมือนลมหนาวเดือนเมษา” แล้วร่วมกันสนทนาว่า จากเนื้อเพลงน้ี ในแต่ละข้อความมีความคล้อยตามกัน หรือขัดแย้งกัน อย่างไร จากน้ันรว่ มกันอภิปรายสรปุ โดยครสู รปุ วา่ เพลงนีม้ ขี อ้ ความท่ขี ดั แย้งกัน เชน่ ฝนตกตอน หน้าแล้ง รุ้งขึ้นกลางแจ้ง ลมหนาวเดือนเมษา เพ่ือขยายความให้ชัดเจนขึ้น ซึ่งเป็นการใช้ โวหารภาพพจน์ ปฏิพากย์ จากนั้นนักเรียนอ่านข้อมูลความรู้ในแบบฝึก หรือสื่อ เร่ืองปฏิพากย์ แล้วรว่ มกันอภิปรายสรปุ พร้อมฟังครอู ธบิ ายเพิม่ เติม และรว่ มกันยกตัวอยา่ งประกอบ (๕ นาที) - นักเรียนอา่ นขอ้ ความในแบบฝึก หรือสอื่ พร้อมฟงั สือ่ เนอ้ื เพลง “ไกลแคไ่ หนคอื ใกล้” ในข้อความ ท่ีว่า“อีกไกลแค่ไหน จนกว่าฉันจะใกล้ บอกที อีกไกลแค่ไหนจนกว่าเธอจะรักฉัน เสียที มีทางใด ที่อาจทาให้เธอสนใจ ได้โปรด บอกกับฉันให้รู้ที ว่าสุดท้ายแล้วฉันยังมีความหมาย” แล้วร่วมกัน สนทนาว่าจากเพลงน้ี ผู้ร้องกล่าวด้วยความร้สู ึกอย่างไร และเขาได้คาตอบหรือไม่ จากน้ันร่วมกัน อภิปรายสรุป โดยครูสรุปว่า เพลงนี้มีการกล่าวข้อความท่ีเป็นคาถาม ซึ่งสิ่งที่ผู้ร้องถามออกไปน้ัน ผู้ร้องทราบคาตอบดีอยู่แล้ว และไม่มีผู้ใดตอบ เป็นการถามคาถามเชิงวาทศิลป์ ซึ่งเป็นการใช้ โวหารภาพพจน์ ปฏิปุจฉา จากนั้นนักเรียนอ่านข้อมูลความรู้ในแบบฝึก หรือส่ือ เรื่องปฏิปุจฉา แล้วร่วมกนั อภปิ รายสรปุ พรอ้ มฟังครูอธบิ ายเพ่ิมเติม และร่วมกนั ยกตวั อย่างประกอบ (๕ นาที) - นักเรียนและครูทากิจกรรมถามตอบ โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน จากนั้นให้ฟัง Key words ของโวหารภาพพจน์ท่ีครูบอก หากสามารถตอบได้ให้นักเรียนรีบยกมือตอบว่า เป็นโวหารชนิดใด ถ้านักเรียนตอบถูกจะได้ ๑ คะแนน กลุ่มใดได้คะแนนมากท่ีสุดเป็นผู้ชนะ (๕ นาท)ี ๘.๓ ขัน้ อธิบำยและลงข้อสรปุ - นักเรียนและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม โดยนักเรียนบอกความรู้ท่ีได้จากการเรียนในคาบเรียนนี้ และความร้ขู องนกั เรียนวา่ รสู้ กึ เช่นไรกับกจิ กรรมการเรยี นการสอนที่ได้ทาไป (๕ นาที)

