อุปกรณถ์ อดยางรถ นายอภเิ ดช พลมนั่ นายวิษณุ บุญเชิด นายชนะพงศ์ เพชรชู โครงการน้เี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี สาขาวชิ าช่างยนต์ วิทยาลยั เทคโนโลยพี ณิชยการสชิ ล ปกี ารศึกษา 2564
อปุ กรณ์ถอดยางรถ นายอภเิ ดช พลมั่น นายวิษณุ บญุ เชิด นายชนะพงศ์ เพชรชู โครงการนีเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของการศึกษาตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี สาขาวิชาช่างยนต์ วิทยาลยั เทคโนโลยพี ณชิ ยการสชิ ล ปีการศึกษา 2565
ก ช่ือโครงการ : อปุ กรณถ์ อดยางรถ ผจู้ ดั ทำ : นายอภิเดช พลมน่ั นายวษิ ณุ บุญเชิด ประเภทวชิ า นายชนะพงศ์ เพชรชู สาขาวชิ า : ช่างอุตสาหกรรม ครูท่ีปรึกษา : ช่างยนต์ ปีการศึกษา : นายสุรศักดิ์ จิตรเยน็ : 2565 บทคัดย่อ โครงการอุปกรณ์ถอดยางรถ มีจุดมุ่งหมายเพื่อจัดสร้างอุปกรณ์ถอดยางรถและเพื่อศึกษาความพึง พอใจของผู้ทไ่ี ด้ทดลองใช้อุปกรณ์ถอดยางรถ โดยโครงการอุปกรณ์ถอดยางรถไดร้ ับการประเมินจากเจ้าของอู่ ซ่อมรถ และลูกจ้างอู่ซ่อมรถทวิท เซอร์วิส หมูที่ 1 ตำบลสิชล อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 5 คน ผลจากการประเมินความพึงพอใจของผใู้ ช้งานอปุ กรณเ์ ครอื่ งถอดอยา่ งจดั อยใู่ นเกณฑ์ดี
ข กติ ตกิ รรมประกาศ โครงการนี้สำเร็จลุล่วงไปไดด้ ้วยดีด้วยความมุ่งมั่นของนักศึกษาที่ได้ร่วมทำโครงการการสบื หาข้อมลู ดำเนินการต่างๆ ตลอดจนแนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีความผิดพลาดเกดิ ขึ้น โครงการฉบับนีจ้ ะสำเร็จ ไม่ได้เลยหากไมม่ ผี ทู้ ีค่ อยช่วยเหลือและสนบั สนุน ขอขอบพระคณุ อาจารยส์ รุ ศักด์ิ จิตรเย็น ทไ่ี ดใ้ ห้ความรู้ ให้คำปรกึ ษา คำแนะนำหลกั การต่างๆ และ แนวทางการแก้ไขปัญหาเกย่ี วกบั เรอื่ งการสรา้ งสิ่งประดษิ ฐ์ อุปกรณ์ถอดยางรถ สุดท้ายน้ผี ้จู ัดทำโครงการขอขอบคุณครอบครวั เพอ่ื นนกั เรยี นและคณะคุณครูทุกท่าน ที่ให้คำปรึกษา และสนบั สนุนในด้านต่างๆ แก่ผู้จดั ทำโครงการนจ้ี นสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีและหวงั อย่างย่ิงว่าโครงการฉบับนี้ จะมีประโยชน์กับนักศึกษารุ่นน้องและบุคคลอื่นๆที่สนใจเกี่ยวกบั โครงการสิ่งประดิษฐ์ อุปกรณ์ถอดยางรถ นี้ ตอ่ ไป คณะผจู้ ัดทำ
สารบัญ ค เร่ือง หน้า บทคัดย่อ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง จ สารบญั รปู ช บทที่ 1 บทนำ 1 1 1.1 หลักการและเหตุผล 1 1.2 วัตถุประสงคก์ ารโครงการ 1 1.3 เป้าหมาย 2 1.4 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั 3 1.5 ระยะเวลาการดำเนนิ โครงการ 3 1.6 งบประมาณ 3 1.7 ผูร้ ับผิดชอบโครงการ 4 บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 5 2.1 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเหล็ก 8 2.2 เอกสารท่เี กีย่ วของกับน็อต 14 2.3 เอกสารที่เกี่ยวข้องกบั ปริ้นตัวลอ็ ค R 14 2.4 เอกสารทเี่ กี่ยวข้องกบั การเชือ่ มดว้ ยไฟฟ้า 18 บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ การ 18 3.1 ออกแบบ Automatic Watering 19 3.2 วัสดุ/อปุ กรณท์ ี่เกี่ยวขอ้ ง 22 3.3 ขั้นตอนการทำ 25 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 25 4.1 การทดสอบการใช้สงิ่ ประดษิ ฐ์ 26 4.2 สรปุ แบบประเมินโครงการ 29 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 29 5.1 สรุปผลการวิจัย 29 5.2 การอภปิ รายผล 30 5.3 ข้อเสนอแนะ 31 บรรณานุกรม
สารบัญ(ต่อ) ง เรือ่ ง หน้า ภาคผนวก ภาคผนวก ก 32 33 การคำนวณโปรแกรม SPSS 34 ภาคผนวก ข 38 39 การตดิ ต้งั โปรแกรม SPSS 17.0 43 ภาคผนวก ค 44 45 ประมวลภาพการนำโครงการสงิ่ ประดิษฐ์ไปใชป้ ระโยชน์ 48 ประมวลภาพจดั ทำโครงการสิ่งประดิษฐ์ ประวตั ิผู้จดั ทำ
สารบญั ตาราง จ เรอ่ื ง หน้า 26 ตารางที่ 4.1 จํานวนรอ้ ยละของเพศผตู้ อบแบบสอบถาม 26 ตารางท่ี 4.2 จํานวนรอ้ ยละของระดบั อายผุ ตู้ อบแบบสอบถาม 27 ตารางท่ี 4.3 จำนวนรอ้ ยละของระดบั การศกึ ษาผู้ตอบแบบสอบถาม 27 ตารางท่ี 4.4 ผลกาศกึ ษาระดบั ความพึงพอใจในการใชอ้ ปุ กรณ์ถอดยางรถ
สารบญั รปู ฉ เรอื่ ง หน้า รูปที่ 2.1 เหล็ก 5 รูปท่ี 2.2 น็อตหกเหลีย่ ม 9 รูปท่ี 2.3 นอ็ ตหกเหล่ยี มมีบา่ 9 รูปท่ี 2.4 น็อตหัวหมวก 9 รปู ท่ี 2.5 น็อตหวั ผ่า 10 รูปท่ี 2.6 น็อตเชอ่ื ม 10 รปู ท่ี 2.7 นอ็ ตลอ็ ค 11 รปู ที่ 2.8 น็อตหางปลา 11 รปู ท่ี 2.9 น็อตสำหรบั ยดึ 11 รปู ที่ 2.10 นอ็ ตขึน้ ลาย 12 รูปที่ 2.11 สกรูเกลยี วไม้ 12 รูปที่ 2.12 สกรูเกลยี ว 12 รูปท่ี 2.13 สกรหู วั จมหกเหลี่ยม 13 รปู ท่ี 2.14 สกรูปลายสว่าน 13 รูปที่ 2.15 หวั ของสกร 13 รูปที่ 2.16 ปริ้นตัวล็อค R 14 รปู ท่ี 3.2 สวา่ นไฟฟ้า 19 รปู ท่ี 3.3 น็อต/สกรเู กลียวหัวหกเหลี่ยม 19 รปู ท่ี 3.4 เคร่อื งเชื่อมโลหะ 19 รปู ที่ 3.5 เคร่อื งตดั เหล็ก 20 รูปที่ 3.6 เหล็กกลมขนาด 2 น้ิว 20 รูปท่ี 3.7 เหลก็ กลมขนาด 4 นิ้ว 20 รูปที่ 3.8 เหล็กกลอ่ งขนาด 1*3 น้วิ 21 รูปท่ี 3.9 เหลก็ แผน่ 21 รูปที่ 3.10 ปริ้นตวั ลอ้ ค R 21 รูปที่ 3.11 สีสเปรย์ 22 รปู ที่ 3.12 ออกแบบช้นิ งาน 22 รปู ท่ี 3.13 วดั และตัดเหลก็ ตามขนาดทตี่ ้องการ 22 รปู ที่ 3.14 นำเหล็กทต่ี ดั มาเช่อื มใหต้ ดิ กนั 23 รปู ที่ 3.15 เจาะเหลก็ เพือ่ ให้สามารถขนั น็อตยึดโครงสรา้ งของชน้ิ งานไวไ้ ด้ 23
สารบัญรปู (ตอ่ ) ช เรอื่ ง หน้า 23 รูปที่ 3.16 พ่นสชี ้ินงาน และนำไปตากให้แห้ง 24 รปู ที่ 3.17 นำช้ินส่วนมาประกอบกัน
