Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1-รพ.สมุทรปราการ 2566

Description: 1-รพ.สมุทรปราการ 2566

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ที่ตน้ แบบดเี ดน่ แห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบา้ นและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

คำนำ เอกสารประกอบการประกวดพ้ืนท่ีต้นแบบแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทยท์ างเลือกสาหรับหน่วยบริการ จงั หวดั สมุทรปราการ ประจาปี 2566 จดั ทาขน้ึ โดยกลุ่มงาน การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมุทรปราการ ในเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วย หมวดบริหาร หมวดบรกิ าร และหมวดวชิ าการ ซึ่งเปน็ การดาเนนิ งานในโรงพยาบาลสมทุ รปราการ โดยใช้ ข้อความ ประโยคที่กระชับสั้นได้ใจความ และประกอบด้วยรูปภาพที่แสดงถึงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ คณะกรรมการฯได้เข้าใจได้ชดั เจนยิ่งขึน้ เอกสารฉบับนี้สาเร็จลงได้ด้วยความร่วมมือของคณะผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องทุกส่วน จึง ขอขอบคุณผูม้ สี ่วนร่วมทกุ ทา่ น ไว้ ณ ท่ีนี้ กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ 10 พฤศจกิ ายน 2565 เอกสารประกอบการประกวดพ้ืนที่ตน้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบา้ นและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

สำรบัญ หน้ำ เรื่อง 4 6 โรงพยำบำลสมทุ รปรำกำร 6 หมวดดำ้ นบริหำร 11 19 สิง่ แวดล้อมภูมทิ ศั น์ การนาองคก์ รและการจัดทาแผนปฏบิ ัติการ 21 ระบบขอ้ มลู สารสนเทศและการวเิ คราะหต์ น้ ทุนการจดั บริการดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย 23 การแพทย์พนื้ บ้าน และการแพทย์ทางเลอื ก 24 บคุ ลากร 24 การมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย 29 หมวดด้ำนบรกิ ำร 31 การจัดบริการ 32 มาตรฐานบริการ 32 ผลลพั ทข์ องการจดั บริการ 48 หมวดด้ำนวิชำกำร นวัตกรรม/งานวิจยั และการนาไปใชป้ ระโยชน์ การจดั การความรู้ เอกสารประกอบการประกวดพืน้ ท่ีตน้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พื้นบา้ นและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวัด สมุทรปราการ ปี 2566

4 โรงพยำบำลสมทุ รปรำกำร ควำมเปน็ มำของโรงพยำบำลสมทุ รปรำกำร เดิมเป็นสถานีอนามัยช้ัน1 (สุขศาลาเย่ียมเกษสุวรรณ) มีนายแพทย์เทศบาลประจาในสังกัดเทศบาล เมืองสมุทรปราการ เนื้อท่ี 4 ไร่เศษ มีอาคารเก่า 2หลัง ตึก 2 ชั้น 1หลัง ชั้นล่างใช้ตรวจคนไข้ ชั้นบนเป็นที่ ทาการเทศบาล ส่วนตกึ คนไขช้ ้นั เดยี ว ใชเ้ ปน็ ที่พกั ผปู้ ่วยใน มีเตียงรบั คนไข้ 25 เตียง พ.ศ.2493 เทศบาลเมืองสมุทรปราการได้โอนกิจการโรงพยาบาลสมุทรปราการให้กับกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และไดเ้ ปลยี่ นช่ือป็นโรงพยาบาลสมุทรปราการ พ.ศ.2503 ผวู้ ่าราชการจังหวัดสมทุ รปราการมีความเห็นว่าที่ต้ังโรงพยาบาลเดิมเป็นที่เช่า มีเน้ือท่ีคับ แคบ ไมส่ ามารถขยายปลูกสรา้ งอาคารเพม่ิ เตมิ ให้เพียงพอกบั จานวนผู้ป่วยท่ีเพ่ิมข้ึน เพราะตั้งอยู่ในพื้นที่ชุมชน แออัดมีถนนล้อมรอบ 3 ด้าน จึงได้จัดหาท่ีเพื่อก่อสร้างโรงพยาบาลใหม่จาการบริจาค และการจัดซื้อ ที่ตาบล ทา้ ยบา้ น ไดม้ ีการจดั สร้าง ตกึ คนไข้2 ช้นั หลัง , ตึกสูติกรรม 2 ชั้น 1 หลัง,โรงครัว 1 หลัง,โรงซักฟอก 1หลัง, ทพี่ ักศพ 1 หลัง เอกสารประกอบการประกวดพ้ืนท่ีต้นแบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จังหวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

5 พ.ศ.2506 สาหรับพืน้ ที่ผู้ป่วยนอกจากการบริจาคของ เรือโทโกศล กันตระบุตรในระยะเวลา 3 ปี ท่ี ได้ทาการก่อสร้างอาคาร โรงพยาบาลได้มีอาคารที่สาคัญต่างๆเพิ่มข้ึนได้แก่ ตึกอานวยการ,ตึกคนไข้ 2 ช้ัน,ตึก สตู ิกรรม 2 ช้นั ,ตึกผ่าตดั เอกซเรย์ และตกึ ภิกษอุ าพาธและอาคารพกั เจ้าหนา้ ท่ี พ.ศ.2508 จากความร่วมมือของประชาชน บริษัท ห้างร้าน พ่อค้าและข้าราชการ ซึ่งเห็น ความสาคัญของสถานที่ให้การรักษาพยาบาลของประชาชนจึงบริจาคทรัพย์สินสร้างอาคารให้กับโรงพยาบาล และส่วนราชการไดจ้ ัดสรรเงินงบประมาณให้อีกส่วนหน่ึง โรงพยาบาลสมุทรปราการจึงได้เปิดบริการอย่างเป็น ทางการเมอื่ วนั ท่ี 27 กนั ยายน 2508 เปน็ ตน้ มา ปัจจุบัน โรงพยาบาลสมุทรปราการสมุทรปราการเป็นโรงพยาบาลทั่วไป จานวนเตียง 385 เตียง ต้ังอยู่เลขท่ี 71 ถนนจักกะพาก ตาบลปากน้า อาเภอเมืองจังหวัดสมุทรปราการ มีเนื้อที่ 23 ไร่ 75 ตารางวา ปี2551 ได้รับบริจาคเนื้อที่อีก 5 ไร่ 2งาน 80 ตารางวา รวมเป็น 28 ไร่ 2งาน155ตารางวาโรงพยาบาล สมุทรปราการ ไดร้ บั การสนับสนุนด้านงบประมาณในการกอ่ สร้างอาคารครุภัณฑแ์ ละอัตรากาลัง เจ้าหน้าที่ อีก ทั้งได้รับการจัดสรรแพทย์ผู้ชานาญการเฉพาะด้านต่างๆตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ทาให้เพ่ิมขีด ความสามารถดา้ นตา่ งๆอยา่ งมคี ุณภาพยงิ่ ข้ึน วิสัยทัศนโ์ รงพยำบำลสมทุ รปรำกำร “โรงพยาบาลตติยภมู ชิ ้ันนาของกระทรวงสาธารณสขุ ทีม่ ภี มู สิ ถาปัตย์เอ้ือต่อสุขภาพ” พนั ธกจิ โรงพยำบำลสมทุ รปรำกำร 1. ให้บรกิ ารสขุ ภาพท่ีได้มาตรฐานตามบริบทของพ้ืนท่ี 2. สนบั สนุนภาคีเครอื ข่ายในการดูแลส่งเสรมิ สขุ ภาพของประชาชน 3. สร้างความผูกพันธ์ของบุคลาการ และส่งเสริมวัฒนธรรมความปลอดภัยและการบริการ อย่างรอบดา้ น 4. เพ่มิ ประสิทธภิ าพเทคโนโลยีเพ่อื การบริหารจดั การ 5. เป็นแหล่งเรียนรู้ทางดา้ นการดูแลและรักษาสุขภาพ ค่ำนยิ มโรงพยำบำลสมุทรปรำกำร ทางานด้วยใจ (Service mind) ปลอดภยั บริการ (Safety Goal) ประสานเปน็ ทีม (Super team) เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ท่ตี ้นแบบดีเด่นแห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบา้ นและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

6 หมวดด้ำนบริหำร 1.1 สิง่ แวดลอ้ มภมู ทิ ัศน์ โรงพยาบาลสมุทรปราการ มีการจัดภูมิทัศน์ ให้สอดคล้องกับโรงพยาบาล GREEN AND CLEAN ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข โดยการจัดส่ิงแวดล้อมให้เป็นสถานท่ีน่าอยู่ น่าทางานท่ีเอ้ือต่อการ สง่ เสริมสุขภาพของบุคลากรและผมู้ ารบั บริการ มสี ถำนที่ให้บริกำรดำ้ นกำรแพทยแ์ ผนไทย และกำรแพทยท์ ำงเลือก สะอำด สวยงำมเป็น ระเบยี บเหมำะสมกับกำรให้บรกิ ำร เอกสารประกอบการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบา้ นและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวดั สมุทรปราการ ปี 2566

7 อำคำรสนันสนุนบรกิ ำร ชั้น 6 สวนสมนุ ไพร เอกสารประกอบการประกวดพื้นท่ีต้นแบบดเี ดน่ แห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบ้านและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวดั สมุทรปราการ ปี 2566

8 บริกำรนวดฝำ่ เท้ำบริเวณลำนดำ้ นหลงั อำคำรสนับสนุนบรกิ ำร ชั้น 6 บรกิ ำรส่งเสริมสุขภำพที่ OPD 1.1.1 จัดให้มีมุมควำมรู้ด้ำนกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทย์พื้นบ้ำน และกำรแพทย์ทำงเลือกครบ ทั้ง 6 เร่ือง ได้แก่ ควำมรู้เกี่ยวกับธำตุเจ้ำเรือน กำรใช้ยำสมุนไพรไทยในกำรรักษำ ท่ำกำยบริหำร นวัตกรรม งำนวิจัย และผลงำนเด่นที่เกี่ยวกับกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทย์พื้นบ้ำน และกำรแพทย์ ทำงเลือก โดยจัดทำในรูปแบบปฏิทินรวบรวมองค์ควำมรู้วำงไว้บริเวณท่ีผู้รับบริกำรสำมำรถมองเห็นได้ ง่ำย เอกสารประกอบการประกวดพื้นทีต่ น้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ื้นบา้ นและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวัด สมทุ รปราการ ปี 2566

9 1.1.2 มีกำรประชำสัมพันธ์เก่ียวกับขั้นตอนกำรให้บริกำรและบริกำรกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทยพ์ น้ื บำ้ น และกำรแพทย์ทำงเลือกทั้งภำยในและนอกหนว่ ยบริกำร มีบริกำรดงั นี้ แพทย์แผนไทย : รักษาด้วยยาสมุนไพร นวดบาบดั รกั ษา นวดตัว นวดฝา่ เทา้ ประคบสมนุ ไพร อบสมนุ ไพร มารดาหลังคลอด และคลินิกกัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทย แพทยแ์ ผนจีน : ฝังเข็ม รมยา และครอบแก้ว และกระตุ้นไฟฟ้า เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ท่ตี น้ แบบดีเดน่ แห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จังหวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

10 ประฃำสัมพนั ธบ์ ริกำรผ่ำน Page Facebook หนว่ ยงำน ประฃำสัมพันธบ์ รกิ ำรผำ่ น WEBSITE ของโรงพยำบำล จดุ ประชำสัมพันธด์ ำ้ นหนำ้ โรงพยำบำล แผ่นพบั ประชำสัมพนั ธ์กำรบรกิ ำร ประชำสมั พนั ธ์บริกำรทศ่ี ูนย์สุขภำพชุมชนเมอื ง โรงพยำบำลสมุทรปรำกำร เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ทต่ี ้นแบบดเี ดน่ แห่งชาติการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบา้ นและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวัด สมทุ รปราการ ปี 2566

11 1.2 กำรนำองค์กร 1.2.1 ผบู้ รหิ ำรหน่วยบริกำรมีกำรแตง่ ต้งั คณะกรรมกำรกำรพัฒนำงำนด้ำนกำรแพทย์แผนไทยและ กำรแพทย์ทำงเลือกระดบั หน่วยงำน คำส่ังแต่งต้ังคณะกรรมกำรฯ รำยงำนกำรประชมุ ภำพกำรประชุม เอกสารประกอบการประกวดพื้นทีต่ น้ แบบดีเดน่ แห่งชาติการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบา้ นและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวดั สมุทรปราการ ปี 2566