- ช่วั โมงท่ี ๓ ๘. กระบวกกำรจัดกำรเรียนรใู้ นชั้นเรียน ๘.๑ ขน้ั นำเข้ำสู่บทเรยี น - นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ทบทวนเน้ือหาท่ีได้เรียนไปในคาบเรียนท่ีแล้ว จากน้ันร่วมกัน อภปิ รายสรปุ เพ่อื เชอ่ื มโยงเข้าสู่เน้ือหา (๕ นาที) ๘.๒ ขน้ั กำรจัดกำรเรยี นรู้ - นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ ๑ มาวิเคราะห์โวหารกัน โดยให้นักเรียนอ่านข้อความ และฟังเพลง ในแบบฝึก หรือสื่อ จากนั้นให้เลือกคาตอบที่ถูกท่ีสุดว่า ข้อความที่อ่าน หรือเพลงท่ีฟังไปน้ัน มีการใช้โวหารภาพพจน์ชนิดใด ข้อคาถามมีทั้งหมด ๑๕ ข้อ แต่ละข้อมี ๔ ตัวเลือก ให้นักเรียน ทาข้อละ ๒ – ๓ นาที แล้วร่วมกันอภิปรายว่า เหตุใดจึงเลือกคาตอบเช่นนั้น จากนั้นครูเฉลย พรอ้ มอธิบายเพ่ิมเติม (๓๐ นาท)ี - นักเรียนรับภาระงานในแบบฝึก หรือส่ือ แบบฝึกหัดท่ี ๒ สร้างข้อความด้วยโวหาร โดยให้นักเรียนจับสลากโวหารภาพพจน์จากท่ีนักเรียนได้ศึกษาศึกษาไป คนละ ๒ โวหาร จากน้ันให้นักเรียนเขียนข้อความ ซ่ึงข้อความท่ีนักเรียนเขียนน้ัน ต้องปรากฏการใช้ โวหารภาพพจน์ที่นักเรียนจับสลากได้พร้อมวาดภาพ หรือหาภาพประกอบให้สอดคล้อง กบั ข้อความท่เี ขียน ให้นกั เรยี นทาลงในในแบบฝกึ หรอื กระดาษเอสี่ ตามความสะดวกของนักเรียน พร้อมนาเสนอในคาบเรยี นถดั ไป (๑๐ นาท)ี ๘.๓ ขั้นอธิบำยและลงข้อสรุป - นักเรียนและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม โดยนักเรียนบอกความรู้ที่ได้จากการเรียนในคาบเรียนน้ี และความรู้ของนกั เรียนวา่ รสู้ กึ เช่นไรกบั กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีได้ทาไป (๕ นาท)ี - ชวั่ โมงท่ี ๔ ๘. กระบวกกำรจัดกำรเรียนรู้ในช้นั เรยี น ๘.๑ ขนั้ นำเข้ำสบู่ ทเรียน - นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สนทนา ทบทวนเนอื้ หา และกจิ กรรมทไ่ี ดท้ าไปในคาบเรียนทแี่ ลว้ จากนัน้ รว่ มกนั อภิปรายสรุป เพือ่ เช่ือมโยงเขา้ สู่เนอื้ หา (๕ นาที) ๘.๒ ขนั้ กำรจัดกำรเรียนรู้ - นักเรียนเตรียมความพร้อมก่อนนาเสนอชิ้นงาน ปรับปรุง ตกแต่ง แก้ไขช้ินงานให้สมบูรณ์ กอ่ นที่จะนาเสนอ (๕ นาที) - นักเรียนร่วมกันออกแบบกติกาในการนาเสนอชิ้นงาน แล้วร่วมกันอภิปรายสรุปว่า จะนาเสนอ ช้ินงานแบบใด โดยครูเป็นผู้ควบคุมกิจกรรมดังกล่าว ให้นักเรียนทุกคนได้นาเสนอชิ้นงาน ของตนเอง อาจใหน้ าเสนอเป็นรายกลมุ่ หรือรายบุคคลก็ได้ (๓๐ นาที) - นักเรียน และครูร่วมกันลงคะแนนเสียงชิ้นงานท่ีดีท่ีสุดท่ีได้นาเสนอไปในวันนี้ พร้อมให้เหตุผล ประกอบวา่ ชน้ิ งานนนั้ ดที ีส่ ดุ เพราะอะไร และหากตอ้ งเพ่ิมเตมิ ควรเพ่ิมเติมสิ่งใด (๕ นาท)ี ๘.๓ ขน้ั อธิบำยและลงข้อสรปุ - นักเรียนและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม โดยนักเรียนบอกความรู้ท่ีได้จากการเรียนในคาบเรียนน้ี และความรขู้ องนกั เรยี นวา่ รู้สึกเชน่ ไรกบั กจิ กรรมการเรยี นการสอนที่ได้ทาไป (๕ นาที)