1 บทท่ี 1 บทนำ 1. หลกั การและเหตุผล ยานพาหนะถอื เปน็ เคร่อื งจักร เครื่องทนุ่ แรงชนดิ หน่ึงที่จำเปน็ สำหรบั มนษุ ย์ ซึ่งใชเ้ ป็นตวั ช่วย ในการสัญจรเพื่อให้เกิดความสะดวก สบาย และช่วยให้การดำเนินชีวิตเป็นให้ไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยยานพาหนะที่พบเห็นบ่อย ๆบนท้องถนน ได้แก่ รถยนต์ และรถจักรยานยนต์ เปน็ ตน้ เมื่อมกี ารใช้งานไปในระยะเวลาหนึง่ กจ็ ะตอ้ งมกี ารซอ่ มแซมจดุ ที่ชำรุดเสยี หาย การบำรงุ รกั ษา เพือ่ ให้สามารถใช้งานไดใ้ นระยะเวลานาน ในปัจจบุ นั การใช้รถมีเพ่ิมมากข้นึ จากเมื่อก่อน ปญั หาส่วนมากท่พี บในการใชร้ ถจักรยานยนต์ เมื่อเกิดปัญหารถยางรั่ว ทำให้เกิดความเสียหายและเสียเวลาปะหรือเปลี่ยนยาง เพื่อให้เกิดความ สะดวกในการปะยางรถที่รั่วจึงได้พัฒนาอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถเพื่อไห้เกิดความรวดเร็วในการถอด เปล่ียนยางซ่ึงจำเปน็ ต้องมีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกและชว่ ยในการทำงานเพือ่ ให้เกิดความรวดเร็ว ทันตอ่ เวลาและทำงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพในการทำงาน อปุ กรณ์ช่วยให้ผปู้ ฏบิ ัติงาน จากปัญหาและสาเหตุดังกล่าวคณะผู้จัดทำโครงการได้มีแนวคิดที่จะออกแบบและพัฒนา สรา้ งอุปกรณ์ชว่ ยถอดยางรถเพ่ือให้เกดิ ความสะดวกในการถอดและประกอบยางรถ เขา้ ท่เี ดิม มีความ รวดเร็วมากยิ่งขึ้น เหมาะสำหรับผู้ประกอบอาชีพเกี่ยวกับรถเนื่องจากอุปกรณ์ได้ออกแบบมาเพื่อ เหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถ สามารถให้ความสะดวกในการเปลี่ยนยางคณะ ของกะผมจะออกแบบและพัฒนาสร้างเพ่อื ให้มีประสิทธภิ าพใหส้ ูงขึ้น 2. วตั ถุประสงคก์ ารโครงการ 2.1 เพือ่ ออกแบบและพฒั นาสร้างอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถ 2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ทไ่ี ด้ทดลองใชอ้ ุปกรณ์ถอดยางรถ 3. เปา้ หมาย 3.1 เชงิ ปริมาณ 3.1.1 เครอื่ งมือทช่ี ว่ ยถอดยางรถจำนวน 1 คนั 3.2 เชิงคณุ ภาพ 3.2.1 สามารถรับนำ้ หนกั ล้อไดป้ ระมาณ 100 กิโลกรัม 3.2.2 เคร่อื งมอื สามารถชว่ ยให้การถอดประกอบลอ้ งา่ ยข้นึ
2 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั 4.1 เครือ่ งมือช่วยถอดยางมคี ณุ ภาพมากขึ้น 4.2 ผู้เรียนนำความรแู้ ละทกั ษะวิชาชีพไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ านจริง 4.3 ผ้เู รยี นมคี วามสามัคคจี ากการทำงานเป็นทมี 5. ระยะเวลาการดำเนนิ โครงการ จัดทำโครงการเครื่องช่วยถอยยางรถจักรยานยนต์ตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ ถึง 17 มีนาคม 2565 โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี วิธีดำเนนิ การ 20 - 26 27 ก.พ. - 6 - 12 13 – 17 ก.พ. 65 5 ม.ี ค. 65 ม.ี ค. 65 มี.ค. 65 1. ขนั้ เตรยี มการ (Plan) 1.1 รวบรวมข้อมูลและ สำรวจปญั หา 1.2 วางแผนดำเนนิ งาน โครงการ 1.3 เสนอโครงการ 2. ขั้นดำเนนิ การ (Do) 2.1 จดั หาวสั ดุอุปกรณ์ 2.2 ดำเนนิ การตาม แผนการดำเนินงานของ โครงการ 3. ขั้นสรุป รายงานผล และปรบั ปรุง (Act) 3.1 จัดทำรปู เลม่ โครงการ 3.2 สรปุ ผลและรายงาน ผล 3.3 นำเสนอผลงาน
3 6. งบประมาณ จำนวน ราคาต่อหน่วย รวมเงิน หมายเหตุ รายการ ตอ่ หน่วย 550 2 เส้น 550 - 1.เหลก็ กล่อง - 2.น็อต 4 ตัว 20 20 - 3.ปริน้ ล็อคตวั R - 4.เหล็กแบน 1 แผ่น 4 ตวั 30 30 - 5.เหล็กกลม 1 แผ่น 207 207 รวม 2 เสน้ 408 408 1,215 บาท 7. ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นกั ศกึ ษาระดับ ปวส.2 ประเภทวิชา ช่างอุตสาหกรรม นายชนะพงศ์ เพชรชู นักศกึ ษาระดบั ปวส.2 ประเภทวิชา ช่างอุตสาหกรรม นายวิษณุ บญุ เชิด นักศึกษาระดับ ปวส.2 ประเภทวิชา ช่างอุตสาหกรรม นายอภเิ ดช พลมน่ั
4 บทท่ี 2 เอกสารท่เี ก่ียวขอ้ ง ในการศกึ ษาครง้ั น้ีนกั ศึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง เพือ่ เป็นพ้ืนฐานสำหรับ การจัดทำโครงการ โดยแบง่ สาระสำคญั เปน็ หวั ข้อ ดงั นี้ 1. เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับเหลก็ 1.1 ความหมายของเหลก็ 1.2 ลกั ษณะทวั่ ไปของเหลก็ และเหล็กกลา้ 1.3 ประเภทของเหลก็ 1.4 วสั ดเุ หลก็ และการเลอื กใชง้ านเบ้อื งตน้ 2. เอกสารทีเ่ ก่ยี วของกับนอ็ ต และสกรู 2.1 ความหมายของนอ็ ต และสกรู 2.2 ประเภทของนอ็ ต สกรู และการใชง้ าน 3. เอกสารทเ่ี กีย่ วข้องกบั ปริน้ ล็อคตวั R 4. เอกสารทเี่ กีย่ วข้องกบั การเชอ่ื มดว้ ยไฟฟ้า 4.1 ความหมายของการเชือ่ มด้วยไฟฟ้า 4.2 วธิ ีปฏบิ ัติในการเชอื่ มดว้ ยไฟฟา้ 4.3 เคร่อื งมือและอุปกรณ์ในงานเชื่อมด้วยไฟฟ้า
5 1. เอกสารที่เกีย่ วขอ้ งกับเหล็ก 1.1 ความหมายของเหล็ก รูปที่ 2.1 เหล็ก ธาตุเหล็กนั้นมีชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ fe เหล็กนั้นมีประโยชน์อย่างมากในปจั จุบนั เป็นธาตทุ พี่ บเหน็ ได้ในทุกวนั โดยเฉพาะในการก่อสรา้ ง ในโรงงานอุตสาหกรรมอกี ทงั้ ยังเป็นสิ่งสำคัญ ทตี่ อ้ งใชใ้ นการสร้างบ้าน อาคาร ต่างๆ เหลก็ จึงเปน็ ธาตุที่มีความสำคญั อย่างยง่ิ นอกจากนี้แล้วยังใช้ ในการทำเป็นวัสดตุ า่ ง ๆทำเป็นชนิ้ ส่วนของเครือ่ งจกั ร และอืน่ ๆอีกมากมาย ผลิตภัณฑ์เหล็กโดยท่วั ไปผลิตภัณฑเ์ หล่านัน้ สามารถแบง่ ออกได้หลายหมวดหมู่ เช่น ยานยนต์ การก่อสร้าง ภาชนะบรรจุภัณฑ์และการจัดส่ง เครื่องจักรและอุปกรณ์อุตสาหกรรม การ ขนส่งทางรถไฟ อุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ อุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าและเครื่องใช้ในครัว เป็นตน้ โดยเหล็กจะแบง่ ออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือเหล็ก (iron) และ เหลก็ กล้า (steel) ซึ่งท้ังสองประเภทนี้ มีคณุ สมบัติทตี่ ่างกนั หลายประการ แตส่ ่วนใหญก่ ม็ กั จะถูกเรยี กอยา่ งเหมารวมกัน ว่า “เหลก็ ” น่นั เอง 1.2 ลกั ษณะทว่ั ไปของเหล็กและเหล็กกลา้ เหล็กเป็นแร่ธาตุชนิดหนึ่ง ซึ่งจะมีลักษณะเป็นสีแดงอมน้ำตาล เมื่อนำเข้าใกล้กับ แมเ่ หลก็ จะดูดตดิ กัน ส่วนพื้นท่ีทคี่ น้ พบเหล็กได้มากท่ีสุด ก็คอื ตามช้นั หนิ ใตด้ นิ ท่ีอยู่บริเวณที่ราบสูง และภูเขา โดยจะอยู่ในรูปของสินแร่เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งก็ต้องใช้วิธีถลุงออกมา เพื่อให้ได้เป็นแร่เหล็ก บรสิ ทุ ธิแ์ ละสามารถนำมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เหล็กกล้า เป็นโลหะผสม ที่มีการผสมระหว่าง เหล็ก ซิลิคอน แมงกานีส คาร์บอน และธาตอุ ่นื ๆอกี เล็กนอ้ ย ทำใหม้ คี ณุ สมบัตใิ นการยดื หยนุ่ สูง ท้ังมคี วามทนทาน แขง็ แรง และสามารถ ต้านทานต่อแรงกระแทกและภาวะทางธรรมชาติได้อย่างดีเยี่ยม ที่สำคัญคือเหล็กกล้าไม่สามารถ ค้นพบได้ตามธรรมชาติเหมือนกับเหล็ก เนื่องจากเป็นเหล็กที่สร้างขึ้นมาโดยการประยุกต์ของ มนษุ ย์ แตใ่ นปจั จบุ ันกม็ ีการนำเหล็กกลา้ มาใชง้ านอยา่ งแพร่หลาย เพราะมตี น้ ทนุ ตำ่ จึงช่วยลดตน้ ทุน ได้เป็นอยา่ งมาก และมคี ุณสมบัตทิ ี่โดดเด่นไม่แพเ้ หลก็
