Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน PA1 ครูสุนิสา

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน PA1 ครูสุนิสา

Published by Kru Sunisa, 2022-08-11 04:51:41

Description: แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน PA1 ครูสุนิสา

Search

Read the Text Version

บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนบ้านทุ่งมา่ น สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต2 ที่ วันที่ 1 ตลุ าคม ๒๕๖๔ เรื่อง เสนอเพ่ือพิจารณาจัดทาแบบบันทกึ ข้อตกลงในการพฒั นางาน (Performance Agreement : PA) เรยี น ผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านทุ่งม่าน ด้วยข้าพเจ้า นางสาวสุนิสา ทนทาน ตาแหน่งครู โรงเรียนบ้านทุ่งม่าน สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ปฏิบัติหน้าที่สอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งตามมติ ก.ค.ศ. ได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและ วิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว9 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 เพื่อให้การประเมินเป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธีการ ดังกล่าว ข้าพเจ้าจึงได้จัดทาแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) เพื่อให้การประเมินเป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธีการดังกล่าว ข้าพเจ้าจึงได้จัดทาแบบ ข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ในตาแหน่งครู ไม่มีวิทยฐานะ ประจาปีงบประมาณ 2565 ซึ่งเป็นการทาข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ระหว่าง นางสาวสุนิสา ทนทาน ตาแหน่งครู โรงเรียนบ้านทุ่งม่าน และ นายจัตุพล นันทโภคิน ตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งม่าน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 บัดนี้ ข้าพเจ้าได้จัดทาเอกสารแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ตามรายละเอียดดังแนบ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณา ลงช่ือ........................................................... (นางสาวสุนิสา ทนทาน) ตาแหนง่ ครู ข้อเสนอแนะจากผู้อานวยการโรงเรยี น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ........................................................... (นายจตั พุ ล นนั ทโภคนิ ) ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นทงุ่ มา่ น

PA ๑/ส แบบข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาหรับข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ครู (ยังไมม่ ีวทิ ยฐานะ) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ระหวา่ งวันท่ี 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวนั ท่ี 30 เดอื น กนั ยานน พ.ศ. 2565 ผูจ้ ดั ทาขอ้ ตกลง ชือ่ นางสาวสนุ สิ า นามสกุล ทนทาน ตาแหนง่ ครู สถานศึกษา โรงเรียนบ้านทุง่ มา่ น สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 รับเงินเดือนในอนั ดบั คศ. 1 อัตราเงนิ เดอื น 22,500 บาท ประเภทหอ้ งเรียนที่จดั การเรยี นรู้ (สามารถระบุได้มากกวา่ 1 ประเภทหอ้ งเรียน ตามสภาพการจดั การเรยี นร้จู รงิ )  หอ้ งเรยี นวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน  หอ้ งเรียนปฐมวัย  ห้องเรยี นการศึกษาพิเศษ  ห้องเรียนสายวิชาชีพ  หอ้ งเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศยั ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจานงในการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานตาแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึ่ง เป็นตาแหนง่ ท่ีดารงอยู่ในปจั จบุ นั กบั ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ไวด้ ังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหนง่ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 1. ภาระงาน จะมภี าระงานเปน็ ไปตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 19 ชัว่ โมง/สัปดาหด์ งั นี้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว13101) จานวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ว14101) จานวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว15101) จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว16101) จานวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว21103) จานวน 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ว22103) จานวน 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว23103) จานวน 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ลกู เสอื -เนตรนารี จานวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์ ชมุ นมุ จานวน 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์

1.2 งานส่งเสริมและสนบั สนนุ การจดั การเรียนรู้ จานวน 5 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ การมสี ่วนรว่ มในชุมชนการเรียนรู้ PLC จานวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ งานออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จานวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ งานการสรา้ งส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้ จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1.3 งานพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จานวน 7 ชวั่ โมง/สัปดาห์ งานครูทป่ี รึกษา/ดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ม.3 จานวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จานวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ งานการเงินและบญั ชี จานวน 5 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ จานวน 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ม.3 จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ ม.2 จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 1. ภาระงาน จะมภี าระงานเปน็ ไปตามทก่ี .ค.ศ. กาหนด 1.1 ชัว่ โมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 19 ชั่วโมง/สปั ดาห์ดังน้ี กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ว13101) จานวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ รายวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ว14101) จานวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว15101) จานวน 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์ รายวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ว16101) จานวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ (ว21103) จานวน 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว22103) จานวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ว23103) จานวน 3 ช่วั โมง/สปั ดาห์ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ลกู เสอื -เนตรนารี จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ ชุมนมุ จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ จานวน 5 ชวั่ โมง/สัปดาห์ การมีส่วนร่วมในชมุ ชนการเรียนรู้ PLC จานวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์ งานออกแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ งานการสร้างสอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยแี ละแหล่งเรียนรู้ จานวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 1.3 งานพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา จานวน 7 ชั่วโมง/สัปดาห์ งานครูที่ปรึกษา/ดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น ม.3 จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ งานการเงินและบัญชี จานวน 5 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ จานวน 3 ช่วั โมง/สัปดาห์ กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้ ม.3 จานวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ม.2 จานวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์