- ชัว่ โมงท่ี ๕ ๘. กระบวกกำรจดั กำรเรียนร้ใู นชน้ั เรียน ๘.๑ ขนั้ นำเขำ้ สบู่ ทเรยี น - นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สนทนา ทบทวนเนอื้ หา และกิจกรรมทไี่ ดท้ าไปในคาบเรยี นที่แล้ว จากน้นั รว่ มกันอภปิ รายสรปุ เพือ่ เช่ือมโยงเข้าสเู่ นื้อหา (๕ นาท)ี ๘.๒ ข้นั กำรจัดกำรเรียนรู้ - นักเรียนปรบั ปรงุ ชน้ิ งานแบบฝกึ หดั ที่ ๒ สรา้ งข้อความดว้ ยโวหาร ก่อนนามาสง่ ครู (๑๐ นาที) - นักเรียนและครูร่วมกันพูดคุยถึงกิจกรรมการเรียนการสอนในเร่ืองโวหารภาพพจน์ที่ได้ทาไป ท้ังหมดว่า นักเรียนได้รับความรู้อะไรบ้าง แล้วมีความรู้สึกอย่างไรบ้างกับกิจกรรมเหล่าน้ัน และหากนักเรียนสามรถปรับเปลี่ยนช้ินงานของนักเรียน นักเรียนอยากปรับเป็นอย่างไร เพราะเหตใุ ด จากนนั้ ร่วมกันอภปิ รายสรปุ (๑๕ นาที) - นักเรียน และครูร่วมกันสนทนาว่า นักเรียนคิดว่า นักเรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้เก่ียวกับเร่ือง โวหารภาพพจน์ไปใช้ต่อยอดในการทาสิ่งใดได้บ้าง เพราะเหตุใด จากน้ันร่วมกันอภิปรายสรุป ถงึ คุณค่าของโวหารภาพพจน์ (๕ นาที) - นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนในแบบฝึก หรือส่ือที่เป็นข้อสอบปรนัย ๔ ตัวเลือกจานวน ๑๐ ขอ้ (๑๐ นาท)ี ๘.๓ ข้ันอธิบำยและลงข้อสรุป - นักเรียนและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม โดยนักเรียนบอกความรู้ท่ีได้จากการเรียนในคาบเรียนน้ี และความรขู้ องนักเรยี นว่ารู้สึกเชน่ ไรกับกจิ กรรมการเรียนการสอนที่ไดท้ าไป (๕ นาท)ี ๙ .สื่อและแหล่งกำรเรยี นรู้ ๙.๑ สอ่ื 1. สื่อ “โวหารภาพพจน์สาเร็จรูป” ๒. แบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะหโ์ วหารภาพพจน์ ๙.๒ แหล่งเรยี นรู้ ๑. เวบ็ ไซต์ สาราณกุ รมออนไลน์