6 1.3 ประเภทของเหลก็ ประเภทของเหลก็ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 กล่มุ ใหญ่ ๆ ดังนี้ 1.3.1 เหลก็ หลอ่ เปน็ เหลก็ ท่ีใชว้ ธิ กี ารขึ้นรูปด้วยการหลอ่ ขน้ึ มา ซง่ึ จะมปี ริมาณของ ธาตคุ ารบ์ อนประมาณ 1.7-2% จงึ ทำใหเ้ หล็กมคี วามแขง็ แต่ในขณะเดียวกันกม็ คี วามเปราะ และด้วย เหตนุ ้ีจงึ ทำให้เหล็กหล่อ สามารถข้ึนรูปได้แค่วธิ ีการหล่อวธิ ีเดยี วเท่านน้ั ไม่สามารถข้ึนรูปด้วยการรีด หรือวิธีการอน่ื ๆได้ นอกจากนี้เหลก็ หล่อ ก็สามารถแบ่งย่อย ๆ ไดด้ ังน้ี 1) เหล็กหล่อเทา เป็นเหล็กหล่อที่มีโครงสร้างคาร์บอนในรูปของกราฟไฟต์ เพราะมีคารบ์ อนและซิลคิ อนเป็นส่วนประกอบสงู มาก 2) เหล็กหล่อขาว เป็นเหล็กที่มีความแข็งแรงทนทานสูง สามารถทนต่อการ เสียดสีได้ดี แต่จะเปราะจึงแตกหักได้ง่าย โดยเหล็กหล่อประเภทนี้ จะมีปริมาณของซิลิคอนต่ำกว่า เหลก็ หล่อเทา ทง้ั มีคารบ์ อนอยใู่ นรูปของคาร์ไบดข์ องเหลก็ หรือท่เี รียกกวา่ ซเี มนไตต์ 3) เหล็กหล่อกราฟไฟต์กลม เป็นเหล็กที่มีโครงสร้างเป็นกราฟไฟต์ ซึ่งจะมี ส่วนผสมของแมกนีเซียมหรือซีเรยี มอยใู่ นน้ำเหล็ก ทำให้เกิดรปู ร่างกราฟไฟต์ทรงกลมขึ้นมา ทั้งยังได้ คุณสมบัติทางกลในทางที่ดีและโดดเด่นยิ่งข้ึน เหล็กหล่อกราฟไฟต์จึงไดร้ บั ความนิยมในการนำมาใช้ งานอย่างแพรห่ ลายและถูกนำมาใช้งานในอุตสาหกรรมมากขึ้น 4) เหล็กหล่ออบเหนียว เป็นเหล็กทีผ่ ่านกระบวนการอบเพื่อให้ได้คาร์บอนใน โครงสร้างคารไ์ บด์แตกตวั มารวมกับกราฟไฟตเ์ ม็ดกลม และกลายเปน็ เฟอร์ไรด์หรอื เพริ ์ลไลต์ ซ่ึงกจ็ ะมี คณุ สมบัตทิ ่ีเหนียวแนน่ กว่าเหล็กหล่อขาวเป็นอย่างมาก ทง้ั ไดร้ ับความนยิ มในการนำมาใชง้ านทีส่ ุด 5) เหล็กหล่อโลหะผสม เปน็ ประเภทของเหล็กที่มกี ารเติมธาตผุ สมเขา้ ไปหลาย อยา่ งดว้ ยกัน ซงึ่ กจ็ ะช่วยปรับปรุงคณุ สมบตั ขิ องเหล็กให้ดขี ้ึน โดยเฉพาะการทนต่อความร้อนและการ ต้านทานตอ่ แรงเสียดสที ่เี กดิ ขึ้น เหลก็ หลอ่ ประเภทนีจ้ งึ นยิ มใชใ้ นงานทต่ี อ้ งสมั ผัสกบั ความรอ้ น 1.3.2 เหล็กกล้า เป็นเหล็กที่มีความเหนียวแน่นมากกว่าเหล็กหล่อ ทั้งสามารถข้ึน รูปด้วยวิธีทางกลได้ จึงทำให้เหล็กชนิดนี้ นิยมถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายและกว้างขวางมากข้ึน ตัวอย่างเหล็กกล้าที่มักจะพบได้บ่อยๆ ในชีวิตประจำวัน คือ เหล็กแผ่น เหล็กโครงรถยนต์หรือ เหลก็ เส้น เป็นตน้ นอกจากนค้ี ารบ์ อนก็สามารถแบ่งไดเ้ ปน็ กลุม่ ยอ่ ย ๆดังนี้ 1) เหล็กกล้าคาร์บอน จะมสี ว่ นผสมหลักเปน็ คาร์บอนและมีสว่ นผสมอืน่ ๆ ปน อยู่บ้างเล็กน้อย ทั้งน้ีก็ข้ึนอยู่กับจะมีธาตุอะไรตดิ มาในขั้นตอนการถลุงบา้ ง ดังนั้นเหล็กกลา้ คาร์บอน จึงสามารถแบ่งเปน็ ย่อย ๆไดอ้ ีกตามปรมิ าณธาตุที่ผสม ดงั น้ี - เหลก็ คาร์บอนตำ่ มีคารบ์ อนตำ่ กว่า 0.2% และมีความแขง็ แรงตำ่ มาก จงึ นำมารีดเป็นแผน่ ไดง้ ่าย เชน่ เหล็กเส้น เหล็กแผ่น เปน็ ตน้ - เหลก็ กล้าคาร์บอนปานกลาง จะมีคาร์บอนอยู่ประมาณ 0.2-.05% มคี วาม แขง็ แรง สามารถนำมาใชเ้ ป็นช้ินส่วนของเครอ่ื งจักรได้
7 - เหล็กกลา้ คาร์บอนสูง มีคาร์บอนสงู กว่า 0.5% มคี วามแขง็ แรงสูงมาก นยิ ม นำมาอบชบุ ความรอ้ นเพ่อื เพม่ิ ความแขง็ แกรง่ มากขนึ้ และสามารถตา้ นทานต่อการสึกหรอไดด้ ี จงึ นิยมนำมาทำเครอ่ื งมือเครื่องใช้ที่ตอ้ งการผิวแขง็ 2) เหล็กกล้าผสม เป็นเหล็กที่มีการผสมธาตุอื่น ๆเข้าไปโดยเจาะจง เพื่อให้ คุณสมบัติของเหล็ก เป็นไปตามที่ต้องการ โดยเหล็กประเภทนี้มักจะมีความสามารถในการตา้ นทาน ต่อการกัดกร่อนและสามารถนำไฟฟ้าได้ รวมถึงมีคุณสมบัติทางแม่เหล็กอีกด้วย ซึ่งก็จะแบ่งออกได้ เปน็ 2 ประเภท คือ เหลก็ กลา้ ผสมต่ำและเหล็กกล้าผสมสงู โดยเหล็กกล้าผสมต่ำจะเปน็ เหล็กกล้าที่มี การผสมด้วยธาตุอื่น ๆ น้อยกว่า 10% และเหล็กกล้าผสมสูงจะเป็นเหล็กกล้าที่มีการผสมด้วยธาตุ อื่น ๆมากกวา่ 10% 1.4 วัสดุเหลก็ และการเลอื กใช้งานเบื้องต้น เหลก็ กล้า คือ เหล็กท่ีสามารถทําใหแ้ ข็งและมคี ุณสมบตั ิดีขึ้นภายหลังจากได้รับความ ร้อนอย่างถูกต้องตามวิธี โดยหากนําเอาเหล็กกล้ามาเจียระไนและขัดให้เรียบแล้วใช้น้ำกรดเจือจาง ทําความสะอาดท่ผี ิวหนา้ แล้วใชก้ ลอ้ งขยายกําลงั สูงสอ่ งดจู ะเห็นวา่ พนื้ ทน่ี นั้ มีเสน้ และโครงสร้างต่างๆ ท่เี ราเห็นเรยี กว่า โครงสรา้ งทางโลหะ เหลก็ แตล่ ะชนิด โครงสรา้ งแตกตา่ งกันไปขน้ึ อยูก่ ับธาตตุ ่างๆ ท่ี ผสมอยู่ในโลหะนน้ั ๆ และลกั ษณะการกระจายตวั ของธาตุภายในเหลก็ ด้วย เหล็กกลา้ จะมีธาตุต่างๆ ผสมอยูเ่ นอื้ เหล็กมีสูตรเปน็ Fe-C ซึ่งนกั โลหะวิทยาเรียกว่า CEMENTITE นักโลหะ วิทยาได้เรียกชื่อเหล็กกล้าที่อยู่ในสรูปต่างๆ เช่น เหล็กกล้าที่มีธาตุคาร์บอน ผสมอยู่ 0.85% ว่า PEARLITE โดย สามารถแยกออกเปน็ 3 ลกั ษณะ ได้คือ 1. ถา้ หากมีธาตุคาร์บอนผสมอยู่ต่ำกว่า 0.85% เหล็กกลา้ น้ันจะมโี ครงสร้างเป็น แบบ FERRITE 2. ถ้าหากมีธาตุคาร์บอนผสมอยู่ 0.85% เหล็กกล้านั้นจะมีโครงสร้างเป็นแบบ PEARLITE 3. ถ้าหากมีธาตุคาร์บอนผสมอยู่มากกว่า 0.85% เหล็กกล้านั้นจะมีโครงสร้าง เป็นแบบ PEARLITE : CEMENTITE โครงสรา้ งของเหล็กกลา้ ท้ัง 3 แบบนจี้ ะเหน็ ได้โดยการนําเอาเหลก็ กลา้ ไปให้ความ ร้อน โดยให้มีอุณหภูมิต่ำกว่า 721 °C (หากให้ความร้อนเกินแล้วโครงสร้างของเหล็กก็จะเปลี่ยนไป) ถ้าหากเราให้ความร้อนแก่เหล็กขึ้นไป จนถึงจุดจุดหนึ่งแล้ว โครงสร้างก็จะเปลี่ยนไปเป็นแบบ AUSTENITE และเมื่อทำให้เหลก็ น้ันเย็นตัวลงอยา่ งรวดเร็ว โครงสรา้ งแบบ AUSTENITE ก็จะแข็งตวั และเกิดเป็นโครงสรา้ งอกี แบบหน่ึง ซง่ึ มีชอื่ ว่า MARTENSITE เป็น โครงสรา้ งชนิดใหมแ่ ตกต่างไปจาก FERRITE, PEARLITE และ CEMENTITE โครงสรา้ งแบบ MARTENSITE นมี้ ี ความแข็งมาก โครงสรา้ ง ของเหล็กกลา้ แบบตา่ งๆ มีความแขง็ แตกตา่ งกนั ไปดงั ตัวอยา่ งดงั น้ี