12 1.2.2 ผู้บริหำรหน่วยบริกำรมีกำรกำหนดและถ่ำยทอดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่ำนิยม ด้ำนกำรแพทย์ แผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือกของหน่วยงำนให้บุคลำกรในหน่วยงำนรับทรำบและมีกำรกำหนดทิศทำง และเปำ้ หมำยระยะยำว อย่ำงน้อย 5 ปี วสิ ัยทัศน์ สถานบริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกท่ีได้มาตรฐาน เครือข่ายบริการเข้มแข็ง เป็นแหล่ง ศึกษาดูงานและสรา้ งสรรค์งานวิจยั พันธกิจ 1. ให้บริการสขุ ภาพที่ไดม้ าตรฐานตามบริบทของพน้ื ที่ 2. สนบั สนนุ ภาคีเครือขา่ ยในการดแู ลส่งเสริมสขุ ภาพของประชาชน 3. สรา้ งความผกู พนั ของบคุ ลากรและส่งเสริมวัฒนธรรมความปลอดภัย 4. เพม่ิ ประสิทธภิ าพเทคโนโลยเี พื่อการบริหารจัดการ 5. เป็นสถานทีฝ่ กึ อบรมเรียนรู้ของสหวชิ าชีพ คำ่ นิยม ทางานด้วยใจ ปลอดภยั บริการ ประสานเปน็ ทมี ทศิ ทำงและเปำ้ หมำยระยะยำว 1. พฒั นามาตรฐานการบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกสู่การรับรองคุณภาพ 2. สร้างการบริการเชิงรุกและเครือข่ายบริการที่มีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตและสง่ เสริมการเลยี้ งบุตรด้วยนมแม่ในมารดาหลงั คลอด 3. พัฒนางานวิชาการ การจัดการองค์ความรู้ ด้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก เพื่อ นาไปสู่งานวจิ ยั ทมี่ ีคุณภาพ ได้รับการยอมรับ และสามารถนาไปใช้ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อสังคมได้ 4. เป็นแหล่งฝกึ ประสบการณ์การเรียน การสอน ดา้ นแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกท่ีครบวงจร มีเอกสำรเผยแพร่หนงั สือแจ้งเวยี นและป้ำยประชำสมั พนั ธ์ เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ทต่ี น้ แบบดีเดน่ แห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

13 ถำ่ ยทอดวิสัยทัศน์ พันธกจิ และคำ่ นิยม ในท่ีประชุมหนว่ ยงำน 1.2.3 มีกำรนำข้อมูลมำวิเครำะห์ และจัดลำดับควำมสำคัญของปัญหำ เพื่อจัดทำแผนงำน/ โครงกำร/กิจกรรม ในกำรดำเนินงำนแก้ไขปัญหำที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติกำรด้ำนกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทย์พ้ืนบ้ำน และกำรแพทย์ทำงเลือก ระดับหน่วยงำน ตำมข้อส่ังกำร/นโยบำยของจังหวัด กรม และกระทรวง 1.2.4 กำรติดตำมประเมินผล ปรับปรุง แผนงำน/โครงกำร/กจิ กรรมอย่ำงตอ่ เนื่อง และมีกำรจัดทำ รำยงำนสรุปผลกำรดำเนนิ งำนประจำปี ปีท่ผี ่ำนมำ เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ทตี่ ้นแบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้านและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวัด สมทุ รปราการ ปี 2566

14 เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ทตี่ น้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวัด สมุทรปราการ ปี 2566

15 กำรวเิ ครำะห์ผลกำรดำเนินงำนตำมขอ้ สง่ั กำร/นโยบำยจังหวัด กรม กระทรวงปี 2564 และ แผนกำรดำเนนิ งำนตำมขอ้ สั่งกำร/นโยบำยจังหวัด กรม กระทรวงปี 2565 ผลกำรดำเนนิ งำนด้ำนกำรแพทย์แผนไทยตำมขอ้ สงั่ กำร/ แผนกำรดำเนนิ งำนด้ำนกำรแพทยแ์ ผนไทยตำมข้อส่ังกำร/ นโยบำยจงั หวัด กรม กระทรวง ป2ี 564 นโยบำยจังหวัด กรม กระทรวง ปี2565 แผนงำนที6่ : โครงกำรพฒั นำระบบบรกิ ำรกำรแพทย์แผนไทย แผนงำนที่6 : โครงกำรพฒั นำระบบบรกิ ำรกำรแพทย์แผนไทย และกำรแพทยท์ ำงเลอื ก และกำรแพทย์ทำงเลอื ก ตวั ช้วี ดั : รอ้ ยละผู้ป่วยนอกได้รบั บรกิ ารทางการแพทย์แผนไทย ตวั ช้วี ดั : ร้อยละผปู้ ่วยนอกได้รับบรกิ ารทางการแพทยแ์ ผนไทย และการแพทยท์ างเลอื ก และการแพทยท์ างเลอื ก เปา้ หมาย รพ.ศ : รอ้ ยละ 14 ผลลพั ธ์การดาเนนิ การ : รอ้ ยละ 3.95 แผนงำนที่ 9 : อุตสำหกรรมกำรแพทยค์ รบวงจร กำรท่องเท่ยี ว เชิงสขุ ภำพ ควำมงำม และแพทย์แผนไทย - ตัวช้วี ัด : มูลค่าการใช้ยาสมนุ ไพรในเมอื งสมุนไพรและจังหวัดใน เขตสขุ ภาพ เป้าหมาย เพมิ่ ข้ึนรอ้ ยละ 2 แผนงำนที่ 14 : กำรพฒั นำงำนวิจยั และนวัตกรรมดำ้ นสขุ ภำพ แผนงำนท่ี 14 : กำรพฒั นำงำนวิจัยและนวตั กรรมด้ำนสขุ ภำพ ตวั ชี้วัด : จานวนนวตั กรรมหรือเทคโนโลยสี ขุ ภาพท่คี ิดคน้ ใหม่ ตัวชีว้ ดั : จานวนนวตั กรรมหรอื เทคโนโลยีสุขภาพทีค่ ิดคน้ ใหมห่ รอื หรือที่พัฒนาตอ่ ยอด ท่ีพัฒนาตอ่ ยอด แผนงำนที่ 28 : โครงกำรกัญชำทำงกำรแพทย์ แผนงำนท่ี 28 : โครงกำรกญั ชำทำงกำรแพทย์ ตัวชี้วดั : รอ้ ยละโรงพยาบาลสงั กดั สานักงานปลดั กระทรวง ตวั ชวี้ ัด : ร้อยละโรงพยาบาลสังกดั สานักงานปลดั กระทรวง สาธารณสุขท่ีมีการจดั บรกิ ารคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทยแ์ บบ สาธารณสขุ ท่มี ีการจดั บริการคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทยแ์ บบ บูรณาการ บูรณาการ ผลลัพธ์การดาเนนิ การ : มกี ารจดั บริการคลนิ ิกกัญชาทาง การแพทย์แบบบูรณาการ ตวั ชีว้ ดั : รอยละของผปู วยทีม่ กี ารวนิ ิจฉยั ระยะประคับประคอง (Palliative care) ที่ไดรบั การรักษาดวยยากญั ชาทางการแพทย ตวั ชี้วัด : รอยละของผปู วยทัง้ หมดทไ่ี ดรบั การรกั ษาดวยยากัญชา ทางการแพทย กำรจดั ลำดับควำมสำคญั ของปัญหำ 1. จานวนผูร้ ับบริการดา้ นการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื กเม่ือเทียบกบั แผนปจั จุบนั ยงั มีปรมิ าณการ เข้ารับบรกิ ารน้อยเนือ่ งจากเป็นโรงพยาบาลระดับตตยิ ภูมิ และอยูใ่ นสถานการณ์ระบาดของโรคโควดิ 19 จึง ส่งผลต่อตวั ชว้ี ดั ร้อยละผู้ปว่ ยนอกท่ีไดร้ บั บริการทางการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ตามservice plan ยงั ไม่ไดต้ ามเปา้ หมาย 2. มูลคา่ การส่ังจา่ ยยาสมุนไพรมปี ริมาณน้อยลง เน่ืองจากมีการระบาดของโรคโควดิ 19 จึงมกี ารปิดการ ใหบ้ ริการของคลนิ ิกตามคาสัง่ ของศบค. มลู คา่ การใชย้ าสมนุ ไพรป2ี 563 = 1,021,646 เปรยี บเทยี บป2ี 564 = 968,181.75 ลดลงร้อยละ 5.2 3. มกี ารจัดคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ แตผ่ ู้ปว่ ยยังเข้าถึงบริการได้น้อย 4. ยังไม่มีการดาเนนิ งานด้านการวิจัยและนวตั กรรมด้านสขุ ภาพ เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ทีต่ ้นแบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พื้นบา้ นและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวัด สมุทรปราการ ปี 2566

แผนงำน/โครงกำร/กจิ กรรมและกำรติดตำมประเมินผล 16 แผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม เป้ำหม ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 ำย 4.12 4.43 แผนงำนท6่ี ด้ำนบรกิ ำรเปน็ เลิศ 14 % 3.08 3.84 (Service Excellence) -เพิ่มการประชาสัมพนั ธ์ แนวทำงกำรพฒั นำ โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารการแพทยแ์ ผน บริการ ผา่ นทาง -จดั บริการคลนิ กิ ไทยและการแพทยท์ างเลือก websiteโรงพยาบาล การแพทย์แผนไทย ตวั ชวี้ ดั : รอ้ ยละผู้ปว่ ยนอกไดร้ บั บริการทาง -กาหนดผ้รู บั ผิดชอบ ท่ีคลนิ กิ ศนู ย์สุขภาพ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และระยะเวลาในการ ชุมชมเมอื ง สัปดาห์ ผลการดาเนินงานปี 2564 รอ้ ยละ 3.95 ประชาสมั พันธใ์ ห้มาก ละ1ครงั้ แนวทำงกำรแกป้ ญั หำ ขนึ้ (สัปดาห์ละ1 คร้ัง) 1. เพิม่ การประชาสมั พนั ธบ์ ริการทง้ั ในและ นอกรพ.ผา่ นทางแผน่ พบั Page Facebook หนว่ ยงาน และเวบ็ ไซตร์ พ. 2. พัฒนาระบบบรกิ ารคลนิ กิ พเิ ศษ 4 โรค 3. เพม่ิ บริการเชิงรุกในการส่งเสรมิ สุขภาพ ของประชาชนร่วมกบั องคก์ รปกครองสว่ น ท้องถ่ิน สรุปผลกำรดำเนนิ งำน ปงี บประมำณ 2565 - รอ้ ยละผู้ปว่ ยนอกไดร้ ับบรกิ ารทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก = 4.43% แผนกำรดำเนนิ งำนตอ่ ปงี บประมำณ 2566 - ขยายบริการนวดส่งเสรมิ สขุ ภาพ(นวดฝา่ เทา้ )เชิงรุกที่ OPD แผนงำน/โครงกำร/กจิ กรรม เป้ำหม ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 ำย +55.01 +31.4 -5.97 แนวทำงกำรพัฒนำ แผนงานที่ 9 : อุตสาหกรรมการแพทยค์ รบ เพิ่มขึ้น -22.8 -จัดทาบัญชยี าสมนุ ไพร วงจร การท่องเที่ยวเชงิ สุขภาพ ความงาม 2% แนวทำงกำรพฒั นำ พร้อมสรรพคุณไว้ท่ี และแพทย์แผนไทย NCD clinic และศนู ย์ ตวั ชวี้ ดั : มูลคา่ การใชย้ าสมนุ ไพรในเมือง -ประชาสมั พันธเ์ ชงิ รกุ สขุ ภาพชุมชนเมือง สมุนไพรและจังหวัดในเขตสุขภาพ ในการรกั ษาโรคและ ผลการดาเนินงานปี 2564 ลดลงร้อยละ 6.4 อาการในกลมุ่ ผ้ปู ว่ ยโรค แนวทำงกำรแก้ปญั หำ ทวั่ ไป และผูป้ ว่ ยLong 1.ประสานองคก์ รแพทย์เรื่องการขอความ covid รว่ มมือในการใช้ยา First line drug และยา -ประสานแพทยท์ ่อี อก ทดแทนยาน้าแก้ไอมะขามป้อม และยาอม ตรวจ NCD clinic และ มะแว้ง ศูนยส์ ขุ ภาพชมุ ชนเมือง 2. ใหค้ วามรเู้ จ้าทที่ ศี่ ูนยส์ ขุ ภาพชมุ ชนเมอื ง เร่ืองการใช้ยาสมนุ ไพร ในการใชย้ าสมนุ ไพรในการรกั ษาโรคและ ในการรักษาผปู้ ว่ ย อาการ สรุปผลกำรดำเนนิ งำน ปีงบประมำณ 2565 - มลู คา่ การใชย้ าสมนุ ไพรในจังหวัดในเขตสขุ ภาพเปา้ หมายเพม่ิ ข้นึ ร้อยละ 2 - ผลการดาเนินงานปงี บ 2565 เพม่ิ ขึ้น15.54% แผนกำรดำเนนิ งำนตอ่ ปงี บประมำณ 2566 - จัดทายาปรงุ เฉพาะรายสตู รตารบั ยาพอกข้อและนาเข้าในบัญชียาโรงพยาบาล เอกสารประกอบการประกวดพน้ื ท่ตี น้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบา้ นและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวัด สมุทรปราการ ปี 2566