๑๐. กำรวัดผลและประเมินผล กำรประเมนิ วิธีกำรวดั เคร่ืองมือท่ีใช้ เกณฑ์กำรประเมนิ ดำ้ นควำมรู้ - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี ๑ - เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ ๑ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ นกั เรียนบอกและอธบิ าย มาวเิ คราะห์โวหารกัน มาวเิ คราะห์โวหารกัน หลกั การวิเคราะหค์ ุณคา่ - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี ๒ - เกณฑ์การให้คะแนน ด้านวรรณศิลป์ สรา้ งขอ้ ความด้วยโวหาร แบบฝกึ หดั ที่ ๒ จากวรรณกรรมไทยได้ สร้างขอ้ ความด้วยโวหาร ดำ้ นทักษะ - ตรวจแบบฝกึ หดั ที่ ๑ - เฉลยแบบฝกึ หัดที่ ๑ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ นักเรยี นอ่านวิเคราะห์ มาวิเคราะห์โวหารกนั มาวิเคราะหโ์ วหารกนั โวหารภาพพจน์ - ตรวจแบบฝกึ หัดท่ี ๒ - เกณฑ์การให้คะแนน จากวรรณกรรมไทย สร้างขอ้ ความดว้ ยโวหาร แบบฝกึ หดั ท่ี ๒ และเขยี นขอ้ ความ สรา้ งข้อความดว้ ยโวหาร ทมี่ โี วหารภาพพจน์ได้ ดำ้ นคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม การประเมนิ พฤตกิ รรมรายบุคคล นกั เรยี นเหน็ คณุ คา่ ของ รายบคุ คล รายบุคคล ผ่านตัง้ แต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผำ่ น วรรณกรรมและวรรณคดี ผา่ น ๑ รายการถือว่า ไมผ่ ำ่ น ด้ำนสมรรถนะ - ตรวจแบบฝกึ หดั ท่ี ๑ - เฉลยแบบฝึกหดั ท่ี ๑ - ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๗๐ ๑. การจัดการตนเอง มาวเิ คราะห์โวหารกัน มาวเิ คราะห์โวหารกนั - การประเมินพฤติกรรมรายบคุ คล ๒. การคิดขัน้ สูง - ตรวจแบบฝกึ หดั ท่ี ๒ - เกณฑ์การใหค้ ะแนน ผา่ นตงั้ แต่ ๒ รายการ ถอื วา่ ผำ่ น ๓. การส่ือสาร สรา้ งข้อความด้วยโวหาร แบบฝกึ หัดที่ ๒ ผา่ น ๑ รายการถอื วา่ ไม่ผ่ำน ๔. การรวมพลังทางาน สร้างข้อความดว้ ยโวหาร เปน็ ทีม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม รายบคุ คล - สังเกตพฤติกรรม รายบุคคล ลงชอ่ื .........................................ครูผสู้ อน (นายสญั ญา อาภาสโชทวี) ตาแหนง่ ครูวทิ ยฐานะครชู านาญการ

ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ำร ………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ............................................................ผตู้ รวจแผน (นายอาทติ ย พัฒนปฐม) รองผู้อานวยการฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นมัธยมวดั สุทธาราม ลงช่ือ............................................................ผู้รบั รองแผน (นางอรสา พุม่ สวสั ดิ์) ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาโรงเรียนมธั ยมวดั สุทธาราม