8 FERRITE มคี วามแขง็ ประมาณ 80 BRINELL PEARLITE มคี วามแข็งประมาณ 200 – 300 BRINELL CEMENTITE มีความแขง็ ประมาณ 700 BRINELL AUSTENITE มคี วามแข็งประมาณ 180 – 250 BRINELL MARTENSITE มคี วามแข็งประมาณ 650 - 700 BRINELL * * BRINELL เป็นหน่วยวัดความแข็งเหลก็ ชนิดหน่ึง 2. เอกสารทเี่ กีย่ วของกับนอ็ ต 2.1 ความหมายของนอ็ ตและสกรู น็อต เป็นอุปกรณ์ยึดติดชนิดหนึ่งในการก่อสร้าง และ งานช่างที่จะใช้เป็นตัวยึด ส่วนประกอบต่างๆ เข้าด้วยกนั ให้แน่นหนา และแขง็ แรง โดยท่คี นส่วนมากจะเรยี ก สกรูและนอ็ ต รวม เป็นสิ่งเดียวกันว่า น็อต แต่ในความเป็นจริงนั้น มันมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงทั้งรูปร่าง และการใช้งาน น็อตหรือสกรู นั้นก็มีรูปร่างหลายแบบ ซึ่งแต่ละแบบนั้นก็จะถูกออกแบบมาให้ เหมาะกับใช้งาน ในลักษณะที่ต่างกัน ซึ่งน็อตนั้น ก็จะถูกออกแบบมาให้ใช้ทั่วไปสำหรับครัวเรือน ไปจนถึงน็อตทีอ่ อกแบบมาพิเศษ สำหรับอุตสาหกรรมต่าง ๆซึ่งแตกต่างไปตั้งแต่ ขนาด รูปร่าง และ วัสดุ ซ่งึ ผูใ้ ช้ก็จะต้องเลอื กประเภทท่ีเหมาะสมที่สดุ เพ่ือลดความเสยี ตอ่ วสั ดุ อุปกรณ์ และ บคุ ลากร น็อต คือ น็อตตัวเมีย มีลักษณะเป็นรูคล้ายกับแหวน ซึ่งออกแบบมาไว้ใช้ยึดและ หมุนเข้ากบั สกรู สกรู คือ น็อตตัวผู้ มีลักษณะเปน็ แทง่ ยาว และเป็นเกลยี ว ไวส้ ำหรับเจาะ หรอื เสียบ เกลยี วเขา้ กบั นอ็ ต 2.2 ประเภทของน็อต สกรู และการใชง้ าน 2.2.1 ประเภทและการใช้งานของนอ็ ต รูปรา่ งลักษณะของน็อตมีอยู่ดว้ ยกันหลายแบบ ในการเลือกใช้จึงควรเลือกให้ เหมาะสมกับลักษณะงาน เพื่อให้นำมาใช้ได้อย่างมีประสทิ ธิรูปสูงสุด และลดความเสียหายที่อาจเกิด ขึ้นกับอุปกรณ์ วัสดุ รวมถึงลดปัญหางานสะดุดหรือความล้าช้าที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเนื่องจากการ ใช้น็อตผดิ ประเภทได้ โดยประเภทของน็อตมีดังนี้
9 1. นอ็ ตหกเหล่ยี ม (Hex Nuts) รปู ท่ี 2.2 นอ็ ตหกเหลย่ี ม เป็นน็อตที่เห็นได้บ่อยๆ ในงานช่างทั่วไป ลักษณะของน็อตหกเหลี่ยม คือ รูปร่างภายนอกจะมีมุมทั้งหมดหกเหล่ียมมีรูตรงกลาง และมีเกลียวภายในเพื่อใช้หมุนหรือขนั ใหเ้ ข้า กบั สกรู ซึ่งน็อตหกเหลยี่ มนัน้ ยังสามารถแบง่ แยกออกไปไดอ้ ีกหลากหลายประเภท หนา้ ท่ีของน็อตหกเหลยี่ ม คอื ล็อคตัวสกรยู ดึ วสั ดุไวใ้ ห้มคี วามแนน่ หนามากข้ึน ป้องกันการคลายหรือหลุดของตัวสกรู ซึ่งอาจส่งผลต่อความเสียหาย ทำให้วัตถุทั้ง 2 ชิ้นเลื่อนหลุด จากกัน ในส่วนของหลักการทำงานทั่วไปของน็อตหกเหลีย่ ม คือ ใช้สกรูร้อยผา่ นรตู รงกลางของน็อต เพอ่ื ยึดวตั ถุทงั้ 2 ช้นิ ตามตำแหน่งที่ได้กำหนดไว้ จากนั้นใชไ้ ขควงหรอื อุปกรณ์เคร่ืองมือช่าง เพ่ือที่จะ หมนุ เกลียวของน็อตหกเหล่ยี มใหเ้ ขา้ ท่ี เป็นการป้องกันไม่ใหว้ ัตถทุ ้งั 2 ช้ินแยกจากกัน 2. น็อตหกเหลีย่ มมีบ่า (Flanged Nuts) รูปท่ี 2.3 น็อตหกเหลีย่ มมบี ่า ลักษณะของน็อตหกเหลี่ยมมีบ่า คือ ส่วนภายนอกมลี ักษณะที่เปน็ หกเหลี่ยม แต่ส่วนล่างของน็อตมีบา่ ยื่นออกมา ทำให้น็อตชนิดน้ีถกู เรียกว่า เหลี่ยมมีบ่า หรืออีกชื่อ คือ น็อตหัว เหลย่ี มมบี ่า โดยจะมีรตู รงกลางและมีเกลยี วเพ่อื ใหส้ ามารถหมุนเขา้ กบั สกรูได้ ข้อดขี องนอ็ ตหกเหลี่ยม มีบ่า คือ ช่วยลดขั้นตอนความยุง่ ยากในการประกอบตัวน็อตเข้ากับแหวนรองน็อต และเหมาะสมกับ งานในลักษณะท่ตี อ้ งการความแขง็ แรงและแนน่ หนาสูงเป็นพเิ ศษ 3. นอ็ ตหวั หมวก (Domed /Acorn Nuts) รูปท่ี 2.4 น็อตหวั หมวก
10 น็อตหัวหมวกถือได้ว่าเป็นอีกประเภทของน็อตหกเหลี่ยม ลักษณะคือ ภายนอกจะมีรูปร่างเป็นเหลี่ยมๆ หกมุม ด้านบนจะมีส่วนที่เพิ่มขึ้นมาคล้ายคลึงกับหมวก ทำให้ถูก เรียกว่า น็อตหัวหมวก ประโยชน์ของการมีหมวกนั้น คือ เพื่อความสวยงามของชิ้นงาน สามารถช่วย ปกปิดส่วนปลายของสกรูเพื่อป้องกันอบุ ัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการเดินชน เดินเฉี่ยวตัวน็อตได้ โดย การเลือกใช้น็อตชนิดนี้จะต้องมีการคำนึงถึง ขนาดความยาวของตัวสกรูเพื่อให้เหมาะสมและเข้า กับนอ็ ตมากทส่ี ุดด้วย 4. นอ็ ตหัวผา่ (Slotted Nuts) รปู ท่ี 2.5 นอ็ ตหวั ผา่ นอ็ ตหวั ผา่ มีลกั ษณะที่สามารถจดจำได้ง่าย คือ ตัวน็อตภายนอกจะเป็นเหลี่ยม หกมุม บริเวณด้านใดด้านหนึ่งยื่นออกมาเป็นร่อง ลักษณะการใช้งานของน็อตหัวผ่าจะแตกต่าง กบั น็อตชนดิ อื่นๆ คือ ต้องใชส้ กรชู นิดพเิ ศษท่ีมชี ่องเล็กๆ ไว้เสียบกับตวั Pin เมอื่ ทำการประกอบน็อต เข้ากบั สกรูและขันน็อตให้แนน่ เขา้ ท่ีตามต้องการแล้วน้ัน ผูใ้ ชง้ านจะต้องใช้ Pin เสยี บผ่านช่องในส่วน ของสกรู ใหส้ ่วนปลายของ Pin ท้ัง 2 ดา้ นตกอยู่ภายในรอ่ งของน็อต เพอื่ เปน็ การเพ่ิมความแน่นหนา ทำใหน้ อ็ ตคลายเกลียวได้ยากมากขนึ้ เน่อื งจากถกู ลอ็ กไว้จากด้านบน 5. น็อตเช่อื ม (Weld Nuts) รปู ที่ 2.6 น็อตเชอื่ ม นอ็ ตชนิดนี้มรี ปู ร่างลกั ษณะเหมอื นกับน็อตหกเหลี่ยมทุกประการ แตกต่างกัน ตรงลักษณะงานที่ใช้ โดยน็อตชนิดนี้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับงานที่ต้องเชื่อมติดกับวัสดุ เช่น งาน เชอื่ มเหลก็ เปน็ ต้น โดยลักษณะพเิ ศษเล็กๆ ของตัวนอ็ ตทีส่ ามารถใช้แยกออกจากนอ็ ตชนิดอ่ืนได้ คือ บริเวณมุมของน็อตจะมีส่วนที่ยื่นออกมาเพื่อใช้เป็นจุดเชื่อมต่อกับวัสดุนั่นเอง ซึ่งน็อตเชื่อมมีอยู่ ด้วยกันหลายชนิด บางชนิดมีบ่าเข้ามา เพื่อช่วยเพิ่มความสะดวกในการใช้งานให้สามารถกำหนด ตำแหน่งได้ถกู ต้องมากย่งิ ข้นึ สำหรบั ประโยชน์ของนอ็ ตชนิดน้ี คอื ทำให้โลหะชนดิ บางมีความแข็งแรง เพิ่มมากขนึ้
11 6. นอ็ ตลอ็ ค (Lock Nuts) รปู ที่ 2.7 นอ็ ตล็อค การใช้งานวัตถุที่ผ่านการขนั น็อตและสกรูบางชนิด จำเป็นต้องใช้งานที่มีการ สัน่ สะเทือนซ่งึ ส่งผลอาจทำใหเ้ กิดการคลายตวั นอ็ ตได้ ปจั จบุ นั จึงมกี ารพัฒนานอ็ ตลอ็ คขึ้นมา เพือ่ ช่วย ในการป้องกันการคลายเกลียวจากงานที่มีการสั่นสะเทือน ซึ่งนิยมใช้งานโดยกว้างทั้งในงาน ก่อสร้าง หรืองานเครื่องยนตข์ นาดใหญ่ เปน็ ตน้ โดยชนดิ ของน็อตลอ็ ตมีอยู่ด้วยกนั หลากหลายชนดิ 7. นอ็ ตหางปลา (Wing Nuts) รปู ท่ี 2.8 น็อตหางปลา ลกั ษณะของน็อตหางปลา คอื จะมีส่วนทยี่ ่ืนออกมาด้านข้างท้ัง 2 ด้าน คล้าย กับหางปลา น็อตชนิดนี้ถูกออกแบบมาเพื่อ เพิ่มความสะดวกสบายในการใช้งาน สามารถลดการใช้ อุปกรณ์หรือพึ่งพาเครื่องมือตา่ งๆ ได้ เพราะน็อตหางปลาสามารถที่จะใชม้ ือในการหมุดบิดเกลียวให้ แน่น อีกทั้งยังสามารถประยุกต์ใช้กบั งานได้อย่างหลากหลาย เช่น งานที่ต้องใช้ความรวดเร็วในการ ประกอบและการถอด งานประกอบชนิ้ สว่ นเครื่องใช้ หรอื เฟอร์นเิ จอรภ์ ายในบา้ น เป็นตน้ 8. น็อตสำหรับยดึ (Cage Nuts) รูปท่ี 2.9 นอ็ ตสำหรบั ยดึ น็อตที่ใชส้ ำหรับการยึดอปุ กรณ์ หรอื อาจะเรียกวา่ น็อตยึด Rack มลี กั ษณะ เป็นรูปส่เี หลยี่ มดา้ นขา้ งจะมขี ายน่ื ออกมา โดยเวลาทจ่ี ะประกอบจะตอ้ งบีบขาน็อตและใสล่ งตามช่อง Rack นอ็ ตชนิดนีพ้ บไดบ้ ่อยในงานทเี่ กย่ี วกบั ไฟฟ้า เช่น อปุ กรณเ์ คร่อื งใช้ไฟฟ้าในบ้านตา่ งๆ เปน็ ตน้