17 แผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม เป้ำหมำย ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 5% 0 ราย 0 ราย แผนงานที่ 28 : โครงการกัญชาทางการแพทย์ 3 ราย = 0.7% 1 คน = 0.23% ตัวชวี้ ัด : รอยละของผปู วยท่ีมีการวนิ จิ ฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) ทไ่ี ดรับการรกั ษาดวยยากัญชาทางการแพทย เรมิ่ เก็บขอ้ มลู ปีงบประมาณ 2565 ปงี บประมาณ 2565 -ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับการวินจิ และไดร้ บั ยากญั ชา 4 ราย -ผูท้ ไี่ ดร้ ับการวนิ จิ ฉยั ทัง้ หมด 425 ราย แนวทำงกำรพัฒนำ เป้ำหมำย ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 1.ปรับระบบบรกิ ารการเขา้ ถงึ กญั ชาทางการแพทย์เพอ่ื ให้ ผรู้ ับบริการเข้าถงึ ได้ง่ายข้ึน 2.ประชาสมั พนั ธ์คลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์เชงิ รุก ผ่านSocial media เชน่ Facebook ของกลุ่มงาน ของโรงพยาบาล และLine เป็นต้น 3.รว่ มกับทีมสหสาขาวชิ าชพี ในการดูแลผปู้ ่วย Palliative care ในหอผปู้ ่วย แผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม ตวั ชวี้ ดั : รอยละของผปู วยท้งั หมดที่ไดรบั การรกั ษาดวยยากัญชา เพ่มิ ข้ึน 32 ราย 32 ราย 14 ราย 11 ราย ทางการแพทย 5% แผนกำรพฒั นำ 1.ประชาสัมพนั ธ์คลินิกกญั ชาทางการแพทยเ์ ชงิ รกุ ผ่านSocial media เช่น Facebook ของกลุม่ งาน ของโรงพยาบาล และLine เปน็ ต้น 2. ส่งเสรมิ ใหม้ ีการอบรมเพิ่มศกั ยภาพผใู้ ห้บริการคลินกิ กัญชา ทางการแพทย์ 3. ประชุมทีมงานเพือ่ ขับเคลอื่ นนโยบาย และวางแผนดาเนนิ งาน 4. จดั บริการกัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทยและกัญชาทาง การแพทยแ์ บบบรู ณาการท่ี เหมาะสม สรุปผลกำรดำเนนิ งำน ปงี บประมำณ 2565 1. รอยละของผปู วยทม่ี กี ารวนิ ิจฉยั ระยะประคบั ประคอง (Palliative care) ท่ีไดรับการรกั ษาดวยยากญั ชาทางการแพทย์ = 0.94% 2. รอยละของผปู วยทัง้ หมดท่ไี ดรบั การรักษาดวยยากญั ชาทางการแพทย = เพมิ่ ขึน้ 48.21% แผนกำรดำเนนิ งำนตอ่ ปีงบประมำณ 2566 - เขา้ รว่ มเปน็ คณะกรรมการ service planสาขา Palliative care ของโรงพยาบาล เพอ่ื เพ่ิมการเข้าถงึ บริการมากข้นึ - เพม่ิ กลุ่มเป้าหมายในการรบั กญั ชาทางการแพทย์ - ติดตามผปู้ ่วยทเ่ี คยรบั กญั ชาทางการแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั และแผนไทยใหม้ ารบั บริการ - จัดหาแพทย์ผู้รบั ผิดชอบคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์(แพทยผ์ รู้ ับผิดชอบเดมิ เกษยี ณอายรุ าชการ) - บรหิ ารระบบคลังยาใหม้ ีการใชย้ าอย่างตอ่ เนอื่ ง - เพิ่มชนิดของกญั ชาทางแพทย์แผนไทยเพือ่ ใหค้ รอบคลมุ กลมุ่ ผรู้ บั บริการมากข้ึน - ประสานงานกลมุ่ การพยาบาลชมุ ชนร่วมออกเย่ียมบา้ นในผปู้ ่วยกลุ่ม Palliative care - จัดประชมุ คณะกรรมการพฒั นาระบบบริการกัญชาทางการแพทยเ์ พ่อื ขับเคลอ่ื นนโยบายและวางแผนดาเนนิ งานพัฒนารูปแบบบรกิ าร และตดิ ตามการดาเนนิ การทกุ 3 เดอื น - ประชมุ ทมี ในการวางแผนการรักษาก่อนจ่ายยากญั ชาใหก้ บั ผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย * หมำยเหตุ ไตรมาสที่ 3 และ4 ทางกรมการแพทย์แผนไทยฯยุตกิ ารสนับสนนุ ยากัญชาทั้งการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยแ์ ผนปัจจบุ ันทาให้ยาบางรายการหมด ประกอบกบั ยาท่สี นับสนนุ หมดอายุ เอกสารประกอบการประกวดพื้นท่ีตน้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบ้านและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวดั สมุทรปราการ ปี 2566

แผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม เป้ำหม ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 18 ไตรมำส 4 ำย ยาดมสมุนไพร 2 ทงิ เจอร์พญายอ สูตร ทงิ เจอรท์ องพันช่งั น้ามันขงิ ใส่ผม แผนงำนท่ี 14 : กำรพัฒนำงำนวิจัย 1 สเปรย์มะกรดู -นวพฤกษ์ -ไทย-จีน และนวตั กรรมด้ำนสขุ ภำพ เรอื่ ง ตัวชว้ี ดั : จานวนนวัตกรรมหรือ สเปรย์ตะใครห้ อม ตารับยาพอกขอ้ เทคโนโลยสี ขุ ภาพทคี่ ิดค้นใหมห่ รอื ท่ี พัฒนาตอ่ ยอด ผลกำรดำเนนิ งำนปี 2564 จดั ทาผลิตภณั ฑ์ 1 ชนิด ครมี นวดแกป้ วดสูตรสปา แผนกำรพฒั นำ 1.ประชมุ ทมี เพือ่ สรา้ งนวตั กรรม / ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ ตามบรบิ ทของ หนว่ ยงาน และ กลมุ่ ผรู้ บั บริการ 2.ค้นหาและรวบรวมขอ้ มลู นวัตกรรม /ผลิตภณั ฑ์ ทถี่ ูกคดั เลือกในการจดั ทา ทม่ี ีจาหนา่ ยตามทอ้ งตลาด เพอื่ เปรยี บเทยี บขอ้ มูลด้านต่างๆ 3.กาหนดระยะเวลาในการจดั ทา ผลติ ภณั ฑแ์ ตล่ ะชนดิ 4.จดั ทาผลติ ภณั ฑ์และประเมนิ ผล 5.จดั ทาแผน่ พับข้อมลู ผลิตภณั ฑ์และ ประชาสมั พนั ธ์ สรปุ ผลกำรดำเนินงำน ปีงบประมำณ 2565 - จดั ทาผลติ ภณั ฑร์ วมทั้งหมด 8 ผลติ ภณั ฑ์ แผนกำรดำเนนิ งำนตอ่ ปงี บประมำณ 2566 - จัดทาผลติ ภณั ฑ์ท่มี ีส่วนผสมของกญั ชา - จัดทางานวิจัยหรอื นวตั กรรมดา้ นสุขภาพอยา่ งน้อย 1 เร่ือง เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ทต่ี น้ แบบดีเด่นแห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พื้นบา้ นและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวัด สมทุ รปราการ ปี 2566

19 1.3 ระบบข้อมูล สำรสนเทศและกำรวิเครำะห์ต้นทุนกำรจัดบริกำรด้ำนกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทยพ์ น้ื บ้ำนและกำรแพทย์ทำงเลือก 1.3.1 มีกำรติดตำม วิเครำะห์ ประเมินผลข้อมูลกำรบริกำรผ่ำนระบบฐำนข้อมูล HDC และจัดทำ รำยงำนผลกำรดำเนินงำนดำ้ นกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทย์ทำงเลอื ก และกำรแพทยพ์ ื้นบ้ำน มีการประมวลผลข้อมูล สารสนเทศ จากฐานข้อมูล HDC ทุก 1 เดือน เพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนา งานการแพทย์แผนไทยการแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก การบริหารจัดการ และการเผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์และมกี ารสรุปผลการดาเนินงานทกุ ปเี พอ่ื นาเสนอผู้บรหิ ารโรงพยาบาล ฐำนข้อมลู HDC นำขอ้ มูลมำประมวลผลผลกำรดำเนินงำนโรงพยำบำลสมุทรปรำกำร ปี 2563-2565 ร้อยละผู้ป่วยนอกที่รับบริกำรกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือกในปี 2565 ยังไม่บรรลุ เกณฑ์เปำ้ หมำยจงึ ได้วำงแผนกำรพฒั นำงำนตอ่ เนื่อง ดงั นี้ 1.ขยายบรกิ ารเชงิ รกุ 2.เพิ่มช่องทางการประชาสมั พันธ์ 3.ขยายการบรกิ ารแพทยท์ างเลือก 4.เพ่มิ สถานทก่ี ารบรกิ ารแพทย์แผนไทย เอกสารประกอบการประกวดพื้นท่ีต้นแบบดเี ดน่ แห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบา้ นและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวัด สมทุ รปราการ ปี 2566

20 มูลค่ำกำรจ่ำยยำสมุนไพร (เปำ้ หมำยเพิ่มขึน้ 2%) ผลกำรดำเนนิ งำนโรงพยำบำลสมุทรปรำกำรปี 2564= ลดลง6.4%, ปี 2565= เพ่มิ ขน้ึ 15.54% ผ่ำนเกณฑ์เปำ้ หมำยทีก่ ำหนด 1.3.2 มีกำรรวบรวม และวิเครำะห์ข้อมูลด้ำนกำรเงินในกำรจัดบริกำรด้ำนกำรแพทย์ แผนไทย กำรแพทยพ์ นื้ บ้ำนและกำรแพทยท์ ำงเลือก หน่วยงานมีการวเิ คราะห์รายรับรายจา่ ยของหนว่ ยงานทกุ เดอื นแต่ไมไ่ ด้นามาวิเคราะหต์ ้นทุนเนื่องจาก ข้อมูลท่ีต้องมาวิเคราะห์ต้นทุนการบริการต้องใช้ข้อมูลของหน่วยงานอื่นๆในโรงพยาบาล ที่เป็นต้นทุนการ บรกิ ารด้วย สรุปรำยรบั -รำยจ่ำย ปงี บประมำณ 2565 2,500,000.00 รำยรบั รำยจำ่ ย คงเหลือ 2,000,000.00 1,849,865.00 2,205,965.59 -356,100.54 1,500,000.00 1,000,000.00 500,000.00 0.00 -500,000.00 ปงี บ 2565 เอกสารประกอบการประกวดพืน้ ทีต่ ้นแบบดีเดน่ แห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบา้ นและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวัด สมทุ รปราการ ปี 2566

21 1.4 บุคลำกร 1.4.1 ผู้ปฏิบัติงำนด้ำนกำรแพทย์แผนไทยฯได้รับกำรพัฒนำศักยภำพท่ีสอดคล้องกับแผนปฏิบัติ กำร และเพิม่ สมรรถนะในกำรปฏิบตั ิงำน มีกำรสำรวจ วิเครำะห์ วำงแผนและดำเนินกำรพัฒนำบุคลำกรท่ีสอดคล้องกับแผนปฏิบัติกำรโดย กำรจัดทำแบบสำรวจควำมต้องกำรพฒั นำศกั ยภำพรำยบุคคล ส า ร ว จ ค ว าม ต้ อ ง ก า ร อ บ ร ม ร า ย บุ ค ค ล น า มา วิ เ ค ร า ะห์ ร่ ว ม กั บ ส่ ว น ข า ด ข อง ห น่ ว ย ง าน แ ล ะ แ ผ น ยุทธศาสตร์ขององค์กร มากาหนดเป็นแผนพัฒนาบุคลากรประจาปี และนามาจัดทาแผนพัฒนาตนเอง รายบุคคล (Self Development Plan) ตามรายวิชาชีพและกาหนดเป็นแบบประเมินผลงาน (Performance) รายบุคคลท่ีมีตัวช้ีวัดในระดับ Organization KPIs Department KPIs และ Individual KPIs และมีการประเมินผลการอบรมพัฒนาศักยภาพ นามาบันทึกข้อมูลการอบรมในโปรแกรม HR center ของโรงพยาบาล แผนการพฒั นาบคุ ลากร ประจาปงี บประมาณ 2565 กลุ่มงาน การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ลาดบั เรื่องทจ่ี ะพฒั นาสมรรถนะ รายละเอยี ดวธิ กี ารพฒั นา กลุ่มเปา้ หมาย ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู ับผดิ ชอบ ผลการดาเนนิ งาน สมรรถนะ เชน่ สอนงาน, พเ่ี ลี้ยง ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. น.ส.สที อง น.ส.บญุ ตา ก.งานประชมุ อบรมภายในของ น.ส.วจิ ติ รา เจา้ หนา้ ทงี่ านการแพทยแ์ ผนไทย และการแพทย์ทางเลอื ก 1 การบนั ทกึ ขอ้ มูลใน HOSxP ดาเนินการสอนโดยเจา้ หน้าที่ นส.รตั นาภรณ์  - ในหนว่ ยงาน /พเี่ ลีย้ ง 2 การคดั กรองผู้ปว่ ยกลมุ่ เสี่ยง ดาเนนิ การสอนโดยเจ้าหนา้ ท่ี น.ส.สที อง นางองั สนา - ในหนว่ ยงาน น.ส.บญุ ตา  P นางสาวกญั ญาณฐั น.ส.วจิ ติ รา - นางสาวปถั ยา PP น.ส.รตั นาภรณ์ PP นางสาวกญั ญาณฐั - 3 การนวดเพอื่ ปอ้ งกนั อาการบาด ดาเนนิ การสอนโดยเจ้าหน้าที่ นางสาวปถั ยา เจ็บของผ้ใู หแ้ ละผรู้ บั บริการ ในหน่วยงาน ผูช้ ว่ ยแพทย์แผนไทยทกุ คน - - สอนงาน / สาธติ - สอบภาคปฏบิ ตั ิ 4 การนวดพน้ื ฐาน ดาเนินการสอนโดยเจ้าหนา้ ท่ี ในหน่วยงาน ผชู้ ว่ ยแพทยแ์ ผนไทยทกุ คน สอนงาน /สาธติ / สอบภาคปฏิบตั ิ 5 การนวดกดจุดสญั ญาณ ดาเนินการสอนโดยเจ้าหน้าที่ ในหนว่ ยงาน ผชู้ ว่ ยแพทยแ์ ผนไทยทกุ คน สอนงาน /สาธติ / สอบภาคปฏบิ ตั ิ แบบสำรวจควำมตอ้ งกำรอบรมรำยบคุ คล จัดทำแผนพัฒนำศักยภำพบุคคลำกร (เจำ้ หนำ้ ทก่ี ลมุ่ งำนกำรแพทยแ์ ผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือก) มกี ำรประเมนิ ผลกำรอบรมพัฒนำศักยภำพท้งั ภำคทฤษฎีและภำคปฏบิ ตั ิ เอกสารประกอบการประกวดพ้ืนท่ตี ้นแบบดีเดน่ แห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้านและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ ปี 2566