2. งานท่ีจะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดขอ การดาเนินการดว้ ยกไ็ ด)้ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks)ท่ี จะดาเนนิ การพัฒนาตามข ตามมาตรฐานตาแหนง่ ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบุ) 1. ด้านการจัดการเรยี นรู้ 1.1 การสรา้ งและหรือพัฒนาหลกั สตู ร ลักษณะงานท่เี สนอให้ครอบคลมุ ถึง จัดทาหลกั สตู รและหนว่ ยการเรียนร ลกั ษณะงานทเี่ สนอใหค้ รอบคลุมถึงการ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ และตัว สรา้ งและหรอื การพัฒนาหลักสูตร การ หรือผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สูตรเพ่ือใหผ้ เู้ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัด พัฒนาสมรรถนะ และการเรียนร้เู ตม็ ตาม กิจกรรมการเรียนรู้ การสรา้ งและหรือ ศักยภาพ โดยมีการพัฒนารายวิชาและหน พฒั นาสือ่ นวตั กรรม เทคโนโลยี และ เรยี นรู้ ให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศ แหลง่ เรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผลการ ผเู้ รยี น และท้องถิ่น และสามารถแก้ไขปัญ จัดการเรยี นรู้ การศึกษาวเิ คราะห์ จดั การเรียนรไู้ ด้ สังเคราะห์เพอ่ื แกป้ ญั หาหรือพัฒนาการ เรียนรู้ การจดั บรรยากาศที่สง่ เสริมและ 1.2 การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ พฒั นาผู้เรียน และการอบรมและพฒั นา ออกแบบจัดทาแผนการจัดการเรียน คณุ ลักษณะทีด่ ีของผู้เรียน เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมคี วามรู้ ทักษะ คณุ ลกั ษณะ วิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมร สาคญั ตามหลักสตู ร หลกั สูตร โดยมกี ารป ประยกุ ตใ์ หส้ อดคล้องกับบริบทของสถาน

องงานท่ีจะปฏบิ ัติในแต่ละด้านว่าจะดาเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวล าท่ีใช้ใน ตัวช้วี ัด (Indicators)ทจี่ ะเกดิ ข้อตกลง ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตาม ข้ึนกับผู้เรยี นทแี่ สดงให้เหน็ ถงึ ขอ้ ตกลงทค่ี าดหวังใหเ้ กิดขนึ้ การเปล่ยี นแปลงไปในทางท่ดี ีขึน้ (โปรดระบ)ุ หรอื มกี ารพัฒนามากขึ้นหรือ ผลสัมฤทธส์ิ งู ขน้ึ (โปรดระบุ) 1. ผูเ้ รียนไดร้ บั การจดั การเรียนรู้ตาม 1. รอ้ ยละ 70 ของผู้เรียน มี รู้ให้ หลักสตู รและมีความรู้ตามมาตรฐาน ความร้ผู ่านเกณฑ์การประเมิน วชี้วัด และตัวชี้วัด ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด เรยี นได้ 2. ผเู้ รียนได้รบั การพฒั นา 2. ร้อยละ 70 ของผเู้ รยี น มี คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ การอา่ น ผลสัมฤทธส์ิ ูงขน้ึ เป็นไปตามค่า น่วยการ การเขยี น คิด วิเคราะห์ สมรรถนะ เปา้ หมายที่สถานศกึ ษากาหนด ศึกษา สาคัญของผู้เรยี น ญหาการ 1. ผเู้ รยี นมีความร้ตู ามมาตรฐานและ 1. ร้อยละ 70 ของผเู้ รียน มี นรู้ ตวั ช้ีวัดตามธรรมชาตวิ ชิ า ความรผู้ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน ะประจา 2. ผ้เู รียนไดร้ ับการพัฒนาในด้าน ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด รรถนะที่ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคแ์ ละ 2. ร้อยละ 70 ของผ้เู รยี นมผี ล ปรบั สมรรถนะสาคัญตามหลักสตู ร การประเมนิ ในดา้ นคุณลกั ษณะ นศึกษา อนั พึงประสงค์และสมรรถนะ

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks)ท่ี จะดาเนินการพัฒนาตามข ตามมาตรฐานตาแหนง่ ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบ)ุ ผเู้ รยี นและชมุ ชน โดยจัดทาแผนการจดั ก เรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์แ เทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์และเทค (วิทยาศาสตร)์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โด วิธกี ารสอนทเ่ี นน้ การเรยี นแบบ Active l ทเ่ี นน้ ใหน้ ักเรยี นมีสว่ นรว่ มและมปี ฏสิ มั พ กจิ กรรมการเรยี นรผู้ ่านการปฏิบัติ เพอ่ื แก ปัญหาในการจดั การเรียนรู้ ให้บรรลุตาม เป้าหมายทส่ี ถานศึกษากาหนด 1.3 การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ มีการอานวยความสะดวกในการเรีย สง่ เสริมผเู้ รยี นไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ เรยี นรแู้ ละทางานร่วมกนั โดยมีการปรบั ป ให้สอดคล้องกับความแตกตา่ งของผ้เู รียน บรบิ ทของสถานศึกษา

ข้อตกลง ผลลพั ธ์ (Outcomes) ของงานตาม ตัวชว้ี ัด (Indicators)ทจ่ี ะเกดิ ข้อตกลงท่ีคาดหวงั ใหเ้ กิดข้ึน ขนึ้ กับผู้เรียนที่แสดงให้เหน็ ถงึ การ (โปรดระบุ) การเปลยี่ นแปลงไปในทางท่ดี ีขน้ึ และ หรือมีการพฒั นามากขน้ึ หรือ คโนโลยี ดยใช้ ผลสัมฤทธส์ิ ูงข้ึน earning (โปรดระบ)ุ พันธ์กบั ก้ไข สาคญั ตามหลักสตู รสูงขน้ึ เปน็ ไป ตามคา่ เป้าหมายทีส่ ถานศกึ ษา กาหนด 1. ผเู้ รยี นได้รับการพฒั นาตาม 1. รอ้ ยละ 70 ของผูเ้ รยี น มี ยนรู้ และ ศักยภาพความแตกตา่ งของแตล่ ะ ความพึงพอใจตอ่ การเรียนวิชา พการ บคุ คล วิทยาศาสตร์มากและมสี ว่ นร่วม ประยกุ ต์ 2. ผเู้ รียนมนี สิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มัน่ ใน ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการ น ตาม การทางานและสามารถทางาน สอนรปู แบบ Active Learning รว่ มกบั ผอู้ ่ืนไดเ้ ป็นอยา่ งดี 2. รอ้ ยละ 70 ของผเู้ รยี น ให้ 3. ผ้เู รียนเกิดความพึงพอใจต่อการ รว่ มในกิจกรรมการเรียนการ เรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์ มากย่ิงข้นึ และ สอน ผา่ นแอฟพลิเคช่ันตา่ งๆ มีสว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมการ เป็นอยา่ งดี

ลักษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks)ท่ี จะดาเนนิ การพฒั นาตามข ตามมาตรฐานตาแหนง่ ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบ)ุ 1.4 การสรา้ งและหรือพัฒนาสอื่ นวตั ก เทคโนโลยีและแหลง่ เรียนรู้ มีการสร้างและหรือพัฒนาสอ่ื นวัตกร เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้ โดยมกี ารปรบั ประยุกตใ์ ห้สอดคล้องกับกจิ กรรมการเรยี สามารถแก้ไขปัญหาในการเรียนรูข้ องผเู้ ร มีการจัดทาส่ือท่ีส่งเสรมิ พัฒนานักเรียนโด เทคโนโลยี เช่น ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้, , Microsoft PowerPoint เปน็ ต้น และมกี พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ภายในห้องเรยี น และพ แหล่งเรยี นรนู้ อกห้องเรยี น โดยใช้เทคโนโ ฐาน และห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร พรอ้ มใช้บริการ 1.5 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ มกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด วธิ กี ารทีห่ ลากหลาย เหมาะสม และสอดค

ขอ้ ตกลง ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตาม ตัวชี้วัด (Indicators)ท่จี ะเกิด ข้อตกลงท่คี าดหวงั ให้เกิดข้นึ ขน้ึ กับผู้เรยี นที่แสดงให้เหน็ ถึง กรรม (โปรดระบ)ุ การเปล่ยี นแปลงไปในทางท่ีดีขึ้น รรม หรอื มกี ารพฒั นามากขึ้นหรือ บ เรยี นการสอนรูปแบบ Active ยนรู้ เพ่ือ Learning ผลสัมฤทธ์สิ งู ข้นึ รยี น โดย 1. ผูเ้ รียนได้รบั ความรจู้ ากการใชส้ ือ่ (โปรดระบ)ุ ดยใช้ ท่ีหลากหลาย สอดคล้องกับกิจกรรม การเรยี นร้แู ละทนั สมยั 1. ร้อยละ 70 ของผ้เู รียน มี 2. ผู้เรยี นไดร้ บั ความรจู้ ากการใช้ ความรู้ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน แหลง่ เรยี นรู้ทห่ี ลากหลายและ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด สอดคล้องกับการเรียนรู้ 2. ร้อยละ 70 ของผเู้ รียนมี ผลสัมฤทธ์สิ ูงข้นึ เป็นไปตามค่า เป้าหมายท่ีสถานศกึ ษากาหนด การ พฒั นา โลยเี ปน็ ร์ให้ 1. ผูเ้ รยี นไดร้ บั การประเมนิ ผลการ 1. รอ้ ยละ 70 ของผเู้ รียน มี ด้วย เรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ือง หลากหลาย ความรผู้ า่ นเกณฑ์การประเมนิ คล้องกับ

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks)ท่ี จะดาเนินการพัฒนาตามข ตามมาตรฐานตาแหนง่ ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบ)ุ มาตรฐานการเรยี นรู้ ใหผ้ ู้เรียนพฒั นาการ อย่างต่อเนอ่ื ง โดยสร้างเครื่องมอื วดั และ ประเมินผลการเรยี นรู้เพอ่ื การพัฒนาผเู้ รยี สภาพจริง และนาผลการวัดและประเมนิ ผ เรียนร้มู าใช้แกป้ ญั หาการจดั การเรยี นรู้ 1.6 การศึกษา วเิ คราะห์ และสังเคราะห แกไ้ ขปญั หาหรือพฒั นาการเรียนรู้ มีการศึกษา วิเคราะห์ และสงั เคราะห แกป้ ญั หาหรือพฒั นาการเรียนรูท้ สี่ ่งผลตอ่ คณุ ภาพผเู้ รียน โดยทาการวเิ คราะห์ผเู้ รยี รายบคุ คล จัดกลมุ่ นักเรียน และวางแผนพ นกั เรยี นตามศักยภาพและความแตกต่างร บคุ คลโดยนาผลการศึกษา วิเคราะหแ์ ละ สังเคราะห์ มาใช้แก้ไขปญั หาหรอื พัฒนาก จดั การเรยี นรู้ โดยวิจัยในชั้นเรยี นไมน่ อ้ ยก ภาคเรียนละ 1 เร่อื ง 1.7 การจัดบรรยากาศท่ีสง่ เสริมและพัฒ ผู้เรยี น