12 9. นอ็ ตขึ้นลาย (Knurled Nuts) รปู ที่ 2.10 นอ็ ตขึ้นลาย ตัวน็อตขึ้นลายถูกออกแบบมาเพื่อให้สามารถใช้มือหมุนได้ ไม่ต้องพึ่งพา อุปกรณ์ เครื่องมือตา่ งๆ เพิ่มความสะดวกสบายในการใช้งานได้เป็นอย่างดี จงึ เหมาะสำหรับงานที่ต้อง ถอดประกอบและขนย้ายบ่อยๆ อีกท้ังยงั สามารถใชก้ ับงานท่ีต้องการปรับเพ่มิ ลดความแน่นหนาของ การล็อคไดด้ ้วย 2.2.2 ประเภทและการใช้งานของสกรู สกรูแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. สกรูเกลียวไม้ (Wood screw) รูปที่ 2.11 สกรูเกลียวไม้ สกรูเกลียวไม้ เป็นสกรูที่เป็นเกลียวไม้ตลอด ปลายแหลม ไม่ใช้กับหัวน็อต ตัวเมีย ใช้ขันเข้าไม้หรือพลาสติกได้โดยตรง มีหลายแบบขึ้นกับชนิดของหัวสกรู 2. สกรูเกลียว (Screw thread) รูปท่ี 2.12 สกรูเกลียว สกรูเกลียว สกรูท่ีใช้ร่วมกับหัวน็อตตัวเมีย หรือสลักตัวเมีย มีหัวสกรุหลาย แบบทั้งเตเปอร์ หัวหนา หัวหกเหลียม ความยาวรวมคือสกรูตัวผู้ที่ใช้ร่วมกับน็อต
13 3. สกรูหัวจมหกเหลี่ยม (Hexagon socket head screw) รูปท่ี 2.13 สกรูหัวจมหกเหล่ียม สกรูหัวจมหกเหลี่ยม เป็นสกรูที่มีหัวหลายแบบ แต่จะมีลักษณะหัวเป็นหัว จมหกเหล่ียมที่ใช้กุญแจหัวหกเหลียมขัน มีหัวสกรูหลายแบบ แต่โดยรวม คือ สกรูหัวจม 4. สกรูปลายสว่าน (Drill bit screw) รูปที่ 2.14 สกรูปลายสว่าน สกรูปลายสว่าน เป็นสกรูท่ีมีปลายคล้ายหัวสว่านไขเข้าไปในเนื้อเหล็ก โดยตรง ไม่ต้องเจาะนำ มีหัวหลายแบบข้ึนกับการใช้งาน หัวของสกรูจะมีหลายประเภท ดังนี้ รูปที่ 2.15 หัวของสกรู
14 1. หัวเตเปอร์ (Countersunk) หรือ หัว F(Flat Head) หรือหัวเรียบ JF+ 2. หัว O (Oval Head) 3. หัว P (Pan Head) หรือ หัวกลมนูน JP+ 4. หัว T (Truss Head) หรือ หัวกะทะ JT+ 5. หัวกลม (Round Head) 6. หัวหกเหลี่ยม (หรือ หัวเหล่ียม) (Hex Head) 7. หัวหกเหลี่ยมติดแหวน (หรือ หัวเหลี่ยมติดจาน) 8. หัวหกเหลี่ยมผ่า 9. หัวจม 10. หัวกระดุม (Button Head) 3. เอกสารที่เก่ยี วข้องกับปรน้ิ ตัวลอ็ ค R รูปท่ี 2.16 ปรน้ิ ตวั ล็อค R ปริ้นล็อค หรือปิ๊นตัวล็อค R มีลักษณะคล้ายตัวอักษรตัว R ออกแบบมาเพื่อใช้ล็อค แกนเพลา หรือสลักต่าง ๆการใช้งาน คือใช้งานง่าย สะดวก เพียงเริ่มจากการเจาะรูที่มีขนาดใหญ่ กว่าขนาดของความโตของแกนปริ้นล็อค แค่นี้เราก็จะสามารถเสียบปริ้นล็อคเข้าไปอย่างง่ายดาย โดยการใช้คีมบีบหรือตอกเข้าไปในรูตัวปริ้นล็อค จะทำหน้าที่ล็อคสลักหรือกับชิ้นงานต่าง ๆไม่ให้ เล่ือนหรือขยับไปไหน เท่านี้เราก็สามารถล็อคแกนเพลาหรือสลักอ่ืนๆได้อย่างแน่นหนาแล้ว 4. เอกสารที่เก่ียวข้องกับการเช่ือมดว้ ยไฟฟา้ 4.1 ความหมายของการเชื่อมดว้ ยไฟฟา้ การเชื่อมด้วยไฟฟ้าเป็นตัวประกอบในการทำงาน โดยการใช้ลวดเชื่อม (Electrode) ซึ่งเป็นข้ัวบวกมาสัมผัสกับงานเชื่อมซึ่งขั้วลบ การเอาประจุไฟฟ้าลบ (Negative) วิ่งไป ประทะกับประจุไฟฟ้าบวก (Positive) จะเกิดการสปาร์ค (Spark) ขึ้น ซึ่งเรียกว่า อาร์ค (Arc) ในขณะเดียวกันลวดเช่ือมซ่งึ หอ่ หุ้มด้วยสารเคมกี ็หลอมละลายลงไปในงานเช่ือมดว้ ย ทำให้โลหะหรือ ชนิ้ งานเช่อื มติดเปน็ เนือ้ เดยี วกันได้ตามต้องการ
15 4.2 วิธปี ฏิบัตใิ นการเช่ือมดว้ ยไฟฟ้า การเชื่อมดว้ ยไฟฟา้ มวี ธิ ปี ฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. เลือกเครื่องเชื่อมแบบที่ต้องการ D.C. / A.C. และต่อสายดิน (Ground) ให้ ถกู ต้อง 2. เลือกใช้หน้ากากให้เหมาะสมกับใบหน้า และชนิดของกระจก เพื่อป้องกันรังสี อลั ตร้าไวโอเลต 3. ตรวจดสู ายเช่ือมและสายดนิ ให้เรียบรอ้ ย ข้อตอ่ สายตอ้ งแนน่ เพ่อื ปอ้ งกนั ไฟรวั่ 4. นำสายดนิ คีบช้นิ งาน หรือโต๊ะทำงานให้แนน่ และสะอาดปราศจากสนิม 5. หมุนปรับกระแสไฟบนเครื่องเชื่อมให้เหมาะสมกับงานเชื่อม ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิด และความหนาของโลหะ และไมค่ วรปรบั ประแสไฟขณะเครือ่ งเช่ือมกำลังทำงานอยู่ ควรปิดสวิตซก์ อ่ น ปรบั กระแสไฟ 6. ใช้ตวั จับลวดเชือ่ มคีบลวดเชอ่ื มใหแ้ น่น ทางด้านปลายที่ไม่มีปลก๊ั หมุ้ 7. ถือลวดเชื่อมให้ตั้งตรง แล้วจ่อไว้ใกล้ ๆบริเวณที่จะเริ่มต้นเชื่อม อย่าให้แตะ ช้ินงาน จนกว่าจะใชห้ นา้ กากบงั ใหเ้ รยี บร้อย 8. จี้ลวดเชื่อมลงบนแผ่นงานเบา ๆแล้วรีบยกมือกระดกขึ้น เพื่อลวดเชื่อมห่างจาก แผ่นงาน โดยเร็วและเดินลวดเชื่อมไปข้างหน้าช้า ๆฝึกทำจนเชื่อมได้เป็นอย่างดี ถ้าลวดเชื่อมติด ชิ้นงานดึงไมอ่ อก ต้องอ้าหวั จบั ลวดเชอื่ มออกหรอื ปิดสวิตซแ์ ลว้ ตอี อก แล้วทำการเช่ือมใหม่เหมอื นเดิม 9. ควรถือลวดเชอ่ื มให้เอยี งออกจากแนวเช่อื มประมาณ 15 - 30 องศา 10. หลังจากเชื่อมได้แล้วต้องทำความสะอาดรอยเชื่อม โดยใช้ค้อนเคาะสแลกท่ี เกาะอย่ตู ามแนวเชอ่ื ม แล้วใชแ้ ปรงลวดปดั ใหส้ ะอาด ท่าเช่อื มพืน้ ฐาน ทา่ เชือ่ มพน้ื ฐาน (Position) คอื ทา่ ทผ่ี ูป้ ฏิบัติต้องกระทำต่อชิน้ งานทเ่ี ชอ่ื ม ในกรณีที่ ไม่สามารถเคลื่อนย้ายชิ้นงานได้ ท่าเชื่อมพื้นฐานมี 4 ตำแหน่งท่าเชื่อม คือ ตำแหน่งท่าราบ (Flat Position), ตำแหน่งท่าตั้ง (Vertical Position), ตำแหน่งท่าแนวนอน (Horizontal Position) และตำแหนง่ ท่าเหนือศีรษะ (Overhead Position) รอยตอ่ ของงานเช่ือมไฟฟา้ รอยต่อพื้นฐานที่ใช้ในงานเชื่อมไฟฟ้ามี 5 แบบ แต่ละแบบมีการวางแผ่นโลหะ แตกตา่ งกนั ดงั ต่อไปนี้ 1. รอยตอ่ ชน (Butt Joint) แผน่ โลหะท้ังสองแผ่นวางชดิ ติดในแนวเดียวกนั 2. รอยตอ่ เกย (Lap Joint) ลักษณะการวางโลหะ ทัง้ สองแผน่ เหมือนรอยตอ่ ชนแต่ วางทบั กนั