เน้อื หำโวหำรภำพพจน์ ส่อื แบบฝกึ หดั และเฉลยแบบฝึกหดั สำมำรถสแกนผ่ำน QR CODE

เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบฝึกหัดท่ี ๒ สรำ้ งข้อควำมดว้ ยโวหำร คะแนนเตม็ ๑๕ คะแนน เกณฑ/์ คะแนน ๕ ๔๓ ๒ ๑ การใช้โวหาร ใช้โวหาร ใชโ้ วหาร ใชโ้ วหาร - ใช้โวหารภาพพจน์ ภาพพจน์ ภาพพจน์ครบท้ัง ภาพพจนค์ รบ ภาพพจน์เพยี ง ครบท้งั ๒ โวหาร สมรรถนะ ๒ โวหาร ทงั้ ๒ โวหาร ๑ โวหาร แต่ใชผ้ ิดท้งั หมด ๑. การคดิ ข้ันสงู และใช้ได้ถูกต้อง แตใ่ ชผ้ ิด ๑ และใชไ้ ด้ หรอื เขยี นข้อความ ๒. การส่ือสาร โวหาร ถกู ต้อง ท่ีไม่มโี วหาร ภาพพจนม์ า การใช้ภาษา ใชภ้ าษาได้ ใชภ้ าษาได้ ใชภ้ าษาได้ ใช้ภาษาได้ ใช้ภาษาได้ค่อนข้าง สมรรถนะ ถูกต้อง ถูกต้อง คอ่ นข้างดี คอ่ นข้างดี ดี และสะกดคาผดิ ๑. การสื่อสาร สละสลวย สละสลวย และสะกดคาผดิ และสะกด ตง้ั แต่ ๖ คาขน้ึ ไป และสะกดคาได้ แต่สะกดคาผดิ ไมเ่ กิน ๒ คา คาผดิ ตั้งแต่ ถกู ต้องทุกคา ไม่เกิน ๒ คา ๓ คา แตไ่ ม่เกิน ๕ คา ความสอดคล้อง ภาพประกอบ ภาพประกอบ ภาพประกอบ ภาพประกอบ ไม่มภี าพประกอบ ของภาพ สอดคลอ้ ง สอดคลอ้ งกับ ค่อนข้าง ไม่สอดคลอ้ ง และข้อความ กบั ข้อความอย่าง ขอ้ ความ สอดคล้อง กับข้อความ สมรรถนะ ชัดเจน สวยงาม แต่ยังไม่ชดั เจน กับข้อความ แตส่ วยงาม ๑. การคิดขนั้ สูง และสรา้ งสรรค์ หรอื ไมส่ วยงาม แตไ่ ม่ชดั เจน สรา้ งสรรค์ ๒. การสื่อสาร หรือไมส่ รา้ งสรรค์ ไม่สวยงาม และไม่ สร้างสรรค์

คะแนนกำรทำแบบฝึกหดั ที่ ๑ และ ๒ ของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๖/๑ คนท่ี แบบฝึกหดั ที่ ๑ (๑๕) แบบฝึกหัดท่ี ๒ (๑๕) คะแนนรวม (๓๐) ๑ 13 14 27 ๒ 12 14 26 ๓ 11 13 24 ๔ 14 15 29 ๕ 14 15 29 ๖ 13 13 26 ๗ 14 14 28 ๘ 13 13 26 ๙ 12 13 25 ๑๐ 14 15 29 ๑๑ 14 15 29 ๑๒ 14 15 29 ๑๓ 13 13 26 ๑๔ 15 15 30 ๑๕ 15 15 30 ๑๖ 14 15 29 ๑๗ 13 14 27 ๑๘ 15 15 30 ๑๙ 15 15 30 ๒๐ 14 14 28 ๒๑ 14 15 29 ๒๒ 14 14 28 ๒๓ 15 15 30 ๒๔ 15 15 30 ๒๕ 13 15 28 ๒๖ 15 14 29 ๒๗ 13 14 27 ���̅��� ๑๓.๗๔ ๑๔.๓๓ ๒๘.๐๗

คะแนนกำรทำแบบทดสอบก่อน - หลังกำรเรียนโดยใชแ้ บบฝึกของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษำปที ่ี ๖/๑ คนท่ี คะแนนก่อนใช้แบบฝึก (๑๐) คะแนนหลงั ใช้แบบฝึก (๑๐) ๑๔ ๖ ๒6 ๑๐ ๓๓ ๗ ๔๖ ๙ ๕๖ ๙ ๖๕ ๘ ๗๕ ๗ ๘๔ ๘ ๙๕ ๙ ๑๐ ๔ ๖ ๑๑ ๖ ๗ ๑๒ ๕ ๗ ๑๓ ๕ ๗ ๑๔ ๗ ๑๐ ๑๕ ๕ ๙ ๑๖ ๔ ๗ ๑๗ ๕ ๖ ๑๘ ๖ ๙ ๑๙ ๘ ๑๐ ๒๐ ๗ ๙ ๒๑ ๖ ๘ ๒๒ ๗ ๘ ๒๓ ๗ ๙ ๒๔ ๖ ๙ ๒๕ ๔ ๖ ๒๖ ๘ ๙ ๒๗ ๔ ๗ ���̅��� ๕.๔๘ ๘.๐๐ S.D. ๔.๑๓ ๕.๐๑ รอ้ ยละ ๕๔.๙๓ ๘๐.๗๔