ตวั ช้ีวัด (Indicators)ท่ีจะเกิด ข้อตกลง ผลลพั ธ์ (Outcomes) ของงานตาม ขึ้นกับผู้เรียนทีแ่ สดงให้เหน็ ถงึ ขอ้ ตกลงท่ีคาดหวงั ใหเ้ กิดข้นึ การเปลี่ยนแปลงไปในทางทีด่ ีข้ึน (โปรดระบุ) หรอื มกี ารพฒั นามากขน้ึ หรือ ผลสมั ฤทธิ์สูงขึน้ (โปรดระบ)ุ รเรียนรู้ 2. นาผลการประเมนิ มาใช้ในการ เปน็ ไปตามระเบียบการวดั ผล สง่ เสรมิ หรือปรับปรงุ แก้ไขการเรียนรู้ การประเมนิ ของสถานศึกษา ยนตาม ของผ้เู รียน 2. รอ้ ยละ 70 ของผูเ้ รยี น มี ผลการ ผลสัมฤทธส์ิ งู ขึ้น เป็นไปตามค่า เปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษากาหนด ห์ เพื่อ 1. นักเรยี นได้รับการแก้ปญั หาหรอื 1. ร้อยละ 70 ของผ้เู รยี น มี พฒั นาในดา้ นการเรยี นรดู้ ้วย ความร้ผู า่ นเกณฑก์ ารประเมิน ห์ เพ่ือ กระบวนการวิจยั ในชนั้ เรียน ของสถานศกึ ษา อ 2. นักเรียนไดร้ ับการแก้ปัญหาหรอื 2. ร้อยละ 70 ของผู้เรยี น มีผล ยนเปน็ พฒั นาด้านคุณลักษณะอันพึง การประเมนิ ในด้านคณุ ลกั ษณะ พัฒนา ประสงค์ อนั พึงประสงค์และสมรรถนะ ระหว่าง 3. นกั เรยี นไดร้ ับการแก้ปญั หาหรือ สาคญั ตามหลกั สูตรที่สูงขน้ึ พัฒนาดา้ นสมรรถนะสาคัญผเู้ รียน เปน็ ไปตามคา่ เปา้ หมายที่ การ สถานศึกษากาหนด กวา่ 3. ครูมีผลงานวิจยั ในชัน้ เรยี นไม่ น้อยกว่า 2 เรอื่ งต่อปี ฒนา 1. ผู้เรียนได้รบั การพฒั นาในด้าน 1. ร้อยละ 70 ของผู้เรียนมผี ล สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน การประเมนิ ในด้านสมรรถนะ

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks)ท่ี จะดาเนินการพัฒนาตามข ตามมาตรฐานตาแหนง่ ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบุ) มกี ารจดั บรรยากาศทเี่ หมาะสมสอด กับความแตกตา่ งผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล สา แกไ้ ขปัญหาการเรยี นรู้ สรา้ งแรงบนั ดาลใ สง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี น ให้เกดิ กระบวน ทักษะชวี ติ ทกั ษะการทางานทกั ษะการเร และนวัตกรรมทักษะดา้ นสารสนเทศ สอื่ เทคโนโลยี 1.8 การอบรมและพัฒนาคุณลกั ษณะท ผู้เรยี น มีการอบรมบ่มนสิ ยั ให้ผู้เรียนมีคุณธร จริยธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และ คา่ นยิ มความเป็นไทยทีด่ งี าม โดยคานึงถงึ แตกตา่ งของผู้เรยี นเปน็ รายบุคคลและสาม แกไ้ ขปญั หาผเู้ รยี นได้ โดยมีการจัดกิจกรร ส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะอ ประสงค์ เชน่ โรงเรยี นวิถพี ุทธ โรงเรียน คุณธรรม โรงเรียนสุจริต และกจิ กรรมอบ คณุ ธรรมจริยธรรม เป็นต้น

ตัวชีว้ ดั (Indicators)ท่จี ะเกดิ ขอ้ ตกลง ผลลพั ธ์ (Outcomes) ของงานตาม ขึน้ กบั ผู้เรียนทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถงึ ข้อตกลงทคี่ าดหวงั ให้เกิดขึน้ การเปล่ยี นแปลงไปในทางท่ดี ีขึ้น (โปรดระบุ) หรอื มกี ารพฒั นามากข้นึ หรือ ผลสัมฤทธิ์สงู ข้ึน (โปรดระบุ) ดคล้อง 2. ผู้เรียนไดเ้ รียนร้ใู นสภาพ สาคญั ตามหลักสตู รสูงขนึ้ เป็นไป ามารถ บรรยากาศเรียนรูท้ ่ีเอ้ือต่อทักษะ ตามค่าเปา้ หมายท่ีสถานศึกษา ใจ ตา่ งๆ อย่างรอบดา้ น กาหนด นการคิด 2. ผูเ้ รียนร้อยละ 80 ได้เรียนรู้ รยี นรู้ ในบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ และ ท่ีดขี อง 1. ผ้เู รยี นไดร้ บั การพัฒนาในดา้ นเป็น 1. รอ้ ยละ 70 ของผ้เู รยี น มีผล รรม ผมู้ ีคุณธรรมจริยธรรมและ การประเมนิ ในด้านคณุ ลกั ษณะ ะ งความ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ นิสยั อันพึงประสงค์ ตาม มารถ รมที่ หลกั สตู รสูงขนึ้ เปน็ ไปตามค่า อนั พึง เป้าหมายทส่ี ถานศึกษากาหนด บรม

ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks)ท่ี จะดาเนนิ การพัฒนาตามข ตามมาตรฐานตาแหน่ง ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบ)ุ 2. ดา้ นการสง่ เสรมิ และสนบั สนุน 2.1 การจัดทาข้อมูลสารสนเทศของผู้เร การจดั การเรยี นรู้ รายวชิ า ลกั ษณะงานทเ่ี สนอใหค้ รอบคลุมถึง จัดทาข้อมูลสารสนเทศของผเู้ รียนแล การจดั ทาข้อมูลสารสนเทศของผเู้ รียน รายวชิ าโดยมีข้อมูลเป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ใน และรายวชิ าการดาเนินการตามระบบ สง่ เสรมิ สนับสนนุ การเรียนรู้ แกไ้ ขปญั หา ดแู ลช่วยเหลอื ผูเ้ รยี น การปฏบิ ัติงาน พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน โดยจัดทารายงานข วิชาการและงานอ่นื ๆ ของสถานศึกษา สารสนเทศผูเ้ รียนรายบุคคลและขอ้ มูลรา และการประสานความรว่ มมอื กบั สอนผ่านระบบออนไลน์ ระบบฐานข้อมลู ผูป้ กครอง ภาคีเครือข่าย และหรอื สถาน สารสนเทศเพ่ือการจัดการศึกษาอย่างมีคุณ ประกอบการ (Q-Info) หรอื ใช้โปรแกรมแบบ ปพ.5 2.2 ดาเนนิ การตามระบบดูแลช่วยเหลือ มกี ารใช้ข้อมลู สารสนเทศเก่ียวกับผเู้ รายบคุ คล และประสานความรว่ มมอื กบั ผ เก่ียวข้องเพ่ือพัฒนาและแก้ปัญหาผเู้ รยี น การออกเยยี่ มบ้าน คดั กรองนักเรยี น รวม ผ้ปู กครองเข้ามามีสว่ นร่วมในการให้ความ ช่วยเหลือตามระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรีย มกี ารจดั ทาช่องทางการเผยแพรผ่ ลการปร