16 3. รอยตอ่ มมุ (Corner Joint) คือ การวางโลหะ พิงหรือชนกนั ใหเ้ กดิ เปน็ มมุ การต่อ ด้วยรอยต่อนตี้ ้องอาศัยปากกาจับชน้ิ งานช่วย 4. รอยต่อขอบ (Edge Joint) คือ การนำแผ่นโลหะ 2 แผ่นมาวางซ้อนกันแล้ว เชื่อมตอ่ ขอบของโลหะทงั้ สองตดิ กนั 5. รอยตอ่ ตวั ที (T – Joint) แผ่นโลหะแผน่ หน่งึ จะนอนและโลหะอกี แผน่ หนึ่งจะ ลักษณะเหมอื นอักษรภาษาอังกฤษตัวที (T) การเร่มิ ต้นอารค์ การเร่ิมตน้ อาร์ค (Striking the Arc) เปน็ สง่ิ จำเป็นสำหรบั ผฝู้ ึกหดั เชือ่ มไฟฟ้า เพื่อให้ เกิดทักษะความชำนาญแล้วพัฒนาไปสู่การเดนิ แนวเช่อื มท่ยี ากและซับซ้อนต่อไป การเริม่ ต้นอาร์คทำได้ 2 วธิ ี คอื 1. การขีดหรือลาก (Scratching) คือ การอาร์คเชื่อมโลหะต่อไปเรื่อย ๆโดยไม่ยก ลวดเชื่อมข้ึนตลอดการอาร์คงาน โดยเริ่มจากการจดลวดเชื่อมเอียง 20 – 25 องศา แล้วขีดหรือลาก ลวดเช่ือมมาจนลวดเชื่อมทำมมุ 90 องศา 2. การเคาะหรือกระแทก (Straight down and up) คือ การเชื่อมโลหะที่ยกลวด ขนึ้ ลงเหมือนการเคาะหรอื กระแทกตลอดการอาร์คงาน 4.3 เคร่อื งมอื และอปุ กรณใ์ นงานเชอ่ื มด้วยไฟฟา้ การเชอ่ื มดว้ ยไฟฟา้ จะตอ้ งมีเครื่องมอื และอปุ กรณ์ทีจ่ ำเปน็ ดงั นี้ 4.3.1 เครื่องเชื่อมไฟฟ้า (Welding Machine) เป็นแหล่งผลิตหรือเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการเชื่อม ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานความร้อน โดยการทำให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าต่ำ (โวลต์ต่ำ) แต่มีกระแสไฟฟ้าสูง (แอมป์สูง) ซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อ ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน เครอ่ื งเชอ่ื มไฟฟา้ โยท่วั ไป แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ ใหญ่ ๆคือ เคร่ืองเชอ่ื มไฟฟ้ากระแสสลับ และเครื่องเชอ่ื มไฟฟา้ กระแสตรง 4.3.2 หนา้ กากเชอื่ มไฟฟา้ สว่ นใหญ่มักทำดว้ ยไฟเบอร์ มีเลนส์ไว้สำหรับกรองแสง และรังสีแต่ให้ผู้ปฏิบัติงานได้เห็นการหลอมละลายของการเชื่อมได้ หน้ากากเชื่อมไฟฟ้าจะ มี 2 แบบคือ 1. แบบมอื จบั (Hand Shield) ใชก้ ับงานทว่ั ไป 2. แบบสวมศีรษะ (Head Shield) ซึ่งจะใช้กับงานก่อสร้าง โครงสร้างงาน สนาม หรอื งานที่จำเปน็ ต้องใชม้ อื จับงานขณะเชอ่ื ม 4.3.3 ค้อนเคาะสแลก ทำจากเหล็กเครื่องมือ (Tool Steel) มีคมที่หัวทั้ง 2 ด้าน ด้านหน่งึ คมแบนและอกี ด้านหนึ่งคมเปน็ เรยี ว ใช้สำหรบั เคาะสแลกทีผ่ วิ เชือ่ มออกจากแนวเชอ่ื ม 4.3.4 แปรงลวด เป็นอุปกรณ์ปัดทำความสะอาดผิวรอยเชื่อมทั้งก่อนและ หลงั การเช่อื ม
17 4.3.5 ถงุ มอื หนงั ทำด้วยหนงั อ่อน ใชใ้ สป่ ฏบิ ัติงาน เพอื่ ปอ้ งกนั ความรอ้ น รงั สี และ คมของโลหะ 4.3.6 คมี จับงานรอ้ น ใช้คบี จับงานท่ีเชอื่ มแลว้ และมคี วามร้อนอยู่ ปากคมี ขึ้นอยู่กับ รปู รา่ งของงานเชน่ งานแผน่ ก็ใชค้ มี ปากแบน งานกลม (เพลา) ก็ใช้คมี ปากกลม 4.3.7 หัวจับลวดเชื่อมไฟฟ้า(Electrode Holder) ใช้สำหรับคีมจับลวดเชื่อม ไฟฟา้ ทำจากวสั ดทุ ี่เป็นฉนวนทนความร้อนมีหลอดทองแดงผสมฝังอยภู่ าย ในของด้านจับเพื่อไว้ใส่สายเคเบิลเชื่อม มีสปริงที่คันบังคับไว้จับหรือปล่อยลวดเชือ่ ม ที่ปากมีการทำ เป็นฟนั หยกั ไขวส้ ลบั ไวเ้ พ่อื เป็นรอ่ งบงั คบั ลวดเชอ่ื มใหแ้ นน่ 4.3.8 คีมคีบสายดิน(Ground Clamp) ส่วนใหญ่ทำจากการหล่อทองแดงผสม มี สปริงดนั ก้านไว้คีบจบั งานเพอื่ ให้กระแสไฟฟา้ เชือ่ มครบวงจร 4.3.9 สายเชื่อมไฟฟ้า เป็นสายไฟฟ้าขนาดใหญ่ชนิดออ่ นมีลวดทองแดงเส้นเล็กๆ เรียงกันอยู่ภายในสายประมาณ 800 – 2,500 เส้น มีฉนวนหุ้มหลายชั้น สำหรับเครื่องเชือ่ มไฟฟ้าจะ ใช้ 2 เส้น เส้นหนึ่งนำกระแสไฟฟ้าจากเครื่องไปสู่งานเรียกว่า เคเบิลสายเชื่อม ซึ่งต่อกับหัวจับลวด เชอื่ ม ส่วนอีกเส้นหนงึ่ นำกระแสไฟฟ้าจากงานกลับมายังเครอ่ื งเชือ่ มเรยี กว่า เคเบลิ สายดนิ
18 บทที่ 3 วิธีดำเนินการ ในการศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ของการจัดทำโครงการ เพื่อเพื่อออกแบบและพัฒนาสร้าง อุปกรณ์ชว่ ยถอดยางรถ และเพอื่ เพ่ิมคณุ ภาพของอุปกรณช์ ว่ ยถอดยางรถให้สะดวกต่อการใชง้ าน โดย ผ้จู ดั ทำได้กำหนดวิธีดำเนินการ ดงั นี้ 3.1 ออกแบบ Automatic Watering เริม่ ตน้ รวบรวมข้อมลู /สำรวจปัญหา วางแผนการดำเนินงานและนำเสนอโครงการ ตรวจสอบและประเมิน ปรับปรุง นำเสนอโครงการทถ่ี อดยางรถ ปรับปรุง ตรวจสอบและประเมนิ จดั รายงาน ตรวจสอบและประเมนิ ปรับปรุง . จบการทำงาน รปู ที่ 3.1 แผนผังการทำงาน
19 3.2 วัสดุ/อปุ กรณ์ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 1. สวา่ นไฟฟ้า รปู ท่ี 3.2 สวา่ นไฟฟา้ 2. นอ็ ต/สกรูเกลยี วหัวหกเหลยี่ ม รปู ที่ 3.3 น็อต/สกรเู กลยี วหวั หกเหลี่ยม 3. เครอื่ งเชอื่ มโลหะ รูปที่ 3.4 เคร่ืองเชื่อมโลหะ
20 4. เคร่อื งตัดเหลก็ รปู ที่ 3.5 เครอื่ งตัดเหล็ก 5. เหลก็ กลมขนาด 2 นวิ้ รูปที่ 3.6 เหลก็ กลมขนาด 2 น้ิว 6. เหล็กกลมขนาด 4 นวิ้ รปู ที่ 3.7 เหลก็ กลมขนาด 4 น้ิว
21 7. เหล็กกล่องขนาด 1*3 นว้ิ รปู ท่ี 3.8 เหล็กกล่องขนาด 1*3 นวิ้ 8. เหลก็ แผน่ รปู ที่ 3.9 เหล็กแผน่ 9. ปริ้นตัวลอ้ ค R รูปที่ 3.10 ปรน้ิ ตวั ล้อค R
22 10. สสี เปรย์ รปู ท่ี 3.11 สีสเปรย์ 3.3 ขั้นตอนการทำ 1. ออกแบบชนิ้ งาน รปู ท่ี 3.12 ออกแบบชนิ้ งาน 2. วัดและตัดเหล็กตามขนาดทตี่ ้องการ รูปที่ 3.13 วัดและตดั เหล็กตามขนาดท่ีตอ้ งการ
23 3. นำเหล็กท่ีตัดมาเชอ่ื มใหต้ ิดกัน รปู ท่ี 3.14 นำเหลก็ ท่ตี ดั มาเช่อื มใหต้ ดิ กนั 4. เจาะเหลก็ เพ่ือให้สามารถขันนอ็ ตยึดโครงสรา้ งของชิ้นงานไว้ได้ รปู ท่ี 3.15 เจาะเหลก็ เพ่อื ให้สามารถขนั น็อตยึดโครงสรา้ งของชนิ้ งานไวไ้ ด้ 5. พ่นสีในส่วนต่าง ๆของเหล็กที่ตัดเอาไว้ตามที่ต้องการ และนำไปตาก ให้แห้ง รปู ที่ 3.16 พน่ สีช้ินงาน และนำไปตากให้แห้ง
24 6. นำช้นิ สว่ นมาประกอบกัน โดยใชน้ อ็ ตและสกรูยึดตามจดุ ท่เี ชื่อมตอ่ จากนั้นใช้ ปริ้นลอ็ คตัว R ล็อคน็อตทใ่ี ช้สำหรบั ปรับระดบั ของเหล็ก รูปที่ 3.17 นำชน้ิ ส่วนมาประกอบกัน
25 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมาย ในการดําเนินโครงการที่ถอดยางรถ โดยใช้วิธีการ ออกแบบ สอบถาม และเกบ็ ขอ้ มลู จากเจ้าของอาซอ่ มรถและลกู จา้ งในอู่ทวิท เซอร์วสิ หมทู่ ่ี 1 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช จํานวน 5 คน จากนั้นนําขอ้ มูลมาประเมิน โดยใช้โปรแกรมสําเรจ็ รปู ทาง สถิติ ไดท้ าํ การวิเคราะหข์ ้อมลู และแปลความหมายได้ ดงั น้ี 4.1 การทดสอบการใชส้ ่ิงประดิษฐ์ ผู้จัดทําโครงการมีวิธีการทดสอบการใช้งานของโครงการ โดยการนําออกไปเผยแพร่ ณ สถานท่ีอู่ซ่อมรถ หมู่ท่ี 1 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเจ้าของร้าน และ ลูกจ้าง และได้ทําการทดสอบการใช้งานของสิ่งประดิษฐ์ที่ได้จัดทําขึ้นมา และได้สอบถามเจ้าของอู่ ซ่อมรถว่าสิ่งประดิษฐช์ ิ้นนี้เป็นยงั ไง ซ่ึงผลที่ได้รับคือ มีความคิดสร้างสรรค์ที่ดี และเป็นประโยชน์ต่อ การเปล่ยี นยางรถและถอดประกอบลอ้ เปน็ อย่างมาก ในการออกเผยแพรค่ รงั้ น้ไี ดร้ ับความร่วมมือจาก อซู่ อ่ มรถในการเผยแพร่ความรู้เกยี่ วกับโครงการเป็นอยา่ งดี รูปที่ 4.1 การนำไปทดลองการใช้งาน