22  กำรพัฒนำศักยภำพบุคลำกร ด้ำนกำรปฐมพยำบำลและกำรปฏิบัติกำรช่วยฟื้นคืนชีพ Cardiopulmonary resuscitation (CPR)  ทบทวนควำมรูแ้ ละสอบปฏิบตั เิ รื่องกำรกดจุดสญั ญำณ  อบรมกำรนวดกระตนุ้ กำรกลนื และดูแลผูป้ ่วยอัมพฤกษ์ อมั พำตระดบั กลำง 1.4.2 มีบุคลำกรด้ำนกำรแพทย์แผนไทยในหน่วยบริกำรเพียงพอต่อกำรให้บริกำรประชำชนใน ชุมชน(1 : 5,000 คน ) จานวนประชากรท่ีอยู่ในความรับผิดชอบทั้งหมด 38,006 คนมีแพทย์แผนไทยจานวน 3 คน อัตราส่วนแพทยแ์ ผนไทย : จานวนประชากร = 1 : 12,669 เอกสารประกอบการประกวดพน้ื ที่ตน้ แบบดเี ดน่ แห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบ้านและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวดั สมุทรปราการ ปี 2566

23 1.5 กำรมีสว่ นร่วมของชมุ ชนและภำคเี ครือขำ่ ย 1.5.1 มเี ครอื ขำ่ ยในกำรร่วมพฒั นำสง่ เสริม และสนับสนุนงำนแพทย์แผนไทย มีการร่วมดาเนินการโดยนาองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกับชุมชนและภาคี เครอื ข่าย มีเครือข่ำยจิตอำสำ ร่วมให้บริกำรด้ำนกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทย์พ้ืนบ้ำน และกำรแพทย์ ทำงเลือกท้งั ในและนอกหนว่ ยบริกำร เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ทต่ี ้นแบบดเี ด่นแห่งชาติการแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบา้ นและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวัด สมทุ รปราการ ปี 2566

24 หมวดดำ้ นบริกำร 2.1 กำรจัดบริกำร 2.1.1 มีกำรจัดบริกำร4ดำ้ น ได้แก่ เวชกรรมไทย ผดุงครรภ์ไทย เภสัชกรรมไทย หัตถเวชกรรมไทย ดำ้ นเวชกรรมไทย มีกำรตรวจวินจิ ฉัย บำบดั รกั ษำ ให้คำแนะเพื่อเป็นกำรสง่ เสริมและฟ้ืนฟสู ขุ ภำพ ดำ้ นเภสัชกรรมไทย มกี ำรปรุงยำเฉพำะรำย มีการปรุงยาผู้ป่วยเฉพาะรายโดยออกใบสั่งยาให้ไปซื้อที่ร้านขายยาสมุนไพรที่ได้มาตรฐานในตลาด ชุมชนใกลโ้ รงพยาบาลและมีการจดั ทายาสมุนไพรพอกเข่า ผงสมนุ ไพรนงั่ ถ่าน ยาดมนวพฤกษ์ เอกสารประกอบการประกวดพ้ืนท่ีตน้ แบบดีเดน่ แห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบา้ นและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวัด สมุทรปราการ ปี 2566

ด้ำนหตั ถเวชกรรมไทย 25 หัตถบำบดั ส่งเสริมสุขภำพ ด้ำนผดุงครรภ์ไทย มี กำรดแู ลมำรดำหลังคลอดครบทั้ง 7 ข้ันตอน เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ท่ตี ้นแบบดีเดน่ แห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบา้ นและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

26 2.1.2 มีกำรจัดบริกำรแบบผสมผสำนระหว่ำงแพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผนไทย และแพทย์ทำงเลือกใน กำรรักษำพยำบำล กำรสง่ เสริมสุขภำพ กำรป้องกันโรค และกำรพื้นฟูสภำพผู้ป่วยและมีระบบส่งต่อผู้ป่วย ระหวำ่ งแพทยแ์ ผนปัจจุบัน แพทย์แผนไทย และแพทยท์ ำงเลอื ก เกณฑ์กำรคัดกรองผู้ปว่ ยในคลนิ ิก ตัวอยำ่ งกำรส่งปรกึ ษำแพทย์แผนไทยจำกแพทย์แผนปัจจบุ นั เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ท่ตี น้ แบบดีเดน่ แห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้านและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

27 มรี ะบบกำรคัดกรองผู้ป่วยท่มี ำรับกำรรกั ษำรว่ มกับวชิ ำชพี อน่ื ขน้ั ตอนกำรคัดกรอง มี 3 ชอ่ งทำง 1. ผู้รับบริการทม่ี าโรงพยาบาลช่องทาง OPD จะมพี ยาบาลคัดกรองที่ OPD คัดกรองตามคู่มือแนว ทางการคัดกรอง การให้บริการแพทย์แผนไทยคู่ขนาน แผนกผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลรัฐ คัดกรองและส่ง ผู้ป่วยมารับบริการทหี่ น่วยงาน 2. ผรู้ บั บรกิ ารทีม่ ารบั บริการโดยตรงท่ีหน่วยงานแพทย์แผนไทย จะมีระบบคัดกรองโดยพยาบาลหรือ ผู้ท่ีได้รับมอบหมายตามคู่มือแนวทางการคัดกรองการให้บริการแพทย์แผนไทยคู่ขนานแผนกผู้ป่วยนอกใน โรงพยาบาลรัฐ 3. ผู้รับบริการที่ถูกส่งต่อมาจากห้องตรวจอื่นๆจะถูกคัดกรองโดยแพทย์แผนปัจจุบันและพยาบาล ประจาห้องตรวจแล้ว เมอ่ื มารบั บรกิ ารที่แพทยแ์ ผนไทยจะถกู คดั กรองตามคู่มืออกี คร้งั 2.1.3 มีกำรใชย้ ำสมนุ ไพรทดแทนยำแผนปจั จุบนั จานวน 2 รายการ รำยกำร ทดแทนยำ ยานา้ แก้ไอมะขามป้อม M Tussis ยาอมมะแว้ง ยาอมแก้ไอ ปี 2566 มแี ผนกำรดำเนนิ กำรใช้ยำสมนุ ไพรทดแทนยำแผนปัจจุบัน จำนวน 1 รำยกำร รำยกำร ทดแทนยำ มะขามแขก Senokot 2.1.4 มีแนวทำงและกำรจัดบริกำรกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือกตำมกลุ่มโรค เพ่ือ ให้บริกำรปอ้ งกนั รกั ษำ สง่ เสรมิ และฟนื้ ฟูสภำพของผมู้ ำรบั บริกำร โรค/อำกำร กำรจดั บรกิ ำร เวลำ แพทยแ์ ผนไทย แพทย์แผนจนี วัน นวด ยำ ฝังเข็ม ครอบ รมยำ สมนุ ไพร แก้ว โรคหลอดเลือดสมอง จนั ทร์ 08.30-16.30 น.   พฤหสั บดี 08.30-16.30 น. โรคขอ้ เขำ่ เสอื่ ม อังคาร ศกุ ร์ 08.30-12.00 น.    โรคภมู ิแพ้ พธุ (เชา้ ) 13.00-16.30 น.   ไมเกรน 08.30-12.00 น. พุธ (บา่ ย)  นอนไม่หลับ Myofascial pain ทุกวนั   syndrome ทุกวนั 08.30-16.30 น.    เอกสารประกอบการประกวดพื้นท่ีต้นแบบดีเด่นแห่งชาติการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

28 2.1.5 มสี ว่ นร่วมกับทีมสหวชิ ำชีพในกำรใหบ้ ริกำรผูป้ ว่ ยในและจดั บรกิ ำรเชงิ รุก มีกำรบริกำรนวดประคบท่ีหอผปู้ ่วยในและนวดประคบเต้ำนมทตี่ กึ หลังคลอด มกี ำรส่งต่อกำรดูแลผู้ป่วยในด้วยโปรแกรม ICHART เอกสารประกอบการประกวดพน้ื ทตี่ ้นแบบดีเดน่ แห่งชาติการแพทย์แผนไทย การแพทย์พ้ืนบา้ นและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จังหวดั สมุทรปราการ ปี 2566

29 2.2 มำตรฐำนบรกิ ำร 2.2.1 ผลกำรประเมินเกณฑ์มำตรฐำน โรงพยำบำลส่งเสริมและสนับสนุนกำรแพทย์แผนไทยและ กำรแพทยผ์ สมผสำน(รพ.สส.พท.) ปี 2565 โรงพยำบำลสมุทรปรำกำรอยูใ่ นระดับดเี ย่ียม 2.2.2 รำยกำรวัตถุดิบสมุนไพรที่นำมำใช้ประกอบกำรปรุงยำเฉพำะรำย และรำยกำรยำสมุนไพร (ยำตำรับ 36 รำยกำร) ท่ีจ่ำยให้สำหรับผู้ป่วยมีคุณภำพ และสำมำรถตรวจสอบแหล่งท่ีมำสถำนที่ผลิตยำ สมุนไพรได้ตัวอย่ำงรำยกำรยำสมุนไพร ดังน้ี รำยกำรยำสมุนไพร รำยกำรยำสมุนไพร 1. ANDROGRAPHIS (ฟา้ ทะลายโจร) CAP 19. สหัศธารา 2. CLINACANTUS CREAM (พญายอ) 20. ธรณสี นั ฑะฆาต 3. CURCUMA LONGA (ขมนิ้ ชัน) CAP 21. อัมฤควาที 4. MAVANG (ยาเมด็ มะแวง้ ) TAB/PACK 22. ยาธาตบุ รรจบ 5. ครีมไพล 23. เพชรสังฆาต 6. ยาแกไ้ อมะขามป้อม 24. จันทน์ลีลา 7. ยาอภัยสาลี 25. ขงิ 8. ยาเขียวหอม 26. ยา 5 ราก 9. ยาหอมอนิ ทจกั ร์ 27. ยารางจดื 10. ปราบชมพทู วปี 28. เถาวัลย์เปรยี ง 11. ยาบารงุ โลหติ 29. ยาหอมเทพจติ ร 12. เบญจกูล 30. ยาชงกระเจ๊ยี บแดง 13. ประสะจันทนแ์ ดง 31. หญา้ ดอกขาว 14. ตรผี ลา 32. ยาประสะไพล 15. ยาธาตุอบเชย 33. ยามะระขีน้ ก 16. CASSIA POWER (ยาชงชุมเหด็ เทศ) 34. ศุขไสยาศน์ เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ทตี่ น้ แบบดเี ดน่ แห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ื้นบา้ นและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ ปี 2566