ตัวช้วี ัด (Indicators)ท่ีจะเกดิ ขอ้ ตกลง ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตาม ข้นึ กับผู้เรียนที่แสดงให้เห็นถงึ ขอ้ ตกลงที่คาดหวงั ให้เกดิ ขน้ึ การเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ดี ีขนึ้ (โปรดระบุ) หรือมีการพัฒนามากข้นึ หรือ ผลสมั ฤทธิ์สงู ขนึ้ (โปรดระบุ) รยี นและ 1. ผูเ้ รียนใชข้ ้อมูลสารสนเทศ 1. ผ้เู รยี นร้อยละ 100 ได้ใช้ ตรวจสอบและรายงานผลการเรยี น ประโยชน์จากสารสนเทศใน ละ ของผ้เู รยี นผา่ นเวบ็ ไซตโ์ รงเรียน หรอื รายงานผลการเรยี นของผเู้ รยี น นการ โปรแกรมแบบ ปพ.5 ผ่านเว็บไซตโ์ รงเรียน หรือ และ โปรแกรมแบบ ปพ.5 ข้อมลู ายวิชาที่ ล ณภาพ อผเู้ รยี น 1. นกั เรียนและผปู้ กครองมสี ่วน 1. ผู้เรยี นร้อยละ 90 ไดร้ บั การ เรียน รว่ มกับครผู ูส้ อนในการแก้ไขปัญหา ติดตามชว่ ยเหลอื เพื่อแก้ปญั หา ผู้มีส่วน นักเรียนในด้านการเรียนรแู้ ละระบบ การเรยี น ครอบครัวและการ โดย ดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนรายบุคคล ดารงชวี ติ มไปถงึ 2. นกั เรยี นไดร้ ับการสนบั สนุน 2. ครูผ้ปู กครองและผู้ท่ี ม ชว่ ยเหลอื ดแู ลทงั้ ด้านวิชาการ เก่ยี วขอ้ งร้อยละ 100 สามารถ ยน และ ลักษณะนิสยั อนั พึงประสงค์ ร่วมท้งั รบั รูค้ วามก้าวหนา้ พัฒนาการ ระเมนิ สมรรถนะสาคัญผูเ้ รยี น

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks)ที่ จะดาเนินการพฒั นาตามข ตามมาตรฐานตาแหนง่ ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบ)ุ ผ้เู รยี นตอ่ ผปู้ กครองรายบุคคล เพ่อื การวา พฒั นาผู้เรยี นรว่ มกนั 2.3 ปฏบิ ตั งิ านวิชาการ และงานอ่นื ๆ ข สถานศึกษา ได้ร่วมปฏบิ ัตงิ านทางวิชาการ หวั หน สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโล ปฏิบตั ิงานบริหารงบประมาณ (เจ้าหน้าท และบัญชี) ในการจดั ทาเอกสารประกอบก จา่ ยเงินทุกประเภทของโรงเรียน และจดั ท รายงานการเงินของโรงเรียน ร่วมจัดกจิ กร พัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา กิจกรรมการ แผนการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ( และงานอนื่ ๆ ของสถานศกึ ษาทไี่ ดร้ ับมอบ และแต่งต้ังใหร้ บั ผดิ ชอบ เพ่อื ยกระดบั คณุ การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

ตวั ชี้วัด (Indicators)ท่ีจะเกิด ข้อตกลง ผลลพั ธ์ (Outcomes) ของงานตาม ข้นึ กับผู้เรียนท่ีแสดงให้เหน็ ถงึ ขอ้ ตกลงท่คี าดหวงั ใหเ้ กดิ ข้นึ การเปลีย่ นแปลงไปในทางท่ีดีขึ้น (โปรดระบุ) หรือมีการพัฒนามากขึน้ หรือ ผลสัมฤทธส์ิ ูงขึ้น (โปรดระบ)ุ างแผน 3. นักเรียนไดร้ บั การแก้ไขหรือ ของผู้เรียนและสามารถ พฒั นาท้ังด้านวิชาการลกั ษณะนิสยั ช่วยเหลือนักเรียนได้อย่างทัว่ ถึง อนั พึงประสงค์ รวมทั้งสมรรถนะ สาคญั ผเู้ รียน ของ ผู้เรียนได้รับการสนบั สนนุ วิชาการท่ี 1. ร้อยละ 70 ของผเู้ รียน มี สง่ ผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและ ความร้ผู ่านเกณฑ์การประเมิน นา้ กล่มุ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคแ์ ละทักษะ เปน็ ไปตามระเบียบการวัดผล ลยี การเรียนรู้ ประเมินผลของสถานศกึ ษา ทก่ี ารเงนิ 2. รอ้ ยละ 70 ของผู้เรียนมี การรับ - ผลสมั ฤทธสิ์ ูงข้ึนเป็นไปตามค่า ทา เป้าหมายของสถานศึกษา รรมการ กาหนด รจดั ทา (SAR) บหมาย ณภาพ

ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติ งาน (Tasks)ที่ จะดาเนนิ การพฒั นาตามข ตามมาตรฐานตาแหน่ง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) 2.4 ประสานความร่วมมือกับผปู้ กครอง เครือขา่ ยและหรือสถานประกอบการ ประสานความร่วมมอื กบั ผปู้ กครอง เครอื ข่าย และหรือสถานประกอบการ เพ ร่วมกนั พฒั นาผู้เรยี น โดยจดั กิจกรรมประ ผปู้ กครอง 1 ครงั้ /ภาคเรียน และจดั ให้มีช ในการติดต่อส่อื สารกับผู้ปกครองและภาค เครอื ข่าย 3. ดา้ นการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ 3.1 การพัฒนาตนเองอยา่ งเป็นระบบแล ลกั ษณะงานทเี่ สนอใหค้ รอบคลมุ ถึง ต่อเนื่อง การพฒั นาตนเองอยา่ งเป็นระบบและ มีการพัฒนาตนเองอย่างเปน็ ระบบแ ตอ่ เน่ือง การมีส่วนรว่ มในการ ต่อเนือ่ ง เพื่อให้มีความรคู้ วามสามารถ ทัก แลกเปล่ยี นเรยี นร้ทู างวิชาชีพเพ่อื โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและ พฒั นาการจดั การเรียนรู้และการนา ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร และการใช้ ความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะท่ีได้จากการ เทคโนโลยีดิจิทลั เพือ่ การศึกษา สมรรถนะ พัฒนาตนเองและวชิ าชีพมาใชใ้ นการ ครูและความรอบรใู้ นเนื้อหาวิชาและวธิ กี า พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ การพัฒนา และนาผลการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิช ใช้ในการจัดการเรยี นรู้ทม่ี ผี ลตอ่ คุณภาพผ

ขอ้ ตกลง ผลลพั ธ์ (Outcomes) ของงานตาม ตัวชี้วัด (Indicators)ท่ีจะเกดิ ข้อตกลงท่คี าดหวงั ให้เกดิ ขึน้ ขน้ึ กับผู้เรียนทแ่ี สดงให้เห็นถึง ง ภาคี (โปรดระบุ) การเปลยี่ นแปลงไปในทางท่ดี ีข้ึน หรือมีการพัฒนามากขน้ึ หรือ ภาคี 1. นักเรียนได้รับการสนบั สนุน พ่ือ ช่วยเหลือดูแลทง้ั ดา้ นวิชาการ ผลสมั ฤทธิ์สงู ขน้ึ ะชุม ลกั ษณะนิสยั อนั พึงประสงค์ รวมทง้ั (โปรดระบุ) ช่องทาง สมรรถสาคัญผ้เู รยี น คี 2. นักเรียนได้รับการแก้ไขหรือ 1. ร้อยละ 70 ของผเู้ รยี น มี พัฒนาท้ังด้านวิชาการ ลกั ษณะนิสยั ความรผู้ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ และ อนั พงึ ประสงค์ รวมทั้งสมรรถสาคญั ของสถานศึกษา ผู้เรียน 2. ร้อยละ 70 ของผเู้ รียน มีผล และ 1. นกั เรยี นได้รบั การแกป้ ัญหาหรอื การประเมินในด้านคณุ ลกั ษณะ กษะ พัฒนาในดา้ นการเรียนรู้ อันพงึ ประสงค์ตามหลกั สตู ร 2. นกั เรยี นไดร้ ับการแก้ปัญหาหรือ สูงข้ึน เป็นไปตามคา่ เป้าหมายท่ี ะวชิ าชีพ พฒั นาดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ สถานศกึ ษากาหนด ารสอน ประสงค์ ชาชีพมา 3. นกั เรียนได้รบั การแกป้ ัญหาหรอื 1. ร้อยละ 70 ของผเู้ รยี น มี ผ้เู รยี น พฒั นาด้านสมรรถนะสาคัญผ้เู รยี น ความรู้ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ของสถานศกึ ษา 2. ร้อยละ 70 ของผ้เู รยี น มีผล การประเมินในดา้ นคณุ ลักษณะ อนั พงึ ประสงค์และสมรรถนะ สาคัญตามหลกั สตู ร เป็นไปตาม ค่าเปา้ หมายที่สถานศึกษา กาหนด

ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks)ท่ี จะดาเนนิ การพัฒนาตามข ตามมาตรฐานตาแหนง่ ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบ)ุ คณุ ภาพผู้เรียน และการพฒั นา นวตั กรรมและการจดั การเรยี นรู้ 3.2 การมสี ่วนร่วมในการแลกเปล่ียนเร ทางวชิ าชพี เพ่ือพฒั นาการจัดการเรยี น ร่วมกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูท้ างวิซ ท้งั ภายในและระหว่างสถานศึกษา เพ่ือแก ปัญหาและสร้างหรือปรับเปล่ียนนวตั กรร จัดการเรยี นรูเ้ พื่อพัฒนาการจัดการเรียนร คณุ ภาพสงู ขน้ึ 3.3 การนาความรู้ ความสามารถ ทักษ จากการพัฒนาตนเองและวิชาชพี มาใช้ใ พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ การเข้าร่วมการอบรม/การประชุมรปู ต่าง ๆ ทัง้ แบบ On Line และแบบเข้ารว่ ท่ีสามารถนาความร้มู าพัฒนาการจดั การศ