26 รูปที่ 4.2 การทดลองใชอ้ ุปกรณ์ถอดยางรถ 4.2 สรุปแบบประเมินโครงการ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์เกยี่ วกับขอ้ มูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม เพศ จำนวน(คน) รอ้ ยละ ชาย 4 80 หญงิ 1 20 รวม 5 100 ตารางที่ 4.1 จํานวนร้อยละของเพศผตู้ อบแบบสอบถาม จากตารางท่ี 4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เปน็ เพศชาย และรองลงมาเปน็ เพศหญงิ เพศชาย มีจํานวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 75 สว่ นเพศหญิง จาํ นวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25 อายุ จำนวน(คน) ร้อยละ ต่ำกวา่ 18 ปี 0 0 18 - 30 ปี 1 20 31 – 40 ปี 3 60 สูงกวา่ 40 ปี 1 20 ตารางที่ 4.2 จํานวนร้อยละของระดับอายุผ้ตู อบแบบสอบถาม จากตารางที่ 4.2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่อย่ใู นช่วงอายุ 31 – 40 ปี จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมาคืออายุ 18 - 30 ปี และอายุสูงกว่า 40 ปี จํานวน 1 คน คิดเป็น ร้อยละ 20
27 ระดับการศึกษา จำนวน(คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาตอนต้น 0 0 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3 60 หรอื ปวช. ปวส. 2 40 ปริญญาตรี 0 0 ตารางที่ 4.3 จำนวนรอ้ ยละของระดับการศกึ ษาผู้ตอบแบบสอบถาม จากตารางที่ 4.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามระดับการศึกษาส่วนใหญ่เป็นมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือ ปวช. จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมาเป็น ปวส. จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 40 ตอนที่ 2 ผลการศึกษาระดับความพงึ พอใจในการใชอ้ ปุ กรณถ์ อดยางรถ ประเดน็ ความคดิ เห็น X S.D. ระดับความพงึ พอใจ 1. ความเหมาะสมของชิ้นงาน 4.50 0.578 ดี 2. สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั 4.50 0.578 ดี ได้ 3. เพิม่ คณุ ภาพของอปุ กรณ์ชว่ ยถอดยางรถ 4.25 0.500 ดี ใหส้ ะดวกต่อการใชง้ านมากขนึ้ 4. เพ่ือสรา้ งรายไดใ้ ห้ผูป้ ระกอบการได้มาก 4.00 0.000 ดี ขึน้ 5. ความคดิ สร้างสรรค์ 4.50 0.578 ดี รวม 4.35 0.252 ดี ตารางท่ี 4.4 ผลกาศึกษาระดบั ความพงึ พอใจในการใช้อปุ กรณ์ถอดยางรถ จากตารางที่ 4.4 ผลความพึงพอใจในการใช้อุปกรณ์ถอดยางรถมีระดบั ความพึงพอใจอยู่ใน เกณฑด์ ี โดยภาพรวมพบว่าระดบั ความพงึ พอใจของเจ้าของอู่ซอ่ มรถ และลูกจ้าอู่ทวิท เซอวสิ หมู่ที่ 1 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช จํานวน 5 คน อยู่ในเกณฑ์ดี (X = 4.35) เมื่อพิจารณาตามระดับ ความพงึ พอใจที่มากท่ีสุด คอื ขอ้ ท่ี 1ความเหมาะสมของช้นิ งาน ขอ้ ที่ 2 สามารถนํามาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวันได้ และข้อที่ 5 ความคิดสร้างสรรค์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 ( X = 4.50) รองลงมาคือ ข้อที่ 3 เพิ่มคุณภาพของอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.25 ( X = 4.25) และ ข้อที่ 4 เพื่อสร้างรายไดใ้ ห้ผู้ประกอบการได้มากขึน้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 ( X = 4.00)
28 ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ การวิเคราะหข์ ้อมูลจากขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ ของเจา้ ของอูซ่ อ่ มรถและลูกจ้างในอทู่ วทิ เซอวสิ หมทู่ ่ี 1 ต.สิชล อ.สิชล นครศรธี รรมราช จาํ นวน 5 คน ในการทดสอบโครงการส่ิงประดิษฐ์อุปกรณ์ ถอดยางรถ โดยนํามาเขียนเปน็ ความเรียง ปรากฏผลตามรายละเอียดดังนี้ 1. ควรเลอื กใช้วัสดทุ ีม่ ีราคาถูกกวา่ น้ี 2. ควรมกี ารเคล่ือนย้ายท่สี ะดวก เช่น พบั เก็บ หรือ ถอดประกอบได้
29 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพือ่ ออกแบบและพัฒนาสร้างอปุ กรณช์ ่วยถอดยางรถ และ เพอื่ ศกึ ษาความพึงพอใจของผู้ที่ได้ทดลองใช้อุปกรณ์ถอดยางรถ ซ่งึ กลุ่มตัวอย่างทเ่ี ข้าร่วมการทดลอง ใช้อุปกรณ์ช่วยถอดยางรถในครั้งนี้เปน็ เจ้าของอูซ่ ่อมรถ และลูกจ้างในอู่ทวิท เซอวิส หมู่ที่ 1 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช เป็นจํานวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความพึงพอใจเป็น แบบสอบถามสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จํานวน 5 รายการ และแบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 สภาพทั่วไป ตอนท่ี 2 ระดบั ความพึงพอใจ ความรู้ความเข้าใจการนาํ ไปใช้ต่อการเข้า ร่วมโครงการ และตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ โดยวเิ คราะห์ขอ้ มูลด้วยการใช้โปรแกรมสําเร็จรูปทาง สถิติ SPSS การคิดร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา คณะผู้จัดทํา วิจัยจึงนําเสนอการสรปุ ผลการวิจัย อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ ดังน้ี 5.1 สรปุ ผลการวิจยั 5.1.1 การจัดทําโครงการอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถ คณะผู้จัดทําโครงการสิ่งประดิษฐ์นี้ ได้ ศกึ ษาเอกสาร ทฤษฎี งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง รา่ งแบบ และให้อาจารย์ที่ปรึกษาได้ ตรวจสอบ และให้คํา ชี้แนะ จากนั้นคณะผู้จัดทําได้นําไปปรับปรุง แก้ไข และจัดทําเป็นโครงการสิ่งประดิษฐ์ โดยใช้ช่ือ โครงการว่า อุปกรณ์ช่วยถอดยางรถ ที่ประกอบด้วย เหล็ก น็อต สกรู ปริ้นล็อคตัว R มารวมกัน ทัง้ หมดใหเ้ กิดขึ้นเป็นโครงการส่ิงประดิษฐ์ ซึ่งไดผ้ ลวเิ คราะหข์ ้อมลู ความพงึ พอใจท่ีมีต่อ อุปกรณ์ช่วย ถอดยางรถ โดยภาพรวมพบว่ามรี ะดบั ความพงึ พอใจอยูใ่ นเกณฑด์ ี รวมทง้ั ชว่ ยเพิม่ ความสะดวกในการ ถอดยางรถ 5.1.2 โดยภาพรวมพบว่า ระดับความพึงพอใจของเจ้าของอู่ซ่อมรถและลูกจ้างในอู่ทวิท เซอร์วสิ หมทู่ ่ี 1 ต.สิชล อ.สชิ ล จ.นครศรีธรรมราช จํานวน 5 คน อยูใ่ นเกณฑด์ ี โดยมคี ่าเฉล่ียเท่ากับ 4.35 (X = 4.35) มี 3 ด้าน เป็นจํานวน 5 ขอ้ 5.2 การอภปิ รายผล 5.2.1 โครงการสิ่งประดิษฐ์อุปกรณ์ถอดยางรถ ที่คณะผู้จัดทําได้จัดทำขึ้นมาจนประสบ ความสําเร็จในครั้งนี้ อธิบายได้ว่ามาจากการคิด วิเคราะห์ ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมประมวลผลความรู้ และวิเคราะห์จัดทาํ โครงร่างตน้ แบน ดำเนนิ งานตามแบบการท่ีวางไว้ และได้รบั การดูแลจากอาจารย์ทปี่ รึกษา โดยใหค้ ําปรึกษา แก้ปัญหา และปรับปรุงมาโดยตลอด ทําให้ โครงการสง่ิ ประดษิ ฐ์ท่ีชอ่ื ว่า อุปกรณ์ถอดยางรถ ไดร้ บั คําตอบรับกลับมาเปน็ อยา่ งดี
30 5.2.2 กลุ่มตัวอยา่ งผู้เข้าร่วมทดสอบโครงการสิ่งประดิษฐ์ อุปกรณ์ถอดยางรถ เป็นอู่ซ่อมรถ ทวิท เซอรว์ ิส หมทู่ ่ี 1 ต.สิชล อ.สชิ ล จ.นครศรีธรรมราช ได้ทราบข้อมูล และ วิธีใช้งานต่าง ๆ ซึง่ ได้ผล ตอบรับในระดบั ความพงึ พอใจโดยภาพรวม อยูใ่ นเกณฑด์ ี 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 จากการจดั ทําโครงการสิง่ ประดษิ ฐ์ ที่มชี อื่ ว่า อุปกรณ์ถอดยางรถของนกั ศึกษา ปวส.2 ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวชิ าช่างยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสชิ ล คณะผู้จัดทําวิจัยจึง ได้แนวคิดทจ่ี ะเสนอแนะมดี ังน้ี 1. ควรมีการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการถอดเปลี่ยนยางรถ เพื่อที่จะนํามาพัฒนา โครงการสิ่งประดษิ ฐ์อุปกรณ์ถอดเปลย่ี นยางรถทง่ี า่ ยและสะดวกกับผู้ใช้งาน 2. ควรเพ่มิ ชอ่ งทางให้ความรเู้ ก่ยี วกับการทาํ สงิ่ ประดษิ ฐใ์ ห้เกดิ ประโยชนม์ ากข้ึน
31 บรรณานกุ รม การเลอื กเหลก็ .(2562).[ออนไลน์].เข้าถงึ ได้จาก : https://www.builk.com/yello/.(วนั ที่สืบค้นขอ้ มูล : 15 มีนาคม 2565) ปริน้ ล็อคตัว R. (ม.ป.ป.).[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : http://tpcfast.com/product/. (วันที่สบื คน้ ข้อมูล : 17 มนี าคม 2565) น็อตและสกรู.(ม.ป.ป.).[ออนไลน์].เขา้ ถึงได้จาก : https://www.marineshine.co.th.(วันท่ีสืบค้นข้อมูล : 15 มนี าคม 2565)
32 ภาคผนวก ก) การคำนวณโปรแกรม SPSS ข) การติดตั้งโปรแกรม SPSS 17.0 ค) ประมวลภาพการนำโครงการสง่ิ ประดษิ ฐไ์ ปใชป้ ระโยชน์,ประมวลภาพการ จัดทำโครงการส่ิงประดษิ ฐ์,ประวัติส่วนตวั
ภาคผนวก ก การคำนวณโปรแกรม SPSS
เพศ Freequency Percent Valid Percent Cumulative Percent ชาย 4 80 80 80 หญิง 1 20 20 100 รวม 5 100 100 ตารางท่ี ก-1 ตารางแสดงขอ้ มูลเพศของผปู้ ระเมนิ แบบสอบถาม อายุ Freequency Percent Valid Percent Cumulative Percent ต่ำกวา่ 18 ปี 0 0 0 0 18 - 30 ปี 1 20 20 20 31 – 40 ปี 3 60 60 80 สงู กว่า 40 ปี 1 20 20 100 ตารางที่ ก-2 ตารางแสดงขอ้ มูลอายุของผู้ประเมนิ แบบสอบถาม ระดับการศกึ ษา Freequency Percent Valid Cumulative Percent Percent มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 0 0 0 มธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื ปวช. 3 60 0 60 2 40 60 100 ปวส. 0 0 40 ปรญิ ญาตรี 0 ตารางท่ี ก-3 ตารางแสดงข้อมูลการศึกษาของผู้ประเมินแบบสอบถาม
ประเดน็ ความคดิ เหน็ X S.D. ระดบั ความพึงพอใจ 1. ความเหมาะสมของชิน้ งาน 4.50 0.578 ดี ดี 2. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน 4.50 0.578 ได้ ดี 3. เพิม่ คุณภาพของอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถ 4.25 0.500 ดี ใหส้ ะดวกต่อการใช้งานมากขน้ึ ดี ดี 4. เพ่ือสรา้ งรายได้ให้ผ้ปู ระกอบการได้มาก 4.00 0.000 ข้นึ 5. ความคิดสรา้ งสรรค์ 4.50 0.578 รวม 4.35 0.252 ตารางที่ ก-4 ตารางแสดงขอ้ มูลความพึงพอใจ
36 ภาคผนวก ข การตดิ ตง้ั โปรแกรม SPSS 17.0
37 ข้นั ตอนติดตง้ั โปรแกรม SPSS STATISTICS 17.0 1. โปรแกรม SPSS จะใช้โปรโตคอลการสื่อสารแบบ UDP ที่หมายเลขพอร์ต 5093 และ 5099 ในการ ตรวจสอบลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ดังนั้นหากเครื่องคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่ายใดมี Firewall กั้นอยู่ ท่าน จะต้องเตรียมความพร้อมในส่วนนก้ี อ่ นดำเนินการติดต้งั SPSS program uses communication protocols UDP port numbers 5093 and 5099 to examine the software. If your computer or network has blocked Firewall, you will need to prepare in this section before proceeding with the installation. 2. ตั้งชือ่ เครือ่ งคอมพิวเตอร์และช่ือกลมุ่ คอมพวิ เตอรใ์ หเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน Naming computers and computer groups according to the standard. 3. ติดตอ่ ขอรบั โปรแกรมไดท้ ี่ เจ้าหน้าท่คี อมพวิ เตอร์ของคณะหรือหนว่ ยงานของท่าน Contact the program Officer of the Board or your institution. 4. ใสแ่ ผน่ ซีดรี อมทไ่ี ดร้ ับลงในเคร่ืองท่ตี อ้ งการตดิ ตงั้ โปรแกรม จะแสดงหนา้ จอดังภาพ Insert the CD-ROM into the machine to be installed. Will display as shown below. 5. คลิกเลอื ก “Install SPSS Statistics 17.0” Click \"Install SPSS Statistics 17.0\".
38 6. เลือกรปู แบบการติดตั้งเปน็ แบบ “Network License” แลว้ คลกิ เลอื กที่ปุ่ม “Next” คลิกเลอื กปมุ่ “Next” Select the type of installation is a \"Network License\" button and click \"Next\". Click the \"Next\" button 7. คลกิ เลอื กปุ่ม “Next” Click the \"Next\" button
39 8. ปอ้ นชอื่ เครอื่ งคอมพวิ เตอรแ์ ม่ข่าย “dc1.win.chula.ac.th” สำหรับใชใ้ นการตรวจสอบลิขสิทธ์ิ แล้วกด ปุม่ Set Enter a name server \"Dc1.win.chula.ac.th\" used to check the copyright and press Set. 9. คลกิ ปุ่ม Next Click the \"Next\" button
40 10. เลอื กรูปแบบภาษาในการขอความช่วยเหลอื ตามต้องการ แล้วคลิกเลอื กปมุ่ “Next” Choose a language to ask for help as needed. Then click the \"Next\". 11. ระบตุ ำแหน่งโฟลเดอร์ทตี่ ้องการติดตง้ั โปรแกรม แลว้ คลกิ Next Locate the folder where you want to install and click Next.
Search