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คลนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษำป่ีท่ี ๖/๑ หวั ข้อในกำรประเมิน เลขท่ี ชื่อ – นำมสกลุ มวี นิ ยั มุง่ ม่ัน ใฝเ่ รียนรู้ ในกำรทำงำน 1 นาย ไชยพศ รุจอมรชยั ผ่ำน ไมผ่ ่ำน ผำ่ น ไมผ่ ำ่ น ผ่ำน ไม่ผำ่ น 2 นาย ธะใน สุนารตั น์ √ √ √ 3 นาย ปรวิ ัฒน์ ชัยนอ้ ย √ √ √ ๔ นาย ภาคิน อภมิ หามงคล √ √ √ ๕ นาย ศิวพร สุรปญั ญาวุฒิ √ √ √ ๖ นาย พนธกร สมวงษ์ √ √ √ ๗ นาย รชั พล แพง่ กลอ่ ม √ √ √ ๘ นาย สมชาย โพธสิ าร √ √ √ ๙ นาย สุกฤษฎ์ิ เกตทุ องเรอื ง √ √ √ ๑๐ นาย ชัยณรงค์ ชัยมาลาการ √ √ √ ๑๑ นาย ชยพล แผนนรินทร์ √ √ √ ๑๒ นางสาว กัญญารตั น์ ทองดวง √ √ √ ๑๓ นางสาว พีรยา จันมณี √ √ √ ๑๔ นางสาว มลฑาทิพย์ จันทร์อ่อน √ √ √ ๑๕ นางสาว เมขลา แตม้ ชายสงค์ √ √ √ ๑๖ นางสาว วรินยุพา สระทอง √ √ √ ๑๗ นางสาว วรี วรรณ บญุ หนา √ √ √ ๑๘ นางสาว จินตนา นวลมะ √ √ √ ๑๙ นางสาว ณฐั ธิตา อินทร์ทอง √ √ √ ๒๐ นางสาว ทาริกา สทุ ธธิ างกูร √ √ √ ๒๑ นางสาว เบญจพร พทิ ักษา √ √ √ ๒๒ นางสาว วไิ ลวรรณ บวกสันเทยี ะ √ √ √ ๒๓ นางสาว อรวรา หงษ์สุวรรณ √ √ √ ๒๔ นางสาว ปวันรัตน์ อารยี จ์ ติ สกลุ √ √ √ ๒๕ นางสาว อัญชเิ ณศ ทรงพโิ รจน์ √ √ √ ๒๖ นางสาว พุธิตา เพกิ ทิม √ √ √ ๒๗ นางสาว ปิยะธิดา มะลิวลั ย์ √ √ √ √ √ √