ตัวชวี้ ัด (Indicators)ที่จะเกดิ ขอ้ ตกลง ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตาม ขึ้นกบั ผู้เรียนทแี่ สดงให้เห็นถงึ ขอ้ ตกลงท่ีคาดหวงั ให้เกิดข้นึ การเปล่ยี นแปลงไปในทางทดี่ ีขนึ้ (โปรดระบุ) หรอื มกี ารพฒั นามากขน้ึ หรือ ผลสัมฤทธ์สิ ูงขนึ้ (โปรดระบ)ุ รียนรู้ 1. นกั เรยี นไดร้ ับการสนบั สนุน 1. รอ้ ยละ 70 ของผู้เรียน มี นรู้ ช่วยเหลอื ดูแลท้ังด้านวิชาการ ความรูผ้ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน ซาชีพ ลกั ษณะนสิ ัยอนั พงึ ประสงค์ รวมทัง้ ของสถานศกึ ษา กไ้ ข สมรรถสาคัญผู้เรยี น 2. รอ้ ยละ 70 ของผ้เู รยี น มีผล รมการ 2. นกั เรยี นได้รับการแก้ไขหรือ การประเมนิ ในด้านคณุ ลกั ษณะ รู้ใหม้ ี พัฒนาทั้งด้านวิชาการลกั ษณะนสิ ัย อนั พงึ ประสงค์และสมรรถนะ อันพึงประสงค์ รวมทัง้ สมรรถนะ สาคญั ตามหลักสูตร เป็นไปตาม สาคัญผู้เรยี น คา่ เป้าหมายท่ีสถานศึกษา 3. รว่ มกจิ กรรมชุมชนการเรียนร้ทู าง กาหนด วชิ าชพี แลกเปลยี่ นปญั หาในการ จดั การเรยี นการสอนของผ้เู รียนท่ี หลากหลาย ษะทไี่ ด้ 1. นาทกั ษะและองค์ความรมู้ าบูรณา 1. รอ้ ยละ 70 ของผู้เรยี น มี ในการ การสอดแทรกในเนื้อหาสาระวิชาใน ผลสมั ฤทธิร์ ายวิชาวทิ ยาศาสตร์ การจดั การเรียนรูห้ รือปรับประยกุ ต์ และเทคโนโลยีในระดับคณุ ภาพ ปแบบ และพัฒนานวตั กรรมการเรียนรใู้ ห้ 3 ข้นึ ไป วมอบรม สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่าง 2. รอ้ ยละ 70 ของผเู้ รยี น ได้รับ ศกึ ษาให้ บุคคล การพฒั นาทกั ษะการคดิ

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks)ที่ จะดาเนินการพฒั นาตามข ตามมาตรฐานตาแหนง่ ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบุ) ทนั กับการเปลี่ยนแปลงในสถานการณป์ ัจ และนาความรู้ ความสามารถ ทกั ษะที่ไดจ้ พัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใหค้ าปรึกษาก โดยกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชา กลมุ่ สาระอ่นื ๆ เพ่ือแลกเปลี่ยนเรยี นร้ปู ัญ เรยี นรู้ของผเู้ รยี นในแต่ละชนั้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบ ระหวา่ งผอู้ านวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผ้จู ัดทาขอ้ ตกลง 2. งาน (Tasks) ท่ีเสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหนา้ ที่ค รายวิชาหลักที่ทาการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชาหลักท่ีทาการสอนทุกระ แสดงใหเ้ หน็ ถึงการปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานตาแหนง่ และคณะกรรมการประเมนิ ผลกา 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสาคัญกับผลลัพธ์กา ประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการด บริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลพั ธก์ ารเรยี นรูข้ องผเู้ รียนที่เกดิ จากการพัฒนางาน

ตัวชีว้ ดั (Indicators)ท่จี ะเกิด ขอ้ ตกลง ผลลพั ธ์ (Outcomes) ของงานตาม ขน้ึ กบั ผู้เรียนท่แี สดงใหเ้ หน็ ถึง ข้อตกลงท่ีคาดหวงั ใหเ้ กดิ ข้นึ การเปลีย่ นแปลงไปในทางทด่ี ีขึน้ (โปรดระบุ) หรอื มีการพัฒนามากข้ึนหรือ ผลสัมฤทธ์สิ ูงขนึ้ (โปรดระบุ) จจบุ นั 2. รว่ มกจิ กรรมชุมชนการเรียนรทู้ าง วเิ คราะห์จากนวัตกรรมท่ี จากการ วชิ าชีพแลกเปล่ยี นปญั หาในการ ครผู ู้สอนประยุกต์ใช้ เชน่ กบั ผ้อู น่ื จัดการเรยี นการสอนของผู้เรยี นที่ คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (CAI) , าชีพกบั หลากหลาย Microsoft PowerPoint เป็น ญหาการ ตน้ บ บริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกัน ความรับผดิ ชอบหลัก ท่ีส่งผลโดยตรงต่อผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผ้เู รยี น และให้นาเสนอ ะดับช้ัน ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้อง ารพัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2 ารเรียนรู้ ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวช้ีวัด (Indicators) ท่ีเป็นรูปธรรม และการ ดาเนนิ การประเมนิ ตามแบบ PA 2 จากการปฏบิ ัติงานจริง สภาพการจัดการเรยี นรู้ใน น ตามขอ้ ตกลงเป็นสาคญั โดยไมเ่ นน้ การประเมินจากเอกสาร