30 17. ยาหอมนวโกฐ 35. ยาน้ามนั กัญชาท้งั 5 สตู รใช้ภายนอก 18. ยาหอมทิพยโอสถ 36. ยานา้ มนั กญั ชาท้งั 5 สตู รรับประทาน รำยกำรวตั ถุดิบสมุนไพรที่นำมำใช้ประกอบกำรปรงุ ยำเฉพำะรำย ดงั นี้ 1. ตารบั ยาพอกข้อ สมนุ ไพร สรรพคุณ เหง้าไพล แกฟ้ กบวม รักษาอาการเคลด็ ขัดยอก ลดอาการอักเสบ เหงา้ ว่านนา้ แกป้ วดตามขอ้ และกลา้ มเน้ือ ผักเสี้ยนผี แก้ปวดเป็นยาชาเฉพาะท่ี แก้อาการปวดหัวเขา่ 2. ยาดมนวพฤกษ์ สรรพคุณ สมนุ ไพร แกล้ มวงิ เวียน ใจส่นั แก้พิษหวดั ขบั ลมในลาไส้ เปลือกสมุลแวง้ แก้หวดั คดั จมูก แกเ้ สมหะ แก้เสมหะ หวั เปราะหอม แกห้ ดื แก้คล่ืนไส้ อาเจยี น ขับผายลม ดอกกานพลู แกค้ ลืน่ เหียน อาเจียน ขับลม แกล้ มวงิ เวียน บารุงธาตุ ลูกผกั ชลี า บารงุ หวั ใจ ขับผายลม แก้จุกเสียด ผวิ มะกรูด บารงุ กาลงั แก้คลนื่ ไส้ อาเจียน ขบั ผายลม ลกู กระวาน บารุงหัวใจ ชูกาลัง ลดอาการอกั เสบในลาคอ ใบเตย บารุงหวั ใจ แกอ้ ่อนเพลีย ชกู าลงั ดับพิษร้อน ดอกมะลิ บารุงหวั ใจ ขับผายลม บารุงหวั ใจ บารงุ ธาตุ แก้ไขห้ วดั ขับผายลม พิมเสน บรรเทาอาการวงิ เวยี นศีรษะ ปวดศรี ษะ คัดจมกู แกค้ ลน่ื ไส้ อาเจียน การบรู เมนทอล 3. ยานั่งถา่ น สรรพคุณ สมนุ ไพร แกธ้ าตพุ ิการ แกป้ วดท้อง ขบั ผายลม ขับระดู ว่านนา้ กระทุ้งพิษต่างๆ แก้ปวดท้อง สมานแผล ขับผายลม วา่ นนางคา บารุงกาลัง ขับผายลม แก้อ่อนเพลยี แกป้ วดบวม เปลือกชะลูด ขบั ระดู ฟอกโลหิตระดู ขับผายลม แกจ้ ุกเสียด ผิวมะกรดู ขับโลหติ รา้ ย ขับระดู ขบั ผายลม แก้ปวดท้อง ลดอาการอักเสบ ไพล บารุงธาตุ ฟอกเลือด แกต้ กเลือด สมานแผล ขมิ้นชัน เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ทตี่ ้นแบบดเี ดน่ แห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จังหวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

31 2.3 ผลลพั ธ์ของกำรจัดบรกิ ำร 2.3.1 ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริกำรตรวจ วินิจฉัย รักษำโรค และฟื้นฟูสภำพด้วย ศำสตร์กำรแพทยแ์ ผนไทยและกำรแพทยท์ ำงเลอื ก กรำฟแสดง รอ้ ยละของผูป้ ว่ ยนอกทีไ่ ดร้ ับบรกิ ำรกำรแพทยแ์ ผนไทยและกำรแพทยท์ ำงเลอื กที่ไดม้ ำตรฐำน ปงี บประมำณ 2558-2565 โรงพยำบำลสมทุ รปรำกำร ศนู ยส์ ขุ ภำพชุมชนเมอื งโรงพยำบำลสมทุ รปรำกำร และศนู ยส์ ุขภำพชมุ ชนเมอื งปำกนำ้ 2.3.2 ผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริกำรตรวจ วินิจฉัย รักษำโรค และฟื้นฟูสภำพด้วยศำสตร์ กำรแพทยแ์ ผนไทยและกำรแพทยท์ ำงเลอื กของหนว่ ยบรกิ ำรเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 จำกปที ผี่ ่ำนมำ กรำฟแสดง ผู้ปว่ ยท่มี ำรบั บริกำรกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทยท์ ำงเลอื ก เพม่ิ ขึน้ ร้อยละ 10 เปรียบเทียบกับปกี ่อนหนำ้ 1 ปี โรงพยำบำลสมุทรปรำกำร ศนู ยส์ ุขภำพชมุ ชนเมอื งโรงพยำบำลสมทุ รปรำกำร และศูนยส์ ุขภำพชมุ ชนเมืองปำกน้ำ เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ท่ตี น้ แบบดเี ด่นแห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้านและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

32 หมวดวิชำกำร 3.1 นวตั กรรม/งำนวิจยั และกำรนำมำใชป้ ระโยชน์ 3.1.1 มนี วัตกรรมหรอื งำนวิจยั ด้ำนกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทย์พืน้ บ้ำนและกำรแพทย์ทำงเลือก ที่นำมำประยุกตใ์ ช้ในหนว่ ยงำน เพอ่ื แก้ปญั หำสุขภำพของพ้นื ที่และมกี ำรเผยแพร่ เรื่องที่ 1. กำรพฒั นำสูตรยำพอกเขำ่ เพ่อื บรรเทำอำกำรปวดและลดอำกำรอักเสบ หลกั กำรและเหตุผล โรคข้อเข่าเส่ือมเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญ สาเหตุ มาจากความอ้วน การใช้งานหนัก และความ เสื่อมสภาพของกระดูก และข้อตามอายุที่มากขึ้นและ เป็นสาเหตุ หนึ่งที่ทาให้เกิดความทุพพลภาพ และการ เป็นภาวะพง่ึ พิง ในผสู้ งู อายุ พบความชุกชองโรคนใี้ นเพศหญิง มากกว่าเพศชาย 2-3 เท่า องค์การอนามัย โลก คาดการณ์วา่ จะมีผ้ปู ่วยกระดกู และขอ้ จะเพิ่มขึ้น จาก 400 ล้านคน เปน็ 570 ลา้ นคนใน พ.ศ. 2563 ในประเทศไทยมีอุบัติการณ์ของโรคข้อเข่าเสื่อมเพิ่มขึ้น ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับอายุท่ีเพิ่มขึ้น ผสู้ งู อายุต้ังแต่อายุ 75 ปีขน้ึ ไป พบข้อเข่าเสื่อมถึง ร้อยละ 80 ซ่ึงก่อให้เกิดอาการปวดข้อเข่าขณะเคล่ือนไหว ข้อเข่าติดและพิสัยการเคล่ือนไหวข้อลดลงทาให้ส่งผลต่อการประกอบกิจวัตรประจาวัน การทางาน รวมถึง สภาพจิตใจ และคุณภาพชวี ิตของผ้ปู ่วย (เวชศาสตร์ฟ้ืนฟูสาร, 2557) โรงพยาบาลสมุทรปราการ กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในปี 2563 พบว่าผรู้ บั บรกิ ารใน อันดับแรกคือกลุ่มอาการปวดกลา้ มเนอื้ เร้ือรัง(6,111 ครงั้ ) รองลงมาเป็นโรคหัวไหล่ (511 ครง้ั ) และโรคข้อเข่าเสื่อม(436 ครงั้ ) ในปี2564 กลุ่มอาการปวดกล้ามเน้ือเรื้อรัง(3,071 ครั้ง) รองลงมา เปน็ โรคข้อเขา่ เสอื่ ม(284 คร้ัง) จะพบว่าผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม มารับการรักษาใน 3 ลาดับแรกของกลุ่มงานฯ แนวทางการดแู ลรักษาโรคขอ้ เขา่ เสอื่ มด้วยการแพทย์แผนไทย ของกลุ่มงานฯ ได้แก่การนวด และการประคบ สมุนไพร ร่วมการออกกาลังกายด้วยท่าฤาษีดัดตน แต่ศาสตร์การแพทย์แผนไทยยังมีวิธีการช่วยลดการ อักเสบและการปวดของข้อเข่าด้วยการพอกยา จากสมุนไพรชนิดต่างๆ ซึ่งทางกลุ่มงานฯมีความสนใจที่จะ ศึกษาชนิดของสมุนไพรท่ีมีฤทธิ์ลดอาการปวดและอักเสบ เพื่อนามาพัฒนาเป็นสูตรยาพอกเข่าท่ีเหมาะสม สาหรับผู้ป่วยจงึ ได้จัดทานวตั กรรม “การพฒั นาสตู รยาพอกข้อเพอ่ื บรรเทาอาการปวดและอาการอักเสบ” ข้ึน วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ศึกษาขอ้ มูลทั่วไปของสมุนไพรท่มี ีฤทธ์ิลดอาการปวด และลดอาการอกั เสบของขอ้ เข่า 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาพอกเข่าสูตรต่างๆในการลดอาการปวด และลด อาการอักเสบ ประโยชนท์ ี่คำดว่ำจะได้รบั จำกกำรวิจยั 1.สามารถพัฒนาสูตรยาพอกเข่าที่มีคุณสมบัติลดอาการปวดและลดอาการอักเสบได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 2.เป็นขอ้ มูลในการปรับปรุงสูตรยาพอกเขา่ เพ่ือนาไปสู่การวจิ ยั ทางคลนิ ิกต่อไป กำรทบทวนวรรรกรรม ศกึ ษำสรรพคณุ สมนุ ไพรจำกงำนวิจัย คัมภรี ์ 1. ไพล: ช่อื วิทยำศำสตร์ : ZingibercassumunarRoxb. องค์ประกอบทำงเคมี : น้ามันระเหยง่าย มีสารสาคัญที่เป็นองค์ประกอบ ได้แก่ terpinen-4-ol, sabinene, caryophyllene, cineol, alpha-pinene, beta-pinene, myrcene, terpinene, limonene, p-cymene, terpinolene, eugenol, farneraol, alflabene, 3,4dimethoxybenzaldehyde, สารสี เหลือง curcumin, cassumunarins A, B, C และสารกลุ่มฟีนิลบิวทานอยด์ หลายชนิด เช่น (E)-1-(3,4- เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ท่ีต้นแบบดเี ดน่ แห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวดั สมุทรปราการ ปี 2566

33 dimethoxyphenyl) butadiene (DMPBD) ที่มีฤทธิ์ลดการอักเสบ และสารอื่นๆ ได้แก่ 4-(4-hydroxyl-1- butenyl)-veratrole, naphthoquinone derivative, vanillin, vanillic acid, veratric acid, β-sitosterol ฤทธ์ทิ ำงเภสชั วิทยำ  ฤทธ์ติ า้ นการอกั เสบ การทดสอบฤทธ์ิต้านการอักเสบของสารบริสุทธ์ิ 2 ชนิด ที่แยกได้จากเหง้าไพล ได้แก่ สารอัลฟาพินีน (α- pinene) และเทอรป์ นิ ีน (terpinene –4-ol) พบวา่ มฤี ทธติ์ ้านการอกั เสบไดท้ ้ังการให้โดยการป้อน ให้หนูกิน หรือฉีดเข้าช่องท้อง โดยออกฤทธิ์นานกว่ายามาตรฐานอินโดเมธาซิน ส่วนเคอร์คิวมิน (curcumin) พบว่ามีฤทธิ์ต้านการอักเสบโดยออกฤทธ์ิเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (ชลิต และคณะ, 2554) กำรศึกษำทำงคลนิ ิก: การศกึ ษาฤทธล์ิ ดอาการปวดกล้ามเนื้อของไพลในรูปแบบครีมที่มีความเขม้ ขน้ ร้อยละ 7 และ 14 ใน อาสาสมคั รสขุ ภาพดีจานวน 75 คน ทท่ี าการออกกาลงั กายโดยการการยืดกล้ามเน้ือตน้ ขาด้านหนา้ ให้ เหยยี ดยาวออก 25 คร้งั จานวน 4 รอบ โดยใชเ้ คร่อื ง Isokinetic Dynamometer ช่วยกาหนดความเรว็ และแรงต้านทาน ในการทดสอบส่มุ ให้ไพลในรปู แบบครมี ท่มี ีความเข้มขน้ ร้อยละ 7 และ 14 หรือ ยา หลอก ในแตล่ ะกลุ่ม ทาครีมทดสอบทุก 8 ชั่วโมง เป็นเวลานาน 7 วัน ผลการศึกษาพบวา่ ไพลในรูปแบบ ครมี ทม่ี ีความเข้มข้นร้อยละ 14 สามารถลดการปวดกลา้ มเน้อื หลงั การออกกาลงั กายได้ เมอ่ื เปรียบเทยี บ กับการให้ยาหลอก [mean difference (MD) of −82% (95% Confidence Interval, CI: −155%, −6%), p= 0.03] การศึกษาฤทธิ์ลดอาการข้อเท้าเคลด็ โดยการสุ่มให้ไพลในรปู แบบครีมท่ีมคี วามเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 14 หรอื ยาหลอกแก่ผู้ปว่ ยจานวน 21 คน แลว้ ทาการวัดระดับความเจบ็ ปวดทุกวนั จนถงึ วนั ที่ 7 พบวา่ ในวันที่ 5 และ 6 ไพลในรูปแบบครีมท่มี ีความเข้มข้นร้อยละ 14 สามารถลดอาการปวดได้ เมื่อ เปรียบเทยี บกับการให้ยาหลอก (p<0.05) (Chongmelaxme, et al., 2017) 2. ผกั เส้ียนผ(ี ทั้งต้น) ชื่อวทิ ยำศำสตร์ : Cleome viscosa L. สรรพคุณ : ตารายาไทย ทั้งต้น รสขมร้อน ทาให้หนองแห้ง แก้ฝีภายใน แก้โรคไขข้ออักเสบ ทาแก้ โรคผิวหนงั พอกแกป้ วดศรีษะ ตาผสมเกลือทาแก้ปวดหลัง ใช้ท้ัง 5 คุมธาตุ แกล้ ม แกป้ วดท้อง เจริญไฟธาตุ แก้ ท้องร่วง แกฝ้ ใี นตบั ปอด ฝใี นลาไส้ ขับหนองฝี องค์ประกอบทำงเคมี: พบสารกลุ่ม coumarino-lignanท่ีเมล็ด ได้แก่ cleomiscosin D (Kumar, et al., 1988) ฤทธทิ์ ำงเภสชั วิทยำ  ฤทธก์ิ ดภูมคิ ุ้มกันและต้ำนกำรแพ้ สารสกดั ของผกั เส้ยี นผี มีคุณสมบัติกดภูมิคุ้มกัน ซ่ึงสามารถนาไปพัฒนายารักษาภาวะภูมิต้านทานต่อ เนื้อเย่ือตนเอง (autoimmune) หรือใช้กดภูมิคุ้มกันเมื่อมีการปลูกถ่ายอวัยวะได้เป็นต้น (Tiwari, et al., 2004)  ฤทธ์ติ ำ้ นกำรอกั เสบ ศึกษาการเหน่ียวนาสารในกระบวนการอักเสบของสารกลุ่ม coumarinolignoidจานวน 3 ชนิด คือ cleomiscosins A, Bและ C ที่แยกได้จากเมล็ดผักเส้ียนผี ในหนูถีบจักรสายพันธ์ุ swiss albino พบว่าสาร coumarinolignoidสามารถยับยั้งสารเริ่มต้นในขบวนการอักเสบ และเพิ่มการแสดงออกของสารท่ีมีฤทธ์ิต้าน การอักเสบได้ (Bawankule, et al., 2008) เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ทีต่ น้ แบบดีเด่นแห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบ้านและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวัด สมุทรปราการ ปี 2566

34  ฤทธ์แิ ก้ไข้ พบว่าสารสกัดผักเส้ียนผีขนาด 200, 300 และ 400 mg/kg สามารถลดไข้ในหนูได้อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ และมีผลลดไข้ไดเ้ ปน็ เวลา 5 ชัว่ โมง ภายหลังจากการได้รับสารสกัด โดยเปรียบเทียบกับยามาตรฐาน paracetamolในขนาด 150 mg/kg (Devi, et al., 2003) 3. วำ่ นน้ำ (รำกและลำต้นใต้ดิน) ช่อื วทิ ยำศำสตร์ : Acoruscalamus L. สรรพคุณ: กลนิ่ หอม รสเผด็ ร้อนฉุน ขม พอกแกป้ วดตามขอ้ และกล้ามเน้อื แก้ปวดขอ้ ปวดกล้ามเน้อื องคป์ ระกอบทำงเคมี : นา้ มันระเหยงา่ ย 0.5-10% ประกอบดว้ ย β-asarone, cis- methylisoeugenol, asaryl aldehyde, acorone, acoroxide, acorin, calcmene, linalool, calamol, calameone, azulene, pinene, cineole, camphor และสารกลุม่ sesquiterpeneประกอบดว้ ย acoragermacrone, acolamone, isoacolamone ฤทธิท์ ำงเภสชั วทิ ยำ  ฤทธ์ิลดอำกำรปวดเสน้ ประสำท ศึกษาฤทธ์ิลดการเจ็บปวดเส้นประสาท ของสารสกัด 50% เอทานอลของเหง้าว่านน้า ขนาด 100 และ 200 mg/kg เม่ือป้อนให้หนูขาวแต่ละกลุ่มกินเป็นระยะเวลา 14 วัน หนูได้รับ vincristine ขนาด 75 μg/kg ฉีดเข้าทางช่องท้อง เป็นระยะเวลา 10 วัน เพ่ือไปกระตุ้นให้เกิดการเจ็บปวดท่ีเส้นประสาท ผลการ ทดสอบพบว่าในวันที่ 21 สารสกัดว่านน้าสามารถลดฤทธ์ิของ vincristine ท่ีทาให้เกิดการเจ็บปวดท่ี เส้นประสาทได้ คาดว่ากลไกเกิดผ่านการยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชัน ต้านการอักเสบ และลดการสะสมของ แคลเซียม (Muthuraman, et al, 2011) 4. ดองดึง (เหงำ้ ) ช่ือวทิ ยำศำสตร์ : Gloriosasuperba L. สรรพคุณ : ตารายาไทย ใช้ หัว และเมล็ด แก้ปวดตามข้อ แก้โรคเร้ือน แก้คุดทะราด แก้เสมหะ ฝน น้า ทาแก้พิษแมลงสตั วก์ ัดต่อย ให้สัตว์กินเพื่อขับพยาธิ หัว รสร้อนเมา แก้โรคเรื้อน คุดทะราด แก้โรคปวดข้อ (gout) แกก้ ามโรค แก้พิษแมลงสัตวก์ ัดต่อย ขับผายลม มีสารทใ่ี ช้รักษาโรคมะเร็งได้ หัวสด ตาพอกหรือทา แก้ ปวดข้อ แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย ตาผสมทายาประคบแก้ปวดข้อ (gout) แก้ปวดเมื่อยตามกล้ามเน้ือ แก้ข้อ อักเสบฟกบวม หัวแห้ง ปรุงเป็นยารับประทาน รักษาโรคเร้ือน มะเร็งคุดทะราด โรคปวดข้อ แก้กามโรค ขับ ผายลม จะต้องใชใ้ นปริมาณน้อย ถ้าเกินขนาดอาจเกิดพิษได้ ราก รสเมาร้อน แก้ลมจุกเสียด แก้เสมหะ ทาแก้ โรคผิวหนงั แก้ปวดขอ้ ตาพอกหรือทา แกโ้ รคผิวหนงั เร้ือน มะเร็งคุดทะราด แก้ปวดข้อ ต้มด่ืม แก้ลมจุกเสียด แก้เสมหะ ตอ้ งใชป้ ริมาณน้อย และเจอื จางถา้ เข้มขน้ เกินไปอาจเกดิ พิษถึงตายได้ ยาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี : ระบุไว้ว่า รากและเหง้า เป็นยาท่ีอันตรายมาก เหง้าและ เมล็ดมีพิษมาก ใช้รกั ษาโรคมะเร็ง ในการแพทย์แผนปัจจุบัน : ใช้เหง้า สกัดเป็นสารบริสุทธ์ิ ซ่ึงมีแอลคาลอยด์ colchicines ทาเป็นยา เมด็ รกั ษาโรคเกาต์ (ปวดขอ้ ) องค์ประกอบทำงเคมี : แอลคาลอยด์ โคลชิซีน (Colchicine) เป็นสารกลุ่มอัลคาลอยด์มีคุณสมบัติ ละลายได้ดีในแอลกอฮอล์มี ซ่ึงมีฤทธ์ิต้านการอักเสบโดยยับยั้ง cycloxygenase และ lipoxy-genase และ ในทางการแพทยน์ ามาใช้รักษาโรคเกาต์ไขข้ออักเสบ 5. ผกั ครำดหัวแหวน ชื่อวิทยำศำสตร์ : Spilanthesacmella L. Murr. องค์ประกอบทำงเคมี : ดอกและทัง้ ตน้ มีสาร spilanthol มฤี ทธิ์เปน็ ยาชาเฉพาะที่ ฤทธ์ริ ะงับกำรอกั เสบและอำกำรปวดของกลำ้ มเน้ือ งานวจิ ยั ของ Bilab Kumar Das และคณะ ศึกษาการทดสอบฤทธิ์ระงับความเจ็บปวดโดยใช้ ผักคราดหัวแหวนที่สกัดด้วย methanol 80% นาสารสกัดมาให้สัตว์ทดลองรับประทานขนาดยาท่ี เอกสารประกอบการประกวดพื้นทต่ี น้ แบบดีเด่นแห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ ปี 2566

35 250 และ 500 mg/kg body weight แบบ dose-dependent ทาการทดสอบทั้งหมด 3 วิธีคือ hotplate, acetic acid – induced writhing, formalin test ผลการทดสอบโดยวิธี hotplate พบว่าสารสกัดผักคราดหัวแหวนเร่ิมมีแนวโน้มลดอาการปวดได้ตั้งแต่เริ่มใช้ในนาทีท่ี 30 และลดปวด ได้ดีมากในช่วงนาทที ่ี 120-240 แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (p<0.05) และสามารถลดอาการปวดได้ใกล้เคียง Ketorolac และเมื่อทดสอบด้วยวิธี acetic acid induced writhing พบว่าสัตว์ทดลองท่ีได้รับสารสกัดผักคราดสามารถลดอาการปวดได้ดีกว่ากลุ่มควบคุม แตกตา่ งอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p<0.001 รวมท้ังการทดสอบโดยใช้ formalintestพบว่าในท้ังช่วง early phase ในช่วง 0-5 นาทีและ late phase ในช่วง 15-30 นาทีสัตว์ทดลองที่ได้รับสารสกัดผัก คราดสามารถลดปวดได้ดีกว่ากลุ่มควบคุมแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p<0.001 ซึ่งแนวโน้ม ในช่วง late phase (central antinociceptive) ลดปวดได้ดีกว่า early phase (peripheral antinociceptive) เนื่องจากสารสกัดผักคราดหัวแหวน มีสารกลุ่ม alkaloid, flavonoids, saponins, tannins, terpenoids and steroids ซ่งึ จากการศกึ ษาก่อนหน้านี้พบว่าสาร flavonoids และ tannin มีฤทธิ์ลดอาการปวดได้โดยมีกลไกไปลดการสร้างprostaglandin และสาร alkaloids มี กลไกไปยบั ย้ัง pain perception (Barman, et al.,2009) งานวิจัยของ Hossainและคณะทาการทดสอบฤทธิ์ยับย้ังความเจ็บปวดด้วยวิธี acetic induce writhing test โดยให้สัตว์ทดลองรับประทานสารสกัดใบผักคราดหัวแหวนที่สกัดด้วย ethanol 80 % ขนาด 250และ 500 mg/kg พบว่าสารสกัดผักคราดหัวแหวนท้ังสองขนาดสามารถ ลดอาการปวดได้แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.001) เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม นอกจากน้ี พบว่าสารสกัดขนาด 500 mg/kg สามารถลดอาการปวดได้ใกล้เคียงกับ diclofenacเพราะสารสกัด ผักคราดหัวแหวนไปลดอาการปวดได้ในช่วงแรกประมาณ 1-5 นาทีเนื่องจากลดการนาสัญญาณ ประสาทชนิด C- fiber และสามารถลดอาการปวดได้ในช่วงกลางประมาณ10 นาทีจากการไปยับย้ัง cyclocxygenaseและ lipooxygenaseทาให้ลดกระบวนการอักเสบในเนื้อเย่ือ รวมท้ังสามารถลด อาการปวดช่วงปลายประมาณ 20 นาทีข้ึนไปเกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่เนื้อเยื่อและการทางานท่ี dorsal horn ในไขสนั หลงั (Hossain, et al., 2012) ตำรำงที่1 ตำรำงสรุปสรรพคุณตัวยำสมุนไพร สรรพคณุ ลดปวด เป็นตัวยำใน ฤทธทิ์ ำงเภสชั วทิ ยำ นยิ มใช้ ในตำรำยำไทย ตำรับยำแก้ปวด แพร่หลำยหำ ตัวยำสมุนไพร (บญั ชยี ำหลกั แหง่ ชำต)ิ Anti- Anti- รสยำหลกั P oxidant inflammatory ได้ง่ำย เหง้ำไพล P P เผด็ ร้อนฝาด ผักเสย้ี นผี P P P P P เผด็ ร้อนขม เหงำ้ ว่ำนน้ำ P P P เผ็ดร้อนขม ผกั ครำดหวั P P P P แหวน  เหงำ้ ดองดึง P P P P P P เอียนเบ่ือรอ้ นซ่า P P P เผ็ดรอ้ น วธิ ดี ำเนนิ กำร ข้นั ตอนที่ 1 ศึกษาสมนุ ไพรจากเอกสาร ตารา และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ตามการทบทวนวรรณกรรมขา้ งต้น ขั้นตอนท่ี 2 วิธที า เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ท่ีตน้ แบบดีเดน่ แห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ื้นบา้ นและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวัด สมุทรปราการ ปี 2566

36 ข้นั ตอนกำรทำ 1.บดสมุนไพรแห้งทั้ง 5 ชนิดให้ละเอยี ด 2.นาผงสมุนไพรท่ีบดไว้มาผสมแยกตามสูตร1-5ในอัตราส่วนท่ีกาหนด และคลุกเคลาใหเขากัน ขนั้ ตอนกำรพอกเข่ำ 1.นาผงสมุนไพรสูตร1-5 ท่ีเตรียมไว้ มาอย่าง 25 g แล้วผสมEthyl Alcohol 70% ให้พอดีตัวยาไม่ เหลวจนเกนิ ไป 2.พอกยาบริเวณที่มีข้อตอ่ อาการปวด ทิ้งไวประมาณ 20 นาที แลวใช้ผ้าชุบน้าเช็ดออก พอกเขาวันละ 1 ครง้ั ตดิ ตอกัน 10 วัน ขนั้ ตอนท3ี่ ทดลองสูตรยำ และกำรประเมินผล คร้งั ท1ี่ สตู ร ตวั ยำสมุนไพร (อตั รำส่วน) เหง้ำไพล ผกั เส้ียนผี เหง้ำวำ่ นน้ำ ดองดงึ 11 1 1  2 1 1 1 กลุ่มทดลอง : เจ้าหนา้ ที่โรงพยาบาล จานวน 5 ราย ทม่ี อี าการปวดเข่า โดยทุกรายจะได้รบั การพอกเขา่ ทั้ง 2 สูตร ประเมินผล สูตรที่1 อาการขอ้ ขัดดีขนึ้ ผู้ปว่ ยรสู้ ึกเบาบรเิ วณทปี่ วดในวันที1่ 0 หลงั พอก ระดับความเจบ็ ปวดไม่ดีข้นึ สูตรท่ี2 หลงั พอกข้อ มีอาการปวดเพมิ่ ข้ึนและ มอี าการรอ้ นบริเวณข้อท่ีพอกยา ครง้ั ท่ี2 สตู ร ตวั ยำสมนุ ไพร (อตั รำส่วน) เหงำ้ ไพล ผกั เสยี้ นผี เหง้ำวำ่ นน้ำ ผักครำดหวั แหวน 31 1 1 1 กลุม่ ทดลอง : เจ้าหนา้ ที่โรงพยาบาลท่ีมโี รคข้อเขา่ เส่ือม 3 ราย ประเมินผล สูตรท่3ี อาการข้อขัดดีข้ึน ผู้ปว่ ยร้สู ึกเบาบรเิ วณทปี่ วดในวนั ท1่ี 0 หลงั พอก ระดบั ความเจ็บปวดไม่ดีขน้ึ มีผวิ หนงั บรเิ วณทพ่ี อกจะหลดุ ลอก เอกสารประกอบการประกวดพืน้ ท่ตี น้ แบบดเี ดน่ แห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวดั สมุทรปราการ ปี 2566

37 ครงั้ ที่3 สตู ร ตวั ยำสมุนไพร (อตั รำสว่ น) เหง้ำไพล ผักเสี้ยนผี เหงำ้ วำ่ นนำ้ 42 1 1 กลุ่มทดลอง : ผู้ป่วยข้อเข่ำเสื่อมจำนวน 3 รำย ประเมนิ ผล สตู รที4่ อาการข้อขดั ดีข้นึ ผ้ปู ่วยรสู้ ึกเบาบรเิ วณทีป่ วดในวันท่1ี 0 หลังพอก ระดับความเจ็บปวดไม่ดขี ึน้ ไมแ่ ตกตา่ งจากสูตรที่ 1 ครั้งที4่ สูตร ตวั ยำสมนุ ไพร (อตั รำส่วน) เหงำ้ ไพล ผกั เส้ยี นผี เหงำ้ วำ่ นนำ้ 53 1 1 กลุ่มทดลอง : เจา้ หนา้ ท่ีโรงพยาบาล จานวน 5 ราย ทีม่ อี าการปวดเขา่ 3 ราย ประเมนิ ผล สตู รท5่ี ผู้ป่วยรู้สกึ สบายข้อ หลงั พอก 2-3ชม. ระดบั ความเจ็บปวดลดลง อาการข้อขัดดขี นึ้ ภายใน วันที่ 3-5 หลังพอก สรปุ ผลกำรประเมินผล จากผลการทดลองทางหน่วยงานจึงสรุปที่จะนาสตู รท่ี 5 มาใชใ้ นการดูแลผ้ปู ่วย แต่พบปัญหาดังน้ี 1. หลังพอกครบ20นาที ผงสมนุ ไพรแห้งแตก ทาให้รว่ งหล่น บนพืน้ ผิว 2. เปน็ คราบติดแนน่ บรเิ วณทพ่ี อก ทาให้ทาความสะอาดยาก จึงได้ปรับเปล่ียนวิธีจากการใช้ผงสมุนไพร ผสมกับ Ethyl Alcohol 70% แล้วนามาพอกข้อเป็นนา ผงสมุนไพรมาหมักกับ ใน Ethyl Alcohol 70% แทน ซ่ึงประสิทธิผลไม่แตกต่างกัน และสามารถซึมผ่าน ผวิ หนังไดด้ กี ว่า โดยมีวิธีทาดงั นี้ ข้นั ตอนกำรเตรียมสมุนไพร 1.บดสมนุ ไพรแห้งทั้ง 3 ชนดิ ใหล้ ะเอยี ด 2.นาผงสมุนไพรท่ีบดไว้คลกุ เคลาใหเขากนั 3.นาผงสมนุ ไพรทีผ่ สมแลว้ หมกั เปน็ เวลา 3 วนั (คนยาทุกวนั ) เอกสารประกอบการประกวดพน้ื ท่ตี น้ แบบดเี ดน่ แห่งชาติการแพทย์แผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้านและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวดั สมุทรปราการ ปี 2566

38 ขั้นตอนกำรพอกเข่ำ 1.นาตารับยาพอกที่อยู่ในรูปแบบน้ามาเทใส่สาลีขนาดพอดีเข่า 2 แผ่น แผ่นละ 45 ml(พอกด้านบน เขา่ และใต้พบั เข่าอย่างละแผน่ ) 2. ท้ิงไวประมาณ 20 นาที แลวซบั น้าด้วยผา้ หรอื ใช้ผ้าชุบน้าเช็ดออก พอกเขาวันละ 1 ครั้ง ติดตอกัน 10 วนั สรุปผลกำรศกึ ษำ จากการศึกษาการพัฒนาสูตรยาพอกเขา่ โดยมวี ตั ถุประสงค์ เพื่อศกึ ษาข้อมูลทั่วไปของ สมุนไพรทีม่ ฤี ทธลิ์ ดอาการปวด และลดอาการอักเสบ และเพ่อื ศกึ ษาเปรียบเทยี บประสิทธผิ ลของยา พอกเขา่ สูตรตา่ งๆในการลดอาการปวด และลดอาการอักเสบ ผจู้ ดั ทาได้นาข้อมูลมาวเิ คราะห์และ นาเสนอตามลาดบั ดงั น้ี 1.ตำรำงผลกำรศกึ ษำข้อมูลทว่ั ไป ของสมนุ ไพรท่ีมีฤทธิ์ลดอำกำรปวดและลดอำกำรอักเสบ ดงั น้ี ตัวยำสมุนไพร สรรพคุณลดปวด เปน็ ตวั ยำใน ฤทธิท์ ำงเภสัชวิทยำ ในตำรำยำไทย ตำรับยำแกป้ วด เหง้ำไพล (บัญชียำหลักแห่งชำต)ิ Anti-oxidant Anti- ผักเสีย้ นผี P inflammatory เหง้ำว่ำนน้ำ P P ผักครำดหวั P P P P แหวน P ดองดงึ P P P  P P P P P P P P 2.ตำรำงสรปุ กำรเปรียบเทียบสตู รยำทง้ั 5 สูตร ตัวยำสมนุ ไพร (อตั รำสว่ น) ควำมพงึ พอใจ(n=10) ระยะเวลำท่ี 20 นำที ดขี ึ้นหลัง สตู ร ผักครำดหัว แหวน ด้ำนลด ด้ำนควำมร้สู ึก พอก เหง้ำไพล ผักเสีย้ นผี วำ่ นน้ำ ดองดึง ปวด ไมส่ ขุ สบำย 11 1 1     Day 10 2 1 1  1   Day 10 ปวดมากขน้ึ 31 1 1 1   รอ้ น ผิวลอก Day 3-5 42 1 1     Day 10 ไม่แตกต่างจากสูตร1 53 1 1   P  Day 10 เอกสารประกอบการประกวดพื้นท่ตี ้นแบบดเี ด่นแห่งชาติการแพทย์แผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้านและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวดั สมุทรปราการ ปี 2566

39 เร่ืองที่ 2. พฒั นำคณุ ภำพกำรดูแลผู้ปว่ ยหวั ไหล่ติด วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เพอื่ ให้ผ้ปู ่วยโรคหัวไหลต่ ิดมีการเคลื่อนไหวข้อไหล่ดขี ึน้ 2. เพือ่ เพิ่มความสามารถในการปฏิบัติกจิ วัตรประจาวนั ของผปู้ ว่ ยโรคหวั ไหล่ติด คำสำคญั : หวั ไหล่ติด หรอื หวั ไหล่อกั เสบ เปน็ อาการท่เี กี่ยวเนอื่ งกับข้อไหล่ เสน้ เอน็ มีอาการยกแขนไดไ้ มส่ งู มอื เทา้ สะเอวไม่ได้องศา มือไพล่หลังไม่ได้ ข้อไหล่ตดิ (Frozen shoulder) เป็นภาวะที่ทาให้ผู้ปว่ ยมีอาการปวดไหล่ และไมส่ ามารถเคล่ือนไหว ขอ้ ไหล่ไดส้ ดุ พิสยั ข้อ ไมว่ า่ จะขยบั เอง หรือให้ผอู้ นื่ ช่วยขยบั ให้ อาการของโรค มี 3 ระยะ ไดแ้ ก่ 1. ระยะปวด ผู้ปว่ ยจะรู้กวา่ อาการปวดค่อย ๆ เป็นมากขึ้นปวดเมอื่ มีการเคลื่อนไหว ปวดมากตอน กลางคนื จนรบกวนการนอน พสิ ัยการเคลื่อนไหวของขอ้ จะค่อย ๆ ลดลง ระยะนี้มักนาน 2 ถึง 9เดือน 2. ระยะข้อติด อาการปวดจากระยะแรกเร่ิมลดลง พสิ ัยการเคล่ือนไหวของขอ้ ไหล่ในทุกทิศทางลดลง ชดั เจน อาจสง่ ผลต่อกิจวตั รประจาวนั อยา่ งมาก ระยะน้ที ่ัวไปนาน 4-12 เดอื น 3. ระยะฟนื้ ตัว อาการปวดจะลดลง พสิ ยั การเคล่ือนไหวของข้อไหล่จะค่อย ๆ ดขี ึ้น ในช่วง 5 เดอื นถงึ 2 ปี 4. สรปุ ผลงำนโดยย่อ : - 5. ชื่อและทอี่ ยู่องค์กร : โรงพยาบาลสมทุ รปราการ กลุ่มงานการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 6. สมำชิกทีม : 1. นางองั สนา ภูมิพัฒนานนท์ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ 2. นางสาวกัญญาณัฐ ยั่งยนื แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ 3. นางสาวปถั ยา กรวจิ ารศิลป์ แพทย์แผนไทย 4. นางสาวปวณี า สุขเกษม นักวชิ าการสาธารณสุข 5. นางสาวฉทั ชนนั ท์ จาลอย นักวชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ 6. นางสาวบญุ ตา ประเสริฐสุข พนักงานช่วยการพยาบาล 7. นางสาวสีทอง เลิศและ พนักงานชว่ ยการพยาบาล 8. นางสาวกชพรรณ บญุ บรรจงกิจ พนักงานชว่ ยการพยาบาล 9. นางสาวณฎั ฐนันท์ พรมอารยี ์ พนักงานชว่ ยการพยาบาล 10. นางสาวณัฐธนา ประภานชิ นันท์ พนกั งานชว่ ยการพยาบาล 11. นางสาววันดี เพยี รพงึ่ ธรรม พนักงานช่วยการพยาบาล 12. นางสาวสิฏ์ระสา โชติอัครคามนิ พนักงานช่วยการพยาบาล 13. นายวรศิลป์ รัตนพรสมปอง พนกั งานช่วยการพยาบาล 14. นางโลมฤทัย พลอยนลิ พนกั งานช่วยการพยาบาล 7. เป้ำหมำย : รอ้ ยละผ้ปู ว่ ยไหลต่ ิดมีการเคลื่อนไหวของข้อไหลด่ ีขน้ึ ≥ 80 % เอกสารประกอบการประกวดพ้ืนทีต่ ้นแบบดเี ดน่ แห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จังหวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

40 8.สำเหตแุ ละปญั หำโดยย่อ: เนื่องจากมีผมู้ ารบั บริการท่ีคลินิกการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื กดว้ ยอาการหัวไหล่ตดิ จานวนเพิ่มมากขน้ึ (ปี 2563 จานวน 515 คน และป2ี 564 จานวน 570 คน) และเปน็ โรคสาคญั ท่ีพบใน 10 อนั ดบั ของผมู้ ารับบริการ และผลลัพธก์ ารประเมินหลงั การรักษาแบบสมุ่ ตวั อยา่ งมีเพยี งร้อยละ 50 ของ ผู้รับบรกิ ารมอี งศาการเคลือ่ นไหวของข้อไหลด่ ขี ึ้นเท่านน้ั ทางหน่วยงานเลง็ เหน็ ความสาคัญชองปัญหา จงึ ได้ วเิ คราะห์กระบวนการทางาน เพื่อพัฒนาคุณภาพการดแู ลผู้ป่วยหัวไหลต่ ิด 1. ระบบ 1.1 วธิ ีการรักษาไมค่ รอบคลุมทกุ อาการของโรคหวั ไหลต่ ดิ 1.2 การให้คาแนะนาและการสื่อสารกับผปู้ ่วยเป็นทักษะเฉพาะบุคคล 2. บุคลากร 2.1 เจา้ หนา้ ท่นี วด : ไม่ปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานการรกั ษา (ไม่ดู code /รกั ษาตามสูตรของตนเองดว้ ย ความเคยชิน) 3. เครอื่ งมือ 3.1 การประเมนิ ผลการตรวจรา่ งกายดว้ ย “สายตา” ซ่ึงเป็นเครอื่ งมือที่ไม่เท่ยี งตรง 3.2 การเก็บรวมรวบผลการรักษาเพื่อนามาประเมนิ ผลเกบ็ เป็นตัวชีว้ ดั ยงั ไมเ่ ป็นระบบ ติดตามยาก เนอื่ งจาก แยกเก็บตามจานวนผ้ตู รวจรักษา บางครั้งขอ้ มูลหาย 3.3 แนวทางการเกบ็ ข้อมูลไม่ถูกบนั ทึกเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร ทาใหเ้ กดิ การเขา้ ใจผดิ ในการเก็บข้อมลู สง่ ผลตอ่ การวิเคราะห์ผิดพลาด 4. ส่งิ แวดล้อม : - แนวทำงกำรแก้ปัญหำ 1. ระบบ 1.1 กาหนดมาตรฐานและแนวทางการรกั ษาผู้ปว่ ยไหล่ตดิ ใหค้ รอบคลมุ 1.2 เพม่ิ การนเิ ทศติดตามการปฏบิ ตั ิงานของเจา้ หนา้ ทนี่ วด 2. บคุ ลากร 2.1 ทบทวนองค์ความรูเ้ จ้าหน้าทีน่ วด 2.2 ทดสอบภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ัติเจ้าหน้าท่ีนวดรายบุคคล 3. เครอ่ื งมือ 3.1 จัดทานวัตกรรม “แผน่ วดั องศาหวั ไหล่” โดยอ้างอิงจากสถาบนั มะเร็งแหง่ ชาติ 3.2 จดั ทาวิธีการเก็บข้อมลู ดว้ ย application Google sheets 3.3 จดั ทา template 3.4 จดั ทาคูม่ ือการบริหารร่างกายอาการหัวไหล่ติด เอกสารประกอบการประกวดพื้นทต่ี ้นแบบดเี ดน่ แห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบา้ นและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวดั สมุทรปราการ ปี 2566

9. กำรเปล่ียนแปลง 41 ก่อนกำรปรบั ปรงุ หลังกำรปรับปรุง 1. ผรู้ ับบรกิ ารไดร้ ับการวนิ ิจฉัย “โรคหัวไหล่ 1. ผู้รับบริการท่ีได้รับการวนิ ิจฉยั “โรคหัวไหล่ ตดิ ” ตดิ ” 1.1 ประเมนิ การเคลื่อนไหวด้วยการตรวจ 1.1 ประเมนิ การเคล่อื นไหวด้วย “แผ่นวัด รา่ งกาย องศาหัวไหล่” ก่อนทาการรักษา 1.2 บนั ทึก CODE การรักษา ใน slip treatment สูตรการรักษา CODE 12 และ CODE 13 1.2 บนั ทกึ CODE การรักษาใน slip treatment Code 12 เป็นสูตรการรกั ษาทีไ่ ม่มีการเขยือ้ นหวั ไหล่ ใช้ในกรณหี ัวไหล่ติดทมี่ ีอาการอักเสบ Code 13 เปน็ สตู รการรกั ษาทม่ี กี ารเขยอื้ นหัวไหล่ ใช้ ในกรณหี ัวไหลต่ ดิ ท่ีไม่มอี าการอกั เสบ 1.3 ใหค้ าแนะนาการบรหิ ารร่างกาย เพื่อสง่ เสรมิ 1.3 ใหค้ าแนะนา เร่ืองการบริหารรา่ งกาย เพ่ือสง่ เสริม การหายของโรค ตามทักษะของแพทยแ์ ผนไทยแต่ การหายของโรคตามแนวทางทีก่ าหนด ละบุคคล 1.4 ให้คาแนะนา เรอ่ื งการปรับพฤติกรรมเพอ่ื ลดการ บาดเจ็บ เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ท่ีตน้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวดั สมทุ รปราการ ปี 2566

42 2. เจา้ หน้าทนี่ วด นวดตามแผนการรักษา 2. เจ้าหน้าทีน่ วด นวดตามแผนการรกั ษาท่ีแพทย์ ร่วมกบั มแี นวทางการรักษาของแตล่ ะบคุ คล แผนไทยกาหนดอย่างเคร่งครัด (ตามความรู้ทไ่ี ด้อบรม มา) - 3. แพทย์แผนไทยควบคุมและตดิ ตามกากับการ 4. ประเมินการรักษาดว้ ยวธิ กี ารตรวจรา่ งกาย นวดผปู้ ่วยใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานท่ีกาหนด 4. ประเมนิ การรกั ษาทกุ ครั้งด้วย “แผ่นวดั องศา หวั ไหล่” 5. บันทกึ ขอ้ มลู ตามรายละเอียดที่ได้จากการ 5. บันทกึ ข้อมูลการรกั ษาตาม template ท่ีจัดทาขน้ึ ประชมุ และบนั ทึกในแบบฟอรม์ ท่ีจัดทาขึ้น โดยใหไ้ ว้ และบนั ทึกใน google sheets (สะดวกในการติดตาม กบั แพทย์แผนไทยเปน็ รายบุคคล ขอ้ มูลเปน็ real time สามารถดไู ด้ทุกที่-ทกุ เวลา) เอกสารประกอบการประกวดพน้ื ทตี่ น้ แบบดเี ด่นแห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ื้นบา้ นและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จังหวัด สมุทรปราการ ปี 2566

10. กำรวดั ผลและผลของกำรเปล่ยี นแปลง 43 ผลของกำรเปล่ียนแปลง ปี พ.ศ. 2565 เปำ้ หมำย 80.3 % รอ้ ยละผู้ปว่ ยไหล่ตดิ มีองศาการเคล่อื นไหวของขอ้ ไหลด่ ขี ึ้นอย่างนอ้ ย 1 ระดับ ≥ 80% ผลการดาเนินงานปี 2565 เป็นไปตามเปา้ หมายท่ีกาหนด คือ ผ้ปู ่วยไหล่ติดมีองศาการเคลือ่ นไหวของ ขอ้ ไหล่ดีขึน้ อย่างนอ้ ย 1 ระดับ อยู่ท่ี 80.3% 11. แผนกำรดำเนินกำรตอ่ 1. พัฒนากระบวนการรกั ษาร่วมกบั แพทยแ์ ผนจนี และกระบวนการติดตามผู้ป่วย 2. พฒั นากระบวนการ Empowerment ในเรอื่ งการดูและและการปฏิบัติตนใหแ้ ก่ผปู้ ว่ ย 3. ฟ้นื ฟูการรักษาผู้ปว่ ยไหล่ติดใหก้ ับเจ้าหน้าท่ีทกุ คน โดยมีการทดสอบทงั้ ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ิ และกาหนดเปน็ Specific competency ของหน่วยงาน 12. บทเรยี นท่ไี ดร้ ับ การพฒั นาปรับปรุงการใหบ้ ริการดา้ นการรักษา ควรหาสาเหตุของปัญหาโดยไม่มีอคติ ไมเ่ ข้าขา้ งตนเอง ควรสอ่ื สารใหเ้ ขา้ ใจและปฏิบัติให้เปน็ มาตรฐานเดียวกนั 13.กำรติดต่อกับทีมงำน กลมุ่ งานการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ โทร 02-1738361 ต่อ 3293, 088-0880843 เอกสารประกอบการประกวดพน้ื ทตี่ น้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ื้นบา้ นและการแพทยท์ างเลอื ก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวัด สมทุ รปราการ ปี 2566

44 เรือ่ งที่ 3. กำรพฒั นำคุณภำพกำรดแู ลผู้ปว่ ย Bell’s palsy เน่อื งจากผู้มารับบริการคลินิกการแพทย์ทางเลือกดว้ ยโรคอัมพาตใบหน้าอยู่ใน5 ลาดบั แรก และเปน็ กลมุ่ โรคที่ไดร้ บั การส่งต่อจากแพทย์แผนปจั จบุ ันเป็นจานวนมาก และโรคนี้สง่ ผลต่อภาพลกั ษณ์ของผปู้ ว่ ย ทา ใหท้ างหนว่ ยงานต้องการพัฒนาคุณภาพกระบวนการดแู ลผู้ปว่ ยกลมุ่ นีใ้ ห้มีคุณภาพสูงสดุ จึงได้นาข้อมูลการ รกั ษาและปญั หาตา่ งๆมาทบทวน พรอ้ มหาแนวทางแก้ไขดังน้ี วิเครำะห์ปญั หำและแนวทำงแกไ้ ข เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ทตี่ ้นแบบดเี ดน่ แห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พื้นบา้ นและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวัด สมทุ รปราการ ปี 2566

45 เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ทตี่ น้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวัด สมุทรปราการ ปี 2566

46 เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ทตี่ น้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวัด สมุทรปราการ ปี 2566

47 เอกสารประกอบการประกวดพนื้ ทตี่ น้ แบบดเี ด่นแห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวัด สมุทรปราการ ปี 2566

48 ผลลพั ธก์ ำรพฒั นำ - กระบวนการรักษาเปน็ มาตรฐานเดียวกัน - มีเครอื่ งมือในการประเมินการรกั ษา/เหน็ ผลการรักษาชดั เจน - มกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลแบบ real time/นามาวิเคราะห์ผลการรักษาได้ทันที - แนวทางการดแู ลผู้ปว่ ยครบถว้ นทั้งด้านการรักษาและการป้องกนั 3.2 กำรจัดกำรควำมรู้ 3.2.1 มีกำรถ่ำยทอดองค์ควำมรู้/กำรแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกำรจัดทำแนวทำงกำรรักษำพยำบำล ด้ำนกำรแพทยแ์ ผนไทย กำรแพทยพ์ ื้นบำ้ น และกำรแพทย์ทำงเลอื กระหว่ำงทมี สหวิชำชพี ในหนว่ ยบรกิ ำร เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ที่ตน้ แบบดีเด่นแห่งชาตกิ ารแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบา้ นและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลสมทุ รปราการ จงั หวดั สมุทรปราการ ปี 2566

49 3.2.2 มีกำรถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ด้ำนกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทย์พ้ืนบ้ำน และกำรแพทย์ ทำงเลอื กใหก้ ับบุคลำกรในหน่วยบรกิ ำรและประชำชนในชุมชน จดั กิจกรรมใหค้ วำมร้เู รื่องยำสมนุ ไพร และกำรฝังเข็ม จดั กจิ กรรมรว่ มกับอำชวี เวชกรรมให้ควำมรเู้ ร่อื งสมนุ ไพร และกำรกดจุดฝ่ำเทำ้ ลดควำมอยำกสบู บุหร่ี เอกสารประกอบการประกวดพ้นื ทต่ี น้ แบบดเี ดน่ แห่งชาตกิ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พื้นบา้ นและการแพทย์ทางเลอื ก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวัด สมุทรปราการ ปี 2566

50 วิทยำกรบรรยำยเรื่องกำรทำลกู ประคบสมนุ ไพร และกำรดแู ลรำ่ งกำยดว้ ยศำสตร์กำรแพทย์แผนไทย วิทยำกรบรรยำยเรอื่ งสมนุ ไพรและกำรดแู ลรำ่ งกำยดว้ ยศำสตร์กำรแพทยแ์ ผนไทย-จีน วทิ ยำกรบรรยำยเรื่องกำรส่งเสริมสุขภำพผสู้ ูงอำยุสู่สขุ ภำวะที่ดี เอกสารประกอบการประกวดพื้นที่ต้นแบบดเี ดน่ แห่งชาติการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบา้ นและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมุทรปราการ จงั หวัด สมทุ รปราการ ปี 2566