เกณฑก์ ำรประเมนิ กำรสังเกตพฤตกิ รรมรำยบุคคล หวั ข้อ ผ่ำน ไม่ผำ่ น มวี นิ ัย ทาตามข้อตกลงในการอย่รู ว่ มกนั ไม่สามารถทาตามข้อตกลง มงุ่ ม่ันในกำรทำงำน ในหอ้ งเรยี นออนไลน์ได้เปน็ อย่างดี ในการอยูร่ ว่ มกนั ในห้องเรียน ใฝ่เรยี นรู้ หรือทาตามข้อตกลงในการรบั – หรือห้องเรยี นออนไลน์ได้ หรือไม่ ส่งงานทต่ี นได้รับมอบหมาย สามารถทาตามข้อตกลง ในการเรยี นรทู้ บี่ า้ นไดเ้ ปน็ อย่างดี ในการรบั – ส่งงานท่ตี น ได้รับมอบหมายในการเรียนรู้ ทีบ่ า้ นได้ มคี วามต้ังใจในการทางาน ช้ินงานขาดความเป็นระเบยี บ ส่งชนิ้ งานไดต้ รงเวลา ไม่สง่ ชน้ิ งาน หรอื ส่งไม่ตรงเวลา และทาช้ินงานอยา่ งสดุ ความสามารถ มคี วามสนใจในเนื้อหาเป็นอย่างดี ไมใ่ ห้ความร่วมมือในการเรียนรู้ ใหค้ วามร่วมมือในการทากจิ กรรม ใด ๆ ในทุกกรณี ต่าง ๆ เป็นอย่างดี ตอบคาถาม อยา่ งสมา่ เสมอ

ช่ัวโมงท.ี่ ....๑.... บันทกึ หลังสอน ผลกำรสอน ปัญหำ วิธีแกไ้ ข ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหำร ลงช่ือ...............................................ครูผู้สอน (นายสญั ญา อาภาสโชคทวี) ครู วิทยฐานะครูชานาญการ ลงชอ่ื ........................................................ ลงชือ่ ........................................................ (นายอาทิตย พฒั นปฐม) (นางอรสา พุม่ สวัสดิ์) รองผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรยี นมัธยมวดั สทุ ธาราม ผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนมธั ยมวัดสุทธาราม

ช่ัวโมงท.ี่ ....๒.... บันทกึ หลังสอน ผลกำรสอน ปัญหำ วิธีแกไ้ ข ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหำร ลงช่ือ...............................................ครูผู้สอน (นายสัญญา อาภาสโชคทวี) ครู วิทยฐานะครูชานาญการ ลงชอ่ื ........................................................ ลงชื่อ........................................................ (นายอาทิตย พฒั นปฐม) (นางอรสา พุม่ สวัสดิ์) รองผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรยี นมัธยมวดั สทุ ธาราม ผู้อานวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนมธั ยมวัดสุทธาราม

ชั่วโมงท่ี.....๓.... บันทกึ หลังสอน ผลกำรสอน ปัญหำ วิธีแกไ้ ข ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหำร ลงช่ือ...............................................ครผู สู้ อน (นายสญั ญา อาภาสโชคทวี) ครู วิทยฐานะครูชานาญการ ลงชอ่ื ........................................................ ลงชือ่ ........................................................ (นายอาทิตย พฒั นปฐม) (นางอรสา พมุ่ สวสั ด์ิ) รองผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรยี นมัธยมวดั สุทธาราม ผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนมธั ยมวัดสทุ ธาราม

ชวั่ โมงที.่ ....๔.... บนั ทึกหลังสอน ผลกำรสอน ปัญหำ วิธีแกไ้ ข ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหำร ลงช่ือ...............................................ครผู ้สู อน (นายสญั ญา อาภาสโชคทวี) ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการ ลงชอ่ื ........................................................ ลงช่อื ........................................................ (นายอาทิตย พฒั นปฐม) (นางอรสา พมุ่ สวสั ดิ์) รองผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรยี นมัธยมวดั สทุ ธาราม ผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรยี นมธั ยมวดั สทุ ธาราม

ชัว่ โมงที.่ ....๕.... บันทึกหลังสอน ผลกำรสอน ปญั หำ วธิ ีแกไ้ ข ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ำร ลงชอ่ื ...............................................ครผู สู้ อน (นายสัญญา อาภาสโชคทวี) ครู วิทยฐานะครูชานาญการ ลงช่ือ........................................................ ลงช่อื ........................................................ (นายอาทิตย พฒั นปฐม) (นางอรสา พมุ่ สวัสด์ิ) รองผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนมธั ยมวดั สทุ ธาราม ผู้อานวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนมัธยมวดั สทุ ธาราม