ส่วนท่ี 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทาข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดารง ตาแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวัง คือ การปรับประยุกต์ การ จัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึนหรือมีการ พัฒนามากขึน้ (ท้ังนี้ประเดน็ ท้าทายอาจจะแสดงใหเ้ ห็นถงึ ระดบั การปฏบิ ตั ทิ ่ีคาดหวงั ทส่ี ูงกว่าได)้ ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยใช้เทคนิคการเรยี นการสอบแบบเชิงรุก (Active Learning) เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านท่งุ มา่ น อาเภอเวียงป่าเปา้ จงั หวดั เชียงราย 1. สภาพปัญหาของผเู้ รียนและการจดั การเรียนรู้ สภาพปัญหาของผู้เรียนด้านวิทยาศาสตร์ ยังพบปัญหาอย่างมากในการคิด วิเคราะห์ และการ แก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เน่ืองจากนักเรียนไม่เข้าใจถึงกระบวนการแก้ปัญหา ทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมยังไม่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เท่าที่ควร เน่ืองมาจากบริบทของสิ่งแวดล้อม การเข้าถึงสื่อ/เทคโนโลยีของผู้เรียนค่อนข้างไม่ครอบคลุม จึงส่งผลให้การ จัดการเรียนรู้ต่อผู้เรียนยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ดังน้ัน เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทางวิทยาศาสตร์ท่ีดีขึ้น ครูผู้สอนจึงใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ซึ่งนวตั กรรมท่ีนามาปรับประยุกต์ใชใ้ นการพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาโดยใช้กระบวนการ แก้ปญั หาทางวิทยาศาสตร์ ควรมลี ักษณะเร้าความสนใจของผู้เรยี นท้าทายความสามารถ เขา้ ใจง่าย มภี าพ วาง รูปแบบสวยงามและสามารถฝึกได้ด้วยตนเอง อันจะส่งผลให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาโดยใช้ กระบวนการแกป้ ัญหาทางวิทยาศาสตรแ์ ละประยกุ ต์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ มี ความสาคัญและมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนวิชาท่ีเป็นทักษะมาก เพราะเป็นสื่อการสอนท่ีช่วยลดภาระ ของครู ช่วยให้นักเรียนได้ฝึกทักษะให้ดีขึ้น ส่งเสริมในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคล ทาให้นักเรียนประสบ ผลสาเร็จในทางจิตใจมากข้ึน ช่วยเสริมทักษะแนวคิดเชงิ คานวณใหค้ งทน รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือวัดผลการเรยี น หลงั จากเรียนบทเรยี นแลว้ ตลอดจนนกั เรยี นสามารถทบทวนไดด้ ้วยตนเอง ทาใหค้ รูมองเห็นปญั หาตา่ ง ๆ ของ นักเรียนได้ชัดเจน นักเรียนสามารถฝึกฝนได้เต็มท่ีนอกเหนือจากที่เรียนในเวลาเรียนซึ่งทาให้ผู้เรียนเห็น ความก้าวหน้าของตนเอง เพื่อให้กิจกรรมมีความหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้สามารถนาไป ประยุกต์ใช้ได้ อีกท้ังยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะได้ทุกเวลาจากเทคโนโลยีซ่ึงทาให้กิจกรรม น่าสนใจมากยิง่ ขน้ึ 2. วิธีการดาเนนิ การให้บรรลุผล วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2561) หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งม่าน พุทธศักราช 2561 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2563) และหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2561 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2563) ในเร่ืองของ มาตรฐานการเรียน และตัวชี้วัด พัฒนากระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ และการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ด้วย กระบวนการ PLC เข้ามาช่วยในการแก้ไขปัญหา พัฒนาสื่อและนวัตกรรม และการให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยการฝึกทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ในรายวิชา วิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนติดตามความก้าวหน้าจากการชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบฝึกหัด และกระบวนการคิด วิเคราะห์ และนาไปสู่การแก้ปัญหา โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งพิจารณาจากทักษะการ แกป้ ัญหากระบวนการแก้ปัญหาทางวทิ ยาศาสตรใ์ ห้ถูกต้อง และในระหวา่ งการพัฒนา ครผู ู้สอนนาปัญหาท่ีเกิด

ข้ึนกับผู้เรียนมาแลกเปล่ียนเรียนรู้กับผู้บริหาร ครูผู้สอนต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้เพ่ือท่ีจะหาแนวทางในการ พัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ป็นไปตามท่ีกาหนดไว้ ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เปน็ ดงั นี้ 1. เป็นการเรียนการสอนท่ีพัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการ นาความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ 2. เป็นการเรียนการสอนท่เี ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นร้สู งู สดุ 3. ผู้เรียนสรา้ งองคค์ วามรแู้ ละจดั กระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง 4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนท้ังในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ ร่วมกนั รว่ มมือกันมากกว่าการแข่งขนั 5. ผู้เรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทางาน และการแบ่งหน้าที่ความ รบั ผดิ ชอบ 6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเป็นผู้ จัดระบบการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 7. เปน็ กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นทักษะการคดิ ขน้ั สงู 8. เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนบูรณาการข้อมลู ข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการ ความคิดรวบยอด 9. ผู้สอนจะเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วย ตนเอง 10. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผเู้ รียน 3. ผลลัพธ์การพฒั นาทคี่ าดหวัง 3.1 เชงิ ปริมาณ ร้อยละ 70 ของนักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ และเทคนิคการสอนแบบ Active Learning เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจ เร่ือง ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติ ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านทุ่งม่าน อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพิ่ม สงู ขึ้น 3.2 เชงิ คุณภาพ การปรับประยุกต์/เทคนิค/สื่อการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ และเทคนิคการสอนแบบ Active Learning เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านทุ่งม่าน อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชยี งราย ในการพัฒนาผเู้ รียนใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ลงชือ่ ........................................................... ( นางสาวสนุ ิสา ทนทาน ) ตาแหน่ง ครู ผจู้ ดั ทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ......1....../.....ตุลาคม..../......2564.....

ความเห็นของผู้อานวยการสถานศกึ ษา ( ) เหน็ ชอบใหเ้ ป็นข้อตกลงในการพฒั นางาน ( ) ไม่เห็นชอบใหเ้ ปน็ ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน โดยมขี ้อเสนอแนะเพ่ือนาไปแก้ไข และเสนอ เพ่ือพจิ ารณาอกี คร้งั ดงั นี้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ........................................................... ( นายจตั พุ ล นนั ทโภคิน ) ตาแหน่ง ผ้อู านวยการโรงเรียนบา้ นทงุ่ มา่ น ......1....../.....ตลุ าคม..../......2564.....


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook