อปุ กรณ์ถอดยางรถ นาย ชนะพงศ์ เพชรชู นาย วษิ ณุ บญุ เชิด นาย อภเิ ดช พลมั่น โครงการนเ้ี ป็ นส่วนหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล วทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ณิชยการสิชล ปี การศึกษา 2564
ใบรับรองโครงการ วทิ ยาลยั เทคโนโลยีพณิชยการสิชล เร่ือง อุปกรณ์ถอดยางรถ โดย นายอภิเดช พลมน่ั รหัส 63123455 นาย ชนะพงศ์ เพชรชู รหัส 60023202 นาย วิษณุ บญุ เชิด รหัส 60023205 ได้รับอนุมัตใิ ห้นับเป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ ช้ันสูงสาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล _____________________________ครูผสู้ อน ( นายสุรศกั ด์ิ จิตรเยน็ ) _____________________________ครูทป่ี รึกษา ( นายสุรศกั ดิ จิตรเยน็ ) _____________________________หัวหนา้ แผนก ( นายสุรศกั ด์ิ จิตรเยน็ ) วนั ท่ี....................เดือน...........................พ.ศ............................... คณะกรรมการการสอบโครงการ _____________________________ประธานกรรมการ ( นางนงลกั ษณ์ จิตอารีย์ ) _____________________________กรรมการ ( นายสุรศกั ด์ิ จิตรเยน็ ) _____________________________กรรมการ ( นายสุรศกั ด์ิ จิตรเยน็ )
อุปกรณถ์ อดยางรถ นายชนะพงศ์ เพชรชู นายวิษณุ บุญเชิด นายอภิเดช พลมนั่ โครงการน้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล วทิ ยาลยั เทคโนโลยีพณิชยการสิชล ปี การศกึ ษา 2564
ชื่อโครงการ : อปุ กรณถ์ อดยางรถ ผจู้ ดั ทา : นายชนะพงศ์ เพชรชู นายวษิ ณุ บุญเชิด ประเภทวิชา นายอภิเดช พลมนั่ สาขาวิชา : ช่างอุตสาหกรรม ครูท่ปี รึกษา : เทคนิคเครื่องกล ปี การศึกษา : นายสุรศกั ด์ิ จิตรเยน็ : 2564 บทคัดย่อ โครงการอุปกรณ์ถอดยางรถ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือจดั สร้างอุปกรณ์ถอดยางรถและเพื่อศึกษา ความพึงพอใจของผูท้ ี่ไดท้ ดลองใช้อุปกรณ์ถอดยางรถ โดยโครงการอุปกรณ์ถอดยางรถไดร้ ับการ ประเมินจากเจา้ ของอู่ซ่อมรถ และลูกจา้ งอู่ซ่อมรถทวิท เซอร์วิส หมู่ท่ี 1 ตาบลสิชล อาเภอสิชล จงั หวดั นครศรีธรรมราช จานวน 5 คน ผลจากการประเมินความพงึ พอใจของผใู้ ชง้ านอุปกรณเ์ คร่ือง ถอดอยา่ งจดั อยใู่ นเกณฑด์ ี (ค)
กติ ติกรรมประกาศ โครงการน้ีสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดีดว้ ยความม่งุ มน่ั ของนกั ศึกษาที่ไดร้ ่วมทาโครงการการ สืบหาขอ้ มูลดาเนินการต่างๆ ตลอดจนแนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีความผิดพลาดเกิดข้ึน โครงการฉบบั น้ีจะสาเร็จไม่ไดเ้ ลยหากไม่มีผูท้ ่ีคอยช่วยเหลือและสนบั สนุน ขอขอบพระคุณ อาจารยส์ ุรศกั ด์ิ จิตรเยน็ ที่ไดใ้ ห้ความรู้ ให้คาปรึกษา คาแนะนาหลกั การ ต่างๆ และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาเกี่ยวกบั เร่ืองการสร้างสิ่งประดิษฐ์ อปุ กรณถ์ อดยางรถ สุดทา้ ยน้ีผูจ้ ดั ทาโครงการขอขอบคุณครอบครวั เพื่อนนกั เรียนและคณะคณุ ครูทกุ ท่าน ท่ีให้ คาปรึกษาและสนับสนุนในดา้ นต่าง ๆแก่ผูจ้ ดั ทาโครงการน้ีจนสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดีและหวงั อย่างยิ่งว่าโครงการฉบับน้ีจะมีประโยชน์กับนักศึกษารุ่นน้องและบุคคลอื่น ๆที่สนใจเกี่ยวกับ โครงการสิ่งประดิษฐ์อปุ กรณถ์ อดยางรถน้ีตอ่ ไป คณะผจู้ ดั ทา (ง)
สารบญั หน้า ค เรื่อง ง บทคดั ยอ่ จ กิตตกิ รรมประกาศ ช สารบญั ซ สารบญั ตาราง 1 สารบญั รูป 1 บทท่ี 1 บทนา 1 2 1.1 หลกั การและเหตผุ ล 2 1.2 วตั ถปุ ระสงคก์ ารโครงการ 2 1.3 เป้าหมาย 3 1.4 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 3 1.5 ระยะเวลาการดาเนินโครงการ 4 1.6 งบประมาณ 5 1.7 ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ 8 บทท่ี 2 เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง 15 2.1 เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั เหลก็ 15 2.2 เอกสารท่ีเกี่ยวของกบั นอ็ ต 19 2.3 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ปริ้นตวั ลอ็ ค R 19 2.4 เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การเชื่อมดว้ ยไฟฟ้า 20 บทที่ 3 วิธีดาเนินการ 23 3.1 ออกแบบ Automatic Watering 26 3.2 วสั ด/ุ อปุ กรณท์ ่เี กี่ยวขอ้ ง 26 3.3 ข้นั ตอนการทา บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 4.1 การทดสอบการใช้สิ่งประดิษฐ์ (จ)
สารบญั (ต่อ) หน้า 27 เรื่อง 30 4.2 สรุปแบบประเมินโครงการ 30 31 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 31 5.1 สรุปผลการวิจยั 32 5.2 การอภปิ รายผล 33 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 34 35 บรรณานุกรม 37 ภาคผนวก 38 44 ภาคผนวก ก 45 การคานวณโปรแกรม SPSS 46 49 ภาคผนวก ข การติดต้งั โปรแกรม SPSS 17.0 ภาคผนวก ค ประมวลภาพการนาโครงการส่ิงประดิษฐไ์ ปใชป้ ระโยชน์ ประมวลภาพจดั ทาโครงการส่ิงประดิษฐ์ ประวตั ผิ จู้ ดั ทา (ฉ)
สารบัญตาราง หน้า 27 ตารางท่ี 4.1 จานวนร้อยละของเพศผตู้ อบแบบสอบถาม 28 ตารางที่ 4.2 จานวนร้อยละของระดบั อายผุ ตู้ อบแบบสอบถาม 28 ตารางที่ 4.3 จานวนร้อยละของระดบั การศึกษาผตู้ อบแบบสอบถาม 29 ตารางที่ 4.4 ผลกาศึกษาระดบั ความพึงพอใจในการใชอ้ ปุ กรณถ์ อดยางรถ (ช)
สารบญั รูป รูปท่ี 2.1 เหลก็ หน้า รูปท่ี 2.2 น็อตหกเหล่ยี ม 5 รูปท่ี 2.3 น็อตหกเหลย่ี มมีบา่ 9 รูปท่ี 2.4 น็อตหัวหมวก 9 รูปที่ 2.5 น็อตหัวผ่า 10 รูปที่ 2.6 น็อตเชื่อม 10 รูปท่ี 2.7 น็อตลอ็ ค 11 รูปท่ี 2.8 น็อตหางปลา 11 รูปท่ี 2.9 น็อตสาหรับยึด 12 รูปที่ 2.10 น็อตข้นึ ลาย 12 รูปท่ี 2.11 สกรูเกลียวไม้ 12 รูปท่ี 2.12 สกรูเกลยี ว 13 รูปท่ี 2.13 สกรูหวั จมหกเหล่ียม 13 รูปที่ 2.14 สกรูปลายสว่าน 14 รูปที่ 2.15 หวั ของสกร 14 รูปที่ 2.16 ปริ้นตวั ลอ็ ค R 14 รูปที่ 3.1 แผนผงั การทางาน 15 รูปที่ 3.2 สว่านไฟฟ้า 19 รูปที่ 3.3 น็อต/สกรูเกลียวหัวหกเหลี่ยม 20 รูปที่ 3.4 เคร่ืองเชื่อมโลหะ 20 รูปที่ 3.5 เคร่ืองตดั เหลก็ 20 รูปที่ 3.6 เหลก็ กลมขนาด 2 นิ้ว 21 รูปที่ 3.7 เหลก็ กลมขนาด 4 นิ้ว 21 รูปท่ี 3.8 เหล็กกล่องขนาด 1*3 นิ้ว 21 รูปที่ 3.9 เหลก็ แผ่น 22 22 (ซ)
สารบัญรูป(ต่อ) หน้า 22 รูปที่ 3.10 ปริ้นตวั ลอ้ ค R 23 รูปท่ี 3.11 สีสเปรย์ 23 รูปท่ี 3.12 ออกแบบชิ้นงาน 23 รูปที่ 3.13 วดั และตดั เหลก็ ตามขนาดทต่ี อ้ งการ 24 รูปที่ 3.14 นาเหล็กที่ตดั มาเช่ือมให้ติดกนั 24 รูปท่ี 3.15 เจาะเหล็กเพ่อื ให้สามารถขนั น็อตยึดโครงสร้างของชิ้นงานไวไ้ ด้ 24 รูปที่ 3.16 พ่นสีชิ้นงาน และนาไปตากให้แหง้ 25 รูปท่ี 3.17 นาช้ินส่วนมาประกอบกนั (ฌ)
บทท่ี 1 บทนำ 1. หลกั กำรและเหตุผล ยานพาหนะถือเป็นเครื่องจักร เครื่องทุ่นแรงชนิดหนึ่งที่จำเป็นสำหรับมนุษย์ ซึ่งใช้เป็นตัว ช่วยในการสัญจรเพื่อให้เกิดความสะดวก สบาย และช่วยให้การดำเนินชีวิตเป็นให้ไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยยานพาหนะที่พบเห็นบ่อย ๆบนท้องถนน ได้แก่ รถยนต์ และรถจักรยานยนต์ เป็นต้น เมื่อมีการใช้งานไปในระยะเวลาหนึ่งก็จะต้องมีการซ่อมแซมจุดที่ชำรุดเสียหาย การบำรงุ รักษาเพื่อใหส้ ามารถใช้งานไดใ้ นระยะเวลานาน ในปัจจุบันการใช้รถมีเพิ่มมากขึ้นจากเมื่อก่ อน ปัญหาส่วนมากที่พบในการใช้ รถจักรยานยนต์เมื่อเกิดปัญหารถยางรั่ว ทำให้เกิดความเสียหายและเสียเวลาปะหรือเปลี่ยนยาง เพื่อให้เกิดความสะดวกในการปะยางรถที่รั่วจึงได้พัฒนาอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถเพื่อไห้เกิดความ รวดเร็วในการถอดเปลี่ยนยางซึ่งจำเป็นต้องมีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกและช่วยในการทำงาน เพอ่ื ให้เกดิ ความรวดเร็วทนั ต่อเวลาและทำงานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพในการทำงาน อุปกรณ์ช่วยให้ ผปู้ ฏิบัตงิ าน จากปัญหาและสาเหตุดังกล่าวคณะผู้จัดทำโครงการได้มีแนวคิดที่จะออกแบบและพัฒนา สร้างอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถเพื่อให้เกิดความสะดวกในการถอดและประกอบยางรถ เข้าที่เดิม มีความรวดเร็วมากย่ิงขนึ้ เหมาะสำหรับผปู้ ระกอบอาชีพเกี่ยวกับรถเนื่องจากอปุ กรณไ์ ด้ออกแบบมา เพื่อเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถ สามารถให้ความสะดวกในการเปลี่ยนยาง โดยคณะผจู้ ดั ทำจะออกแบบและพฒั นาสร้างเพือ่ ใหม้ ีประสิทธภิ าพสูงข้นึ 2. วตั ถุประสงค์กำรโครงกำร 2.1 เพือ่ ออกแบบและพฒั นาสรา้ งอปุ กรณ์ชว่ ยถอดยางรถ 2.2 เพือ่ ศกึ ษาความพงึ พอใจของผู้ทไี่ ดท้ ดลองใช้อุปกรณถ์ อดยางรถ
2 3. เป้ าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 เคร่ืองมอื ท่ชี ว่ ยถอดยางรถจำนวน 1 คัน 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 สามารถรับน้ำหนกั ล้อได้ประมาณ 100 กโิ ลกรัม 3.2.2 เคร่ืองมอื สามารถชว่ ยให้การถอดประกอบล้อง่ายข้นึ 4. ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ 4.1 เครื่องมอื ช่วยถอดยางมีคุณภาพมากข้ึน 4.2 ผ้เู รยี นนำความรแู้ ละทกั ษะวชิ าชีพไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ านจริง 4.3 ผเู้ รยี นมีความสามัคคีจากการทำงานเปน็ ทีม 5. ระยะเวลาการดาเนินโครงการ จัดทำโครงการเครื่องช่วยถอยยางรถจักรยานยนต์ตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ ถึง 17 มีนาคม 2565 โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี วธิ ีดาเนินการ 20 - 26 27 ก.พ. - 6 - 12 13 – 17 ก.พ. 65 5 มี.ค. 65 ม.ี ค. 65 ม.ี ค. 65 1. ข้นั เตรียมการ (Plan) 1.1 รวบรวมขอ้ มลู และ สำรวจปญั หา 1.2 วางแผนดำเนินงาน โครงการ 1.3 เสนอโครงการ 2. ข้นั ดาเนนิ การ (Do) 2.1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ 2.2 ดำเนินการตาม แผนการดำเนนิ งานของ โครงการ
3 วธิ ีดาเนินการ 20 - 26 27 ก.พ. - 6 - 12 13 – 17 ก.พ. 65 5 มี.ค. 65 มี.ค. 65 มี.ค. 65 3. ข้นั สรุป รายงานผล และปรับปรุง (Act) 3.1 จัดทำรปู เลม่ โครงการ 3.2 สรปุ ผลและรายงาน ผล 3.3 นำเสนอผลงาน 6. งบประมาณ จานวนต่อ ราคาต่อ รวมเงิน หมายเหตุ รายการ หน่วย หน่วย 1.เหล็กกล่อง 2 เสน้ 550 550 - 2.น็อต - 3.ปริ้นลอ็ คตวั R 4 ตวั 20 20 - 4.เหลก็ แบน 1 แผน่ - 5.เหลก็ กลม 4 ตวั 30 30 - รวม 1 แผ่น 207 207 2 เสน้ 408 408 1,215 บาท 7. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นักศึกษาระดบั ปวส.2 ประเภทวิชา ชา่ งอตุ สาหกรรม นายชนะพงศ์ เพชรชู นกั ศกึ ษาระดบั ปวส.2 ประเภทวชิ า ชา่ งอตุ สาหกรรม นายวษิ ณุ บุญเชิด นักศึกษาระดบั ปวส.2 ประเภทวชิ า ชา่ งอุตสาหกรรม นายอภิเดช พลมั่น
บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง ในการศกึ ษาคร้ังนนี้ กั ศึกษาไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ้ ง เพอื่ เป็นพืน้ ฐานสำหรบั การจดั ทำโครงการ โดยแบ่งสาระสำคญั เปน็ หวั ขอ้ ดงั น้ี 1. เอกสารทีเ่ กี่ยวข้องกบั เหลก็ 1.1 ความหมายของเหล็ก 1.2 ลักษณะทว่ั ไปของเหล็ก และเหล็กกล้า 1.3 ประเภทของเหล็ก 1.4 วสั ดเุ หล็ก และการเลือกใช้งานเบอื้ งตน้ 2. เอกสารทเี่ กยี่ วของกับนอ็ ต และสกรู 2.1 ความหมายของน็อต และสกรู 2.2 ประเภทของนอ็ ต สกรแู ละการใชง้ าน 3. เอกสารท่เี กี่ยวข้องกบั ปรนิ้ ล็อคตวั R 4. เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การเชอื่ มดว้ ยไฟฟา้ 4.1 ความหมายของการเช่ือมดว้ ยไฟฟ้า 4.2 วธิ ีปฏิบัติในการเชือ่ มดว้ ยไฟฟา้ 4.3 เครือ่ งมือและอุปกรณ์ในงานเชือ่ มดว้ ยไฟฟ้า
5 1. เอกสารทเ่ี กยี่ วข้องกบั เหล็ก 1.1 ความหมายของเหลก็ รูปที่ 2.1 เหล็ก ธาตุเหล็กน้ันมีช่ือทางวิทยาศาสตร์คือ Fe เหล็กน้ันมีประโยชน์อย่างมากในปัจจุบัน เป็ นธาตุท่ีพบเห็นไดใ้ นทุกวนั โดยเฉพาะในการก่อสร้าง ในโรงงานอุตสาหกรรมอีกท้งั ยงั เป็ นส่ิง สาคญั ท่ีตอ้ งใชใ้ นการสร้างบา้ น อาคารต่างๆ เหล็กจึงเป็ นธาตุท่ีมีความสาคญั อย่างยิ่ง นอกจากน้ี แลว้ ยงั ใชใ้ นการทาเป็นวสั ดตุ ่าง ๆทาเป็นชิ้นส่วนของเครื่องจกั ร และอ่ืน ๆอกี มากมาย ผลิตภณั ฑ์เหล็กโดยทัว่ ไปผลิตภณั ฑ์เหล่าน้ันสามารถแบ่งออกไดห้ ลายหมวดหมู่ เช่น ยานยนต์ การก่อสร้าง ภาชนะบรรจุภณั ฑแ์ ละการจดั ส่ง เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์อุตสาหกรรม การ ขนส่งทางรถไฟ อุตสาหกรรมน้ามนั และก๊าซ อุปกรณ์ไฟฟ้า เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าและเคร่ืองใช้ในครัว เป็ นตน้ โดยเหล็กจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดว้ ยกนั คือเหล็ก (Iron) และ เหล็กกลา้ (Steel) ซ่ึงท้งั สองประเภทน้ี มีคุณสมบตั ิที่ต่างกนั หลายประการ แต่ส่วนใหญ่ก็มกั จะถูกเรียกอยา่ งเหมารวมกนั ว่า “เหล็ก” นนั่ เอง 1.2 ลักษณะทัว่ ไปของเหลก็ และเหลก็ กล้า เหล็กเป็ นแร่ธาตุชนิดหน่ึง ซ่ึงจะมีลกั ษณะเป็นสีแดงอมน้าตาล เม่ือนาเขา้ ใกลก้ บั แม่เหล็ก จะดูดติดกนั ส่วนพ้ืนท่ีท่ีคน้ พบเหล็กไดม้ ากที่สุด ก็คือ ตามช้ันหินใตด้ ินท่ีอยู่บริเวณท่ีราบสูง และ ภูเขา โดยจะอยู่ในรูปของสินแร่เป็ นส่วนใหญ่ ซ่ึงก็ต้องใช้วิธีถลุงออกมา เพ่ือให้ไดเ้ ป็ นแร่เหล็ก บริสุทธ์ิและสามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เหลก็ กลา้ เป็นโลหะผสม ท่ีมีการผสมระหว่าง เหล็ก ซิลคิ อน แมงกานีส คาร์บอน และธาตุ อื่น ๆอีกเล็กน้อย ทาให้มีคุณสมบตั ิในการยืดหยุ่นสูง ท้งั มีความทนทาน แข็งแรง และสามารถ ตา้ นทานต่อแรงกระแทกและภาวะทางธรรมชาติไดอ้ ย่างดีเยี่ยม ท่ีสาคญั คือเหล็กกลา้ ไม่สามารถ
6 ค้นพบได้ตามธรรมชาติเหมือนกบั เหล็ก เน่ืองจากเป็ นเหล็กที่สร้างข้ึนมาโดยการประยุกต์ของ มนุษย์ แต่ในปัจจุบันก็มีการนาเหล็กกลา้ มาใช้งานอย่างแพร่หลาย เพราะมีต้นทุนต่า จึงช่วยลด ตน้ ทุน ไดเ้ ป็นอยา่ งมาก และมีคุณสมบตั ิทโ่ี ดดเดน่ ไมแ่ พเ้ หล็ก 1.3 ประเภทของเหลก็ ประเภทของเหลก็ สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 กลมุ่ ใหญ่ ๆ ดงั น้ี 1.3.1 เหลก็ หล่อ เป็นเหลก็ ที่ใชว้ ธิ ีการข้นึ รูปดว้ ยการหล่อข้ึนมา ซ่ึงจะมีปริมาณ ของ ธาตุคาร์บอนประมาณ 1.7-2% จึงทาให้เหล็กมีความแข็ง แต่ในขณะเดียวกนั ก็มีความเปราะ และดว้ ย เหตุน้ีจึงทาใหเ้ หลก็ หลอ่ สามารถข้ึนรูปไดแ้ คว่ ิธีการหลอ่ วิธีเดียวเท่าน้นั ไม่สามารถข้ึนรูป ดว้ ยการรีด หรือวิธีการอื่น ๆได้ นอกจากน้ีเหล็กหล่อ ก็สามารถแบ่งยอ่ ยๆ ไดด้ งั น้ี 1) เหล็กหล่อเทา เป็ นเหล็กหล่อท่ีมีโครงสร้างคาร์บอนในรูปของกราฟไฟต์ เพราะมคี าร์บอนและซิลคิ อนเป็นส่วนประกอบสูงมาก 2) เหลก็ หลอ่ ขาว เป็นเหล็กท่มี คี วามแขง็ แรงทนทานสูง สามารถทนต่อการ เสียดสี ได้ดี แต่จะเปราะจึงแตกหักได้ง่าย โดยเหล็กหล่อประเภทน้ี จะมีปริมาณของซิลิคอนต่ากว่า เหลก็ หล่อเทา ท้งั มีคาร์บอนอยใู่ นรูปของคาร์ไบดข์ องเหลก็ หรือที่เรียกกว่า ซีเมนไตต์ 3) เหล็กหล่อกราฟไฟต์กลม เป็ นเหล็กท่ีมีโครงสร้างเป็ นกราฟไฟต์ ซ่ึงจะมี ส่วนผสมของแมกนีเซียมหรือซีเรียมอย่ใู นน้าเหล็ก ทาใหเ้ กิดรูปร่างกราฟไฟตท์ รงกลมข้ึนมา ท้งั ยงั ได้ คุณสมบตั ิทางกลในทางท่ีดีและโดดเด่นยิ่งข้ึน เหล็กหล่อกราฟไฟตจ์ ึงไดร้ ับความนิยมในการ นามาใช้ งานอยา่ งแพร่หลายและถกู นามาใชง้ านในอุตสาหกรรมมากข้นึ 4) เหล็กหล่ออบเหนียว เป็ นเหล็กท่ีผ่านกระบวนการอบเพื่อให้ได้คาร์บอนใน โครงสร้างคาร์ไบดแ์ ตกตวั มารวมกบั กราฟไฟตเ์ มด็ กลม และกลายเป็นเฟอร์ไรดห์ รือเพิร์ลไลต์ ซ่ึงก็ จะมีคณุ สมบตั ิที่เหนียวแน่นกว่าเหล็กหลอ่ ขาวเป็นอยา่ งมาก ท้งั ไดร้ ับความนิยมในการนามาใช้ งาน ทีส่ ุด 5) เหล็กหล่อโลหะผสม เป็นประเภทของเหล็กที่มีการเติมธาตุผสมเขา้ ไปหลาย อย่างดว้ ยกนั ซ่ึงก็จะช่วยปรับปรุงคุณสมบตั ิของเหลก็ ให้ดีข้ึน โดยเฉพาะการทนต่อความร้อนและ การ ตา้ นทานต่อแรงเสียดสีที่เกิดข้ึน เหล็กหล่อประเภทน้ีจึงนิยมใช้ในงานท่ีตอ้ งสัมผสั กบั ความ ร้อน 1.3.2 เหล็กกล้า เป็นเหล็กที่มีความเหนียวแน่นมากกว่าเหล็กหล่อ ท้งั สามารถข้ึน รูปดว้ ยวิธีทางกลได้ จึงทาให้เหล็กชนิดน้ีนิยมถูกนามาใช้อย่างแพร่หลายและกวา้ งขวางมากข้ึน ตัวอย่างเหล็กกล้าท่ีมักจะพบได้บ่อยๆ ในชีวิตประจาวนั คือ เหล็กแผ่น เหล็กโครงรถยนต์หรือ เหลก็ เส้น เป็นตน้ นอกจากน้ีคาร์บอนก็สามารถแบ่งไดเ้ ป็นกลุ่มยอ่ ย ๆดงั น้ี
7 1) เหล็กกลา้ คาร์บอน จะมสี ่วนผสมหลกั เป็นคาร์บอนและมีส่วนผสมอืน่ ๆปนอยู่ บา้ งเล็กน้อย ท้งั น้ีก็ข้ึนอยู่กบั จะมีธาตุอะไรติดมาในข้นั ตอนการถลงุ บา้ ง ดงั น้นั เหล็กกลา้ คาร์บอน จึงสามารถแบง่ เป็นยอ่ ย ๆไดอ้ กี ตามปริมาณธาตทุ ีผ่ สม ดงั น้ี - เหล็กคาร์บอนต่า มีคาร์บอนต่ากว่า 0.2% และมีความแข็งแรงต่ามากจึง นามารีด เป็นแผน่ ไดง้ า่ ย เช่น เหลก็ เสน้ เหล็กแผ่น เป็นตน้ - เหลก็ กลา้ คาร์บอนปานกลาง จะมีคาร์บอนอยปู่ ระมาณ 0.2-.05% มีความแข็งแรง สามารถนามาใชเ้ ป็นชิ้นส่วนของเคร่ืองจกั รได้ - เหลก็ กลา้ คาร์บอนสูง มคี าร์บอนสูงกว่า 0.5% มีความแข็งแรงสูงมาก นิยม นามา อบชุบความร้อนเพ่ือเพ่ิมความแข็งแกร่งมากข้ึน และสามารถตา้ นทานต่อการสึกหรอไดด้ ี จึงนิยม นามาทาเคร่ืองมอื เคร่ืองใชท้ ่ตี อ้ งการผิวแขง็ 2) เหล็กกล้าผสม เป็ นเหล็กท่ีมีการผสมธาตุอ่ืน ๆเข้าไปโดยเจาะจง เพื่อให้ คณุ สมบตั ขิ องเหล็ก เป็นไปตามทต่ี อ้ งการ โดยเหลก็ ประเภทน้ีมกั จะมคี วามสามารถในการตา้ นทาน ตอ่ การกดั กร่อนและสามารถนาไฟฟ้าได้ รวมถึงมคี ณุ สมบตั ิทางแม่เหล็กอกี ดว้ ย ซ่ึงก็จะแบ่งออกได้ เป็น 2 ประเภท คอื เหล็กกลา้ ผสมต่าและเหลก็ กลา้ ผสมสูง โดยเหล็กกลา้ ผสมต่าจะเป็นเหล็กกลา้ ทม่ี ี การผสมดว้ ยธาตุอื่น ๆ นอ้ ยกว่า 10% และเหล็กกลา้ ผสมสูงจะเป็นเหล็กกลา้ ที่มีการผสมดว้ ยธาตุ อ่ืน ๆมากกว่า 10% 1.4 วัสดเุ หลก็ และการเลอื กใช้งานเบื้องต้น เหล็กกลา้ คือ เหล็กที่สามารถทาให้แข็งและมีคุณสมบตั ิดีข้ึนภายหลงั จากไดร้ ับความร้อน อยา่ งถูกตอ้ งตามวิธี โดยหากนาเอาเหล็กกลา้ มาเจียระไนและขดั ให้เรียบแลว้ ใช้น้ากรดเจือจาง ทา ความสะอาดท่ผี วิ หนา้ แลว้ ใชก้ ลอ้ งขยายกาลงั สูงส่องดูจะเห็นว่าพ้ืนท่ีน้นั มเี สน้ และโครงสร้างต่างๆ ทาให้เราเห็นเรียกว่า โครงสร้างทางโลหะ เหล็กแต่ละชนิด โครงสร้างแตกต่างกนั ไปข้ึนอยู่กบั ธาตุ ต่างๆ ท่ี ผสมอยใู่ นโลหะน้นั ๆ และลกั ษณะการกระจายตวั ของธาตุภายในเหลก็ ดว้ ย เหล็กกลา้ จะมีธาตุต่างๆ ผสมอยูเ่ น้ือเหล็กมีสูตรเป็ น Fe-C ซ่ึงนักโลหะวิทยาเรียกว่า CEMENTITE นักโลหะ วิทยาได้เรียกช่ือเหล็กกล้าท่ีอยู่ในสรูปต่างๆ เช่น เหล็กกล้าท่ีมีธาตุคาร์บอน ผสมอยู่ 0.85% วา่ PEARLITE โดย สามารถแยกออกเป็น 3 ลกั ษณะ ไดค้ ือ 1. ถา้ หากมธี าตคุ าร์บอนผสมอยตู่ ่ากว่า 0.85% เหล็กกลา้ น้นั จะมโี ครงสร้างเป็น แบบ FERRITE PEARLITE 2. ถา้ หากมีธาตคุ าร์บอนผสมอยู่ 0.85% เหล็กกลา้ น้นั จะมีโครงสร้างเป็นแบบ 3. ถา้ หากมธี าตคุ าร์บอนผสมอยมู่ ากกวา่ 0.85% เหล็กกลา้ น้นั จะมโี ครงสร้าง เป็นแบบ PEARLITE : CEMENTITE
8 โครงสร้างของเหล็กกลา้ ท้งั 3 แบบน้ีจะเห็นไดโ้ ดยการนาเอาเหลก็ กลา้ ไปใหค้ วาม ร้อน โดยให้มอี ุณหภมู ิต่ากวา่ 721 °C (หากให้ความร้อนเกินแลว้ โครงสร้างของเหล็กกจ็ ะเปลี่ยนไป) ถา้ หากเราให้ความร้อนแก่เหล็กข้ึนไป จนถึงจุดจุดหน่ึงแล้ว โครงสร้างก็จะเปลี่ยนไปเป็ นแบบ AUSTENITE และเม่ือทาให้เหล็กน้ันเย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว โครงสร้างแบบ AUSTENITE ก็จะ แข็งตวั และเกิดเป็นโครงสร้างอีกแบบหน่ึง ซ่ึงมีชื่อว่า MARTENSITE เป็น โครงสร้างชนิดใหม่ แตกต่างไปจาก FERRITE, PEARLITE และ CEMENTITE โครงสร้างแบบ MARTENSITE น้ีมี ความแขง็ มาก โครงสร้าง ของเหลก็ กลา้ แบบตา่ งๆ มีความแข็งแตกตา่ งกนั ไปดงั ตวั อยา่ งดงั น้ี FERRITE มคี วามแขง็ ประมาณ 80 BRINELL PEARLITE มีความแข็งประมาณ 200 – 300 BRINELL CEMENTITE มคี วามแขง็ ประมาณ 700 BRINELL AUSTENITE มคี วามแข็งประมาณ 180 – 250 BRINELL MARTENSITE มคี วามแข็งประมาณ 650 - 700 BRINELL * * BRINELL เป็นหน่วยวดั ความแข็งเหลก็ ชนิดหน่ึง 2. เอกสารท่ีเกยี่ วของกบั น็อต 2.1 ความหมายของนอ็ ตและสกรู น็อต เป็ นอุปกรณ์ยึดติดชนิดหน่ึงในการก่อสร้าง และ งานช่างที่จะใช้เป็ นตัวยึด ส่วนประกอบต่างๆ เขา้ ดว้ ยกนั ให้แน่นหนา และแข็งแรง โดยที่คนส่วนมากจะเรียก สกรูและน็อต รวม เป็ นส่ิงเดียวกนั ว่า น็อต แต่ในความเป็ นจริงน้ัน มนั มีความแตกต่างกนั อยา่ งสิ้นเชิงท้งั รูปร่าง และการใชง้ าน น็อตหรือสกรู น้ันก็มีรูปร่างหลายแบบ ซ่ึงแต่ละแบบน้นั ก็จะถกู ออกแบบมาให้ เหมาะกบั ใช้งานในลักษณะท่ีต่างกัน ซ่ึงน็อตน้ันก็จะถูกออกแบบมาให้ใช้ท่ัวไปสาหรับครัวเรื อน ไปจนถงึ น็อตท่อี อกแบบมาพิเศษ สาหรบั อุตสาหกรรมต่าง ๆซ่ึงแตกต่างไปต้งั แต่ ขนาด รูปร่าง และ วสั ดุ ซ่ึงผใู้ ชก้ ็จะตอ้ งเลอื กประเภททเี่ หมาะสมทีส่ ุด เพื่อลดความเสียต่อวสั ดุ อุปกรณ์ และ บคุ ลากร น็อต คือ น็อตตวั เมีย มีลกั ษณะเป็นรูคลา้ ยกบั แหวน ซ่ึงออกแบบมาไวใ้ ช้ยึดและหมุนเขา้ กบั สกร สกรู คือ น็อตตวั ผู้ มีลกั ษณะเป็นแท่งยาว และเป็นเกลียว ไวส้ าหรับเจาะ หรือ เสียบเกลียว เขา้ กบั นอ็ ต
9 2.2 ประเภทของนอ็ ต สกรู และการใช้งาน 2.2.1 ประเภทและการใช้งานของนอ็ ต รูปร่างลกั ษณะของน็อตมีอยู่ดว้ ยกันหลายแบบ ในการเลือกใช้จึงควรเลือกให้ เหมาะสมกบั ลกั ษณะงาน เพ่ือให้นามาใช้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิรูปสูงสุด และลดความเสียหายที่อาจ เกิด ข้ึนกบั อุปกรณ์ วสั ดุ รวมถงึ ลดปัญหางานสะดุดหรือความลา้ ชา้ ที่จะเกิดข้ึนในอนาคตเน่ืองจาก การใชน้ อ็ ตผดิ ประเภทได้ โดยประเภทของน็อตมดี งั น้ี 1. น็อตหกเหลยี่ ม (Hex Nuts) รูปท่ี 2.2 นอ็ ตหกเหล่ียม เป็นน็อตที่เห็นไดบ้ อ่ ยๆ ในงานช่างทวั่ ไป ลกั ษณะของน็อตหกเหลี่ยม คือ รูปร่าง ภายนอกจะมีมุมท้งั หมดหกเหลี่ยมมีรูตรงกลาง และมีเกลียวภายในเพ่ือใชห้ มุนหรือขนั ให้เขา้ กบั สกรู ซ่ึงนอ็ ตหกเหลย่ี มน้นั ยงั สามารถแบง่ แยกออกไปไดอ้ ีกหลากหลายประเภท หนา้ ที่ของน็อตหกเหล่ียม คือ ล็อคตวั สกรูยึดวสั ดุไว้ให้มีความแน่นหนามากข้ึน ป้องกนั การคลายหรือหลุดของตวั สกรู ซ่ึงอาจส่งผลตอ่ ความเสียหาย ทาให้วตั ถทุ ้งั 2 ช้ินเลื่อนหลุด จากกัน ในส่วนของหลักการทางานท่ัวไปของน็อตหกเหล่ียม คือ ใช้สกรูร้อยผ่านรูตรงกลาง ของน็อต เพื่อยึดวตั ถุท้งั 2 ชิ้นตามตาแหน่งทีไ่ ดก้ าหนดไว้ จากน้ันใชไ้ ขควงหรืออปุ กรณ์เคร่ืองมอื ช่าง เพอ่ื ทจี่ ะ หมุนเกลยี วของนอ็ ตหกเหลยี่ มใหเ้ ขา้ ท่ี เป็นการป้องกนั ไม่ใหว้ ตั ถุท้งั 2 ช้ินแยกจากกนั 2. น็อตหกเหลี่ยมมบี ่า (Flanged Nuts) รูปท่ี 2.3 น็อตหกเหล่ยี มมบี า่ ลกั ษณะของน็อตหกเหลี่ยมมีบ่า คือ ส่วนภายนอกมีลกั ษณะท่ีเป็นหกเหล่ียม แต่ ส่วนล่างของน็อตมีบ่าย่ืนออกมา ทาให้น็อตชนิดน้ีถูกเรียกว่า เหลี่ยมมีบ่า หรืออีกชื่อ คือ น็อตหัว เหล่ียมมีบ่า โดยจะมีรูตรงกลางและมีเกลียวเพ่ือให้สามารถหมุนเข้ากบั สกรูได้ ขอ้ ดีของน็อตหก
10 เหลี่ยม มีบ่า คือ ช่วยลดข้นั ตอนความยุ่งยากในการประกอบตวั น็อตเขา้ กับแหวนรองน็อต และ เหมาะสมกบั งานในลกั ษณะท่ตี อ้ งการความแขง็ แรงและแน่นหนาสูงเป็นพิเศษ 3. น็อตหัวหมวก (Domed /Acorn Nuts) รูปที่ 2.4 น็อตหวั หมวก น็อตหัวหมวกถอื ไดว้ ่าเป็นอกี ประเภทของน็อตหกเหลี่ยม ลกั ษณะคอื ภายนอกจะ มรี ูปร่างเป็นเหลย่ี มๆ หกมุม ดา้ นบนจะมสี ่วนท่ีเพิ่มข้ึนมาคลา้ ยคลงึ กบั หมวก ทาใหถ้ กู เรียกวา่ นอ็ ต หัวหมวก ประโยชนข์ องการมีหมวกน้นั คอื เพ่ือความสวยงามของชิ้นงาน สามารถช่วยปกปิ ดส่วน ปลายของสกรูเพือ่ ป้องกนั อุบตั เิ หตุที่อาจเกิดข้นึ จากการเดินชน เดินเฉี่ยวตวั น็อตได้ โดยการเลือกใช้ น็อตชนิดน้ีจะตอ้ งมีการคานึงถึง ขนาดความยาวของตวั สกรูเพ่ือให้เหมาะสมและเขา้ กบั น็อตมาก ท่สี ุดดว้ ย 4. น็อตหวั ผ่า (Slotted Nuts) รูปที่ 2.5 น็อตหัวผา่ น็อตหวั ผา่ มลี กั ษณะที่สามารถจดจาไดง้ า่ ย คอื ตวั นอ็ ตภายนอกจะเป็นเหล่ียม หกมุม บริเวณด้านใดด้านหน่ึงยื่นออกมาเป็ นร่อง ลกั ษณะการใช้งานของน็อตหัวผ่าจะแตกต่าง กบั น็อตชนิดอื่นๆ คือ ตอ้ งใช้สกรูชนิดพิเศษท่ีมีช่องเล็กๆ ไวเ้ สียบกบั ตวั Pin เมื่อทาการประกอบ นอ็ ตเขา้ กบั สกรูและขนั นอ็ ตให้แน่นเขา้ ท่ีตามตอ้ งการแลว้ น้นั ผใู้ ชง้ านจะตอ้ งใช้ Pin เสียบผ่านช่อง ในส่วนของสกรู ให้ส่วนปลายของ Pin ท้งั 2 ดา้ นตกอยู่ภายในร่องของน็อต เพ่ือเป็นการเพ่ิมความ แน่นหนา ทาให้นอ็ ตคลายเกลยี วไดย้ ากมากข้นึ เนื่องจากถกู ลอ็ กไวจ้ ากดา้ นบน
11 5. นอ็ ตเช่ือม (Weld Nuts) รูปท่ี 2.6 นอ็ ตเช่ือม นอ็ ตชนิดน้ีมรี ูปร่างลกั ษณะเหมอื นกบั นอ็ ตหกเหล่ียมทกุ ประการ แตกต่างกนั ตรง ลกั ษณะงานที่ใช้ โดยน็อตชนิดน้ีถกู ออกแบบมาเพอ่ื ใชก้ บั งานท่ีตอ้ งเช่ือมติดกบั วสั ดุ เช่น งานเชื่อม เหล็ก เป็นตน้ โดยลกั ษณะพิเศษเล็กๆ ของตวั น็อตท่ีสามารถใช้แยกออกจากน็อตชนิดอื่นได้ คือ บริเวณมุมของน็อตจะมีส่วนท่ีย่ืนออกมาเพ่ือใช้เป็ นจุดเชื่อมต่อกบั วสั ดุนน่ั เอง ซ่ึงน็อตเช่ือมมีอยู่ ดว้ ยกนั หลายชนิด บางชนิดมีบ่าเขา้ มา เพ่ือช่วยเพิ่มความสะดวกในการใชง้ านให้สามารถกาหนด ตาแหน่งไดถ้ ูกตอ้ งมากย่ิงข้ึน สาหรับประโยชน์ของน็อตชนิดน้ี คือ ทาให้โลหะชนิดบางมีความ แขง็ แรงเพมิ่ มากข้นึ 6. นอ็ ตลอ็ ค (Lock Nuts) รูปที่ 2.7 นอ็ ตลอ็ ค การใช้งานวตั ถุท่ีผ่านการขนั น็อตและสกรูบางชนิด จาเป็ นต้องใช้งานท่ีมีการ สั่นสะเทือนซ่ึงส่งผลอาจทาให้เกิดการคลายตวั นอ็ ตได้ ปัจจุบนั จึงมีการพฒั นานอ็ ตล็อคข้นึ มา เพื่อ ช่วยในการป้องกนั การคลายเกลียวจากงานที่มีการส่ันสะเทือน ซ่ึงนิยมใชง้ านโดยกวา้ งท้งั ในงาน ก่อสร้าง หรืองานเคร่ืองยนตข์ นาดใหญ่ เป็นตน้ โดยชนิดของนอ็ ตลอ็ ตมอี ยดู่ ว้ ยกนั หลากหลายชนิด
12 7. น็อตหางปลา (Wing Nuts) รูปที่ 2.8 น็อตหางปลา ลกั ษณะของน็อตหางปลา คือ จะมีส่วนท่ียื่นออกมาดา้ นขา้ งท้งั 2 ดา้ น คลา้ ยกับ หางปลา น็อตชนิดน้ีถูกออกแบบมาเพื่อ เพ่ิมความสะดวกสบายในการใช้งาน สามารถลดการใช้ อุปกรณ์หรือพ่ึงพาเครื่องมือต่างๆ ได้ เพราะน็อตหางปลาสามารถที่จะใชม้ ือในการหมุดบิดเกลยี ว ให้แน่น อีกท้งั ยงั สามารถประยุกตใ์ ชก้ บั งานไดอ้ ยา่ งหลากหลาย เช่น งานที่ตอ้ งใช้ความรวดเร็วใน การประกอบและการถอด งานประกอบช้ินส่วนเคร่ืองใช้ หรือเฟอร์นิเจอร์ภายในบา้ น เป็นตน้ 8. นอ็ ตสาหรับยดึ (Cage Nuts) รูปท่ี 2.9 นอ็ ตสาหรบั ยึด นอ็ ตที่ใชส้ าหรับการยดึ อุปกรณ์ หรืออาจะเรียกว่านอ็ ตยดึ Rack มลี กั ษณะเป็นรูป ส่ีเหลยี่ มดา้ นขา้ งจะมีขายื่นออกมา โดยเวลาที่จะประกอบจะตอ้ งบบี ขาน็อตและใส่ลงตามช่อง Rack นอ็ ตชนิดน้ีพบไดบ้ อ่ ยในงานท่ีเก่ียวกบั ไฟฟ้า เช่น อุปกรณ์เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าในบา้ นต่างๆ เป็นตน้ 9. นอ็ ตขนึ้ ลาย (Knurled Nuts) รูปที่ 2.10 น็อตข้นึ ลาย ตวั น็อตข้นึ ลายถกู ออกแบบมาเพ่อื ใหส้ ามารถใชม้ ือหมนุ ได้ ไมต่ อ้ งพ่ึงพาอปุ กรณ์ เคร่ืองมอื ต่าง ๆเพ่ิมความสะดวกสบายในการใช้งานไดเ้ ป็นอย่างดี จึงเหมาะสาหรับงานทีต่ อ้ งถอดประกอบ
13 และขนยา้ ยบอ่ ยๆ อีกท้งั ยงั สามารถใชก้ บั งานท่ีตอ้ งการปรับเพ่มิ ลดความแน่นหนาของการล็อคได้ ดว้ ย 2.2.2 ประเภทและการใช้งานของสกรู สกรูแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี 1. สกรูเกลยี วไม้ (Wood screw) รูปที่ 2.11 สกรูเกลียวไม้ สกรูเกลยี วไม้ เป็นสกรูที่เป็นเกลยี วไมต้ ลอด ปลายแหลม ไมใ่ ชก้ บั หวั น็อตตวั เมีย ใชข้ นั เขา้ ไมห้ รือพลาสตกิ ไดโ้ ดยตรง มหี ลายแบบข้ึนกบั ชนิดของหวั สกรู 2. สกรูเกลียว (Screw thread) รูปท่ี 2.12 สกรูเกลียว สกรูเกลยี ว สกรูท่ีใชร้ ่วมกบั หัวน็อตตวั เมยี หรือสลกั ตวั เมยี มหี วั สกรุหลายแบบ ท้งั เตเปอร์ หัวหนา หัวหกเหลยี ม ความยาวรวมคือสกรูตวั ผทู้ ใ่ี ช้ร่วมกบั นอ็ ต
14 3. สกรูหวั จมหกเหลยี่ ม (Hexagon socket head screw) รูปท่ี 2.13 สกรูหวั จมหกเหลย่ี ม สกรูหวั จมหกเหลย่ี ม เป็นสกรูทม่ี หี ัวหลายแบบ แต่จะมีลกั ษณะหัวเป็นหวั จม หกเหลี่ยมท่ใี ชก้ ุญแจหัวหกเหลียมขนั มีหวั สกรูหลายแบบ แต่โดยรวม คือ สกรูหัวจม 4. สกรูปลายสว่าน (Drill bit screw) รูปท่ี 2.14 สกรูปลายสวา่ น สกรูปลายสว่าน เป็ นสกรูท่ีมีปลายคลา้ ยหัวสว่านไขเขา้ ไปในเน้ือเหล็กโดยตรง ไม่ตอ้ งเจาะนา มหี วั หลายแบบข้นึ กบั การใชง้ านหวั ของสกรูจะมีหลายประเภท ดงั น้ี รูปท่ี 2.15 หวั ของสกรู
15 1. หวั เตเปอร์ (Countersunk) หรือ หวั F(Flat Head) หรือหัวเรียบ JF+ 2. หวั O (Oval Head) 3. หัว P (Pan Head) หรือ หัวกลมนูน JP+ 4. หัว T (Truss Head) หรือ หัวกะทะ JT+ 5. หัวกลม (Round Head) 6. หวั หกเหลี่ยม (หรือ หัวเหล่ียม) (Hex Head) 7. หัวหกเหลย่ี มติดแหวน (หรือ หัวเหลีย่ มติดจาน) 8. หวั หกเหลีย่ มผ่า 9. หัวจม 10. หวั กระดุม (Button Head) 3. เอกสารทเ่ี กยี่ วข้องกบั ปริน้ ตัวลอ็ ค R รูปท่ี 2.16 ปริ้นตวั ลอ็ ค R ปริ้นล็อค หรือปิ๊ นตัวล็อค R มีลักษณะคล้ายตัวอักษรตัว R ออกแบบมาเพื่อใช้ล็อค แกนเพลา หรือสลกั ต่าง ๆการใชง้ าน คือใช้งานง่าย สะดวก เพียงเริ่มจากการเจาะรูท่ีมีขนาดใหญ่ กว่าขนาดของความโตของแกนปริ้นล็อค แค่น้ีเราก็จะสามารถเสียบปริ้นล็อคเขา้ ไปอย่างง่ายดาย โดยการใชค้ ีมบบี หรือตอกเขา้ ไปในรูตวั ปริ้นลอ็ ค จะทาหนา้ ที่ล็อคสลกั หรือกบั ช้ินงานตา่ ง ๆไมใ่ ห้ เลื่อนหรือขยบั ไปไหน เทา่ น้ีเราก็สามารถล็อคแกนเพลาหรือสลกั อื่นๆไดอ้ ยา่ งแน่นหนาแลว้ 4. เอกสารที่เกยี่ วข้องกับการเช่ือมด้วยไฟฟ้า 4.1 ความหมายของการเช่ือมด้วยไฟฟ้า การเช่ือมดว้ ยไฟฟ้าเป็นตวั ประกอบในการทางาน โดยการใชล้ วดเชื่อม (Electrode) ซ่ึงเป็น ข้ัวบวกมาสัมผสั กบั งานเช่ือมซ่ึงข้วั ลบ การเอาประจุไฟฟ้าลบ (Negative) วิ่งไปประทะกบั ประจุ ไฟฟ้าบวก (Positive) จะเกิดการสปาร์ค (Spark) ข้ึน ซ่ึงเรียกว่า อาร์ค (Arc)ในขณะเดียวกนั ลวด
16 เช่ือมซ่ึงห่อหุ้มดว้ ยสารเคมีก็หลอมละลายลงไปในงานเช่ือมดว้ ย ทาให้โลหะหรือช้ินงานเช่ือมตดิ เป็นเน้ือเดียวกนั ไดต้ ามตอ้ งการ 4.2 วิธีปฏิบัตใิ นการเช่ือมด้วยไฟฟ้า การเชื่อมด้วยไฟฟ้ามวี ธิ ีปฏิบตั ิ ดังน้ี 1. เลอื กเคร่ืองเช่ือมแบบท่ีตอ้ งการ D.C. / A.C. และตอ่ สายดิน (Ground) ให้ ถูกตอ้ ง 2. เลือกใชห้ นา้ กากให้เหมาะสมกบั ใบหน้า และชนิดของกระจก เพ่ือป้องกนั รงั สี อลั ตร้าไวโอเลต 3. ตรวจดสู ายเชื่อมและสายดินให้เรียบร้อย ขอ้ ตอ่ สายตอ้ งแน่นเพ่อื ป้องกนั ไฟรว่ั 4. นาสายดินคบี ชิ้นงาน หรือโตะ๊ ทางานใหแ้ น่น และสะอาดปราศจากสนิม 5. หมุนปรบั กระแสไฟบนเครื่องเชื่อมให้เหมาะสมกบั งานเช่ือม ซ่ึงข้ึนอยกู่ บั ชนิด และความหนาของโลหะ และไม่ควรปรบั ประแสไฟขณะเคร่ืองเช่ือมกาลงั ทางานอยู่ ควรปิ ดสวิตซ์ ก่อนปรับกระแสไฟ 6. ใชต้ วั จบั ลวดเชื่อมคบี ลวดเช่ือมใหแ้ น่น ทางดา้ นปลายท่ไี ม่มปี ลกั๊ หุ้ม 7. ถือลวดเชื่อมให้ต้ังตรง แล้วจ่อไวใ้ กล้ ๆบริเวณท่ีจะเริ่มตน้ เช่ือม อย่าให้แตะ ช้ินงาน จนกวา่ จะใชห้ นา้ กากบงั ใหเ้ รียบร้อย 8. จ้ีลวดเชื่อมลงบนแผ่นงานเบา ๆแลว้ รีบยกมือกระดกข้ึน เพ่ือลวดเชื่อมห่างจาก แผ่นงาน โดยเร็วและเดินลวดเชื่อมไปขา้ งหนา้ ช้า ๆฝึกทาจนเช่ือมไดเ้ ป็นอย่างดี ถา้ ลวดเช่ือมติด ช้ินงานดึงไม่ออก ต้องอ้าหัวจับลวดเชื่อมออกหรือปิ ดสวิตซ์แล้วตีออก แล้วทาการเชื่อมใหม่ เหมือนเดิม 9. ควรถือลวดเชื่อมให้เอยี งออกจากแนวเชื่อมประมาณ 15 - 30 องศา 10. หลงั จากเช่ือมไดแ้ ลว้ ตอ้ งทาความสะอาดรอยเช่ือม โดยใชค้ อ้ นเคาะสแลกท่ี เกาะอยตู่ ามแนวเช่ือม แลว้ ใชแ้ ปรงลวดปัดใหส้ ะอาด ท่าเช่ือมพนื้ ฐาน ท่าเช่ือมพ้ืนฐาน (Position) คือ ท่าท่ีผูป้ ฏิบตั ิตอ้ งกระทาตอ่ ช้ินงานท่ีเชื่อม ในกรณี ที่ไม่สามารถเคล่ือนยา้ ยช้ินงานได้ ท่าเชื่อมพ้ืนฐานมี 4 ตาแหน่งท่าเช่ือม คือ ตาแหน่งท่าราบ (Flat Position), ตาแหน่งท่าต้ัง (Vertical Position), ตาแหน่งท่าแนวนอน (Horizontal Position) และ ตาแหน่งท่าเหนือศีรษะ (Overhead Position)
17 รอยต่อของงานเชื่อมไฟฟ้า รอยต่อพ้ืนฐานท่ีใช้ในงานเชื่อมไฟฟ้ามี 5 แบบ แต่ละแบบมีการวางแผ่นโลหะ แตกตา่ งกนั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. รอยตอ่ ชน (Butt Joint) แผน่ โลหะท้งั สองแผน่ วางชิดติดในแนวเดียวกนั 2. รอยต่อเกย (Lap Joint) ลกั ษณะการวางโลหะ ท้งั สองแผ่นเหมือนรอยต่อชนแต่ วางทบั กนั 3. รอยต่อมุม (Corner Joint) คอื การวางโลหะ พงิ หรือชนกนั ใหเ้ กิดเป็นมมุ การต่อ ดว้ ยรอยต่อน้ีตอ้ งอาศยั ปากกาจบั ช้ินงานช่วย 4. รอยต่อขอบ (Edge Joint) คือ การนาแผ่นโลหะ 2 แผ่นมาวางซ้อนกันแล้ว เช่ือมตอ่ ขอบของโลหะท้งั สองติดกนั 5. รอยต่อตวั ที (T – Joint) แผ่นโลหะแผ่นหน่ึง จะนอนและโลหะอีกแผ่นหน่ึง จะลกั ษณะเหมอื นอกั ษรภาษาองั กฤษตวั ที (T) การเร่ิมต้นอาร์ค การเร่ิมต้นอาร์ค (Striking the Arc) เป็ นสิ่งจาเป็ นสาหรับผูฝ้ ึ กหัดเช่ือมไฟฟ้า เพ่อื ใหเ้ กิดทกั ษะความชานาญแลว้ พฒั นาไปสู่การเดินแนวเช่ือมท่ียากและซบั ซ้อนต่อไป การเร่ิมตน้ อาร์คทาได้ 2 วธิ ี คือ 1. การขีดหรือลาก (Scratching) คือ การอาร์คเช่ือมโลหะต่อไปเร่ือย ๆโดยไม่ยก ลวดเชื่อมข้ึนตลอดการอาร์คงาน โดยเร่ิมจากการจดลวดเชื่อมเอียง 20 – 25 องศา แลว้ ขีดหรือลาก ลวดเชื่อมมาจนลวดเช่ือมทามุม 90 องศา 2. การเคาะหรือกระแทก (Straight down and up) คือ การเชื่อมโลหะทย่ี กลวดข้นึ ลงเหมือนการเคาะหรือกระแทกตลอดการอาร์คงาน 4.3 เครื่องมือและอปุ กรณ์ในงานเชื่อมด้วยไฟฟ้า การเช่ือมดว้ ยไฟฟ้าจะตอ้ งมีเครื่องมอื และอุปกรณ์ท่จี าเป็น ดงั น้ี 4.3.1 เคร่ืองเชื่อมไฟฟ้า (Welding Machine) เป็นแหล่งผลิตหรือเปลี่ยนพลงั งาน ไฟฟ้าให้เหมาะสมกบั การเชื่อม ทาหนา้ ท่เี ปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าใหเ้ ป็นพลงั งานความร้อนโดยการทา ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าต่า (โวลต์ต่า) แต่มีกระแสไฟฟ้าสูง (แอมป์ สูง) ซ่ึงไม่เป็ นอันตรายต่อ ผู้ปฏิบัติงาน เครื่ องเชื่อมไฟฟ้าโยทั่วไป แบ่งออกเป็ น 2 ชนิดใหญ่ ๆคือ เครื่องเชื่อมไฟฟ้า กระแสสลบั และเคร่ืองเชื่อมไฟฟ้ากระแสตรง
18 4.3.2 หน้ากากเชื่อมไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักทาดว้ ยไฟเบอร์ มีเลนส์ไวส้ าหรับกรอง แสงและรังสีแต่ให้ผูป้ ฏิบตั ิงานไดเ้ ห็นการหลอมละลายของการเช่ือมได้ หน้ากากเชื่อมไฟฟ้าจะ มี 2 แบบคอื 1. แบบมือจบั (Hand Shield) ใชก้ บั งานทวั่ ไป 2. แบบสวมศีรษะ (Head Shield) ซ่ึงจะใช้กับงานก่อสร้าง โครงสร้างงาน สนาม หรืองานท่จี าเป็นตอ้ งใชม้ อื จบั งานขณะเช่ือม 4.3.3 ค้อนเคาะสแลก ทาจากเหล็กเคร่ืองมือ (Tool Steel) มีคมท่ีหัวท้ัง 2 ด้าน ดา้ นหน่ึงคมแบนและอกี ดา้ นหน่ึงคมเป็นเรียว ใชส้ าหรับเคาะสแลกที่ผิวเชื่อมออกจากแนวเชื่อม 4.3.4 แปรงลวด เป็ นอุปกรณ์ปัดทาความสะอาดผิวรอยเช่ือมท้ังก่อนและหลัง การเชื่อม 4.3.5 ถุงมือหนัง ทาดว้ ยหนังอ่อน ใช้ใส่ปฏิบัติงาน เพื่อป้องกนั ความร้อนรังสี และคมของโลหะ 4.3.6 คีมจับงานร้อน ใชค้ ีบจบั งานท่ีเชื่อมแลว้ และมีความร้อนอยู่ ปากคีมข้ึนอยกู่ บั รูปร่างของงานเช่น งานแผ่นก็ใชค้ ีมปากแบน งานกลม (เพลา) ก็ใชค้ ีมปากกลม 4.3.7 หัวจับลวดเชื่อมไฟฟ้า(Electrode Holder) ใช้สาหรับคีมจบั ลวดเช่ือมไฟฟ้า ทาจากวสั ดุที่เป็นฉนวนทนความร้อนมีหลอดทองแดงผสมฝังอยู่ภายในของดา้ นจบั เพื่อไวใ้ ส่สาย เคเบิลเชื่อม มีสปริงท่ีคนั บงั คบั ไวจ้ บั หรือปล่อยลวดเช่ือม ท่ีปากมีการทาเป็นฟันหยกั ไขวส้ ลบั ไว้ เพ่ือเป็นร่องบงั คบั ลวดเชื่อมใหแ้ น่น 4.3.8 คีมคีบสายดิน(Ground Clamp) ส่วนใหญ่ทาจากการหล่อทองแดงผสม มี สปริงดนั กา้ นไวค้ ีบจบั งานเพือ่ ให้กระแสไฟฟ้าเชื่อมครบวงจร 4.3.9 สายเชื่อมไฟฟ้า เป็นสายไฟฟ้าขนาดใหญ่ชนิดอ่อนมลี วดทองแดงเส้นเล็ก ๆ เรียงกนั อยู่ภายในสายประมาณ 800 – 2,500 เส้น มีฉนวนหุ้มหลายช้ัน สาหรับเคร่ืองเช่ือมไฟฟ้าจะ ใช้ 2 เส้น เส้นหน่ึงนากระแสไฟฟ้าจากเคร่ืองไปสู่งานเรียกว่า เคเบิลสายเช่ือม ซ่ึงต่อกบั หัวจบั ลวด เช่ือม ส่วนอกี เส้นหน่ึงนากระแสไฟฟ้าจากงานกลบั มายงั เคร่ืองเชื่อมเรียกวา่ เคเบลิ สายดิน
บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินกำร ในการศึกษาคร้งั นี้มีวัตถปุ ระสงค์ของการจดั ทำโครงการ เพ่อื เพ่อื ออกแบบและพัฒนาสร้าง อุปกรณ์ช่วยถอดยางรถ และเพื่อเพิ่มคุณภาพของอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถให้สะดวกต่อการใช้งาน โดยผจู้ ัดทำไดก้ ำหนดวธิ ีดำเนินการ ดังนี้ 3.1 ออกแบบ Automatic Watering เร่มิ ตน้ รวบรวมขอ้ มลู /สำรวจ ปญั หา วางแผนการดำเนินงานและนำเสนอโครงการ ตรวจสอบและประเมิน ปรบั ปรงุ นำเสนอโครงการทีถ่ อดยางรถ ปรบั ปรงุ ตรวจสอบและประเมนิ จัดรายงาน ตรวจสอบและประเมิน ปรบั ปรงุ . จบการทำงาน รปู ที่ 3.1 แผนผงั การทำงาน
20 3.2 วสั ดุ/อปุ กรณ์ท่เี กย่ี วข้อง 1. สว่านไฟฟ้า รปู ที่ 3.2 สวา่ นไฟฟ้า 2. น็อต/สกรเู กลียวหวั หกเหล่ยี ม รูปที่ 3.3 นอ็ ต/สกรเู กลียวหวั หกเหล่ยี ม 3. เครือ่ งเช่ือมโลหะ รูปที่ 3.4 เครอ่ื งเช่อื มโลหะ
21 4. เคร่อื งตดั เหล็ก รูปท่ี 3.5 เครื่องตดั เหลก็ 5. เหล็กกลมขนาด 2 น้ิว รูปท่ี 3.6 เหลก็ กลมขนาด 2 น้วิ 6. เหล็กกลมขนาด 4 น้ิว รูปท่ี 3.7 เหล็กกลมขนาด 4 นว้ิ
22 7. เหลก็ กลอ่ งขนาด 1*3 นว้ิ รปู ท่ี 3.8 เหล็กกลอ่ งขนาด 1*3 นว้ิ 8. เหลก็ แผน่ รปู ท่ี 3.9 เหลก็ แผ่น 9. ปรนิ้ ตัวล้อค R รปู ที่ 3.10 ปรนิ้ ตวั ล้อค R
23 10. สีสเปรย์ รูปที่ 3.11 สสี เปรย์ 3.3 ข้นั ตอนการทา 1. ออกแบบชน้ิ งาน รูปท่ี 3.12 ออกแบบชน้ิ งาน 2. วดั และตดั เหล็กตามขนาดท่ตี ้องการ รปู ที่ 3.13 วดั และตัดเหล็กตามขนาดทต่ี ้องการ
24 3. นำเหล็กทต่ี ดั มาเช่ือมให้ตดิ กัน รูปที่ 3.14 นำเหล็กที่ตัดมาเชอื่ มใหต้ ิดกัน 4. เจาะเหล็กเพือ่ ให้สามารถขันน็อตยึดโครงสร้างของชิ้นงานไวไ้ ด้ รปู ที่ 3.15 เจาะเหล็กเพอื่ ใหส้ ามารถขันนอ็ ตยึดโครงสร้างของชิ้นงานไวไ้ ด้ 5. พ่นสีในสว่ นตา่ ง ๆของเหลก็ ที่ตดั เอาไว้ตามท่ตี อ้ งการ และนำไปตากใหแ้ ห้ง รปู ท่ี 3.16 พน่ สชี ิน้ งาน และนำไปตากให้แหง้
25 6. นำช้นิ ส่วนมาประกอบกนั โดยใช้น็อตและสกรยู ดึ ตามจุดที่เช่อื มตอ่ จากนั้นใช้ ปรน้ิ ล็อค ตัว R ล็อคนอ็ ตท่ใี ช้สำหรบั ปรับระดับของเหลก็ รปู ที่ 3.17 นำช้นิ สว่ นมาประกอบกนั
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมาย ในการดําเนินโครงการที่ถอดยางรถ โดยใช้วิธีการ ออกแบบ สอบถาม และเก็บข้อมูลจากเจ้าของอาซ่อมรถและลูกจ้างในอู่ทวิท เซอร์วิส หมู่ท่ี 1 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช จํานวน 5 คน จากนั้นนําข้อมูลมาประเมิน โดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูปทาง สถติ ิ ไดท้ ําการวเิ คราะห์ขอ้ มูลและแปลความหมายได้ ดงั นี้ 4.1 การทดสอบการใช้สิ่งประดิษฐ์ ผู้จัดทําโครงการมีวิธีการทดสอบการใช้งานของโครงการ โดยการนําออกไปเผยแพร่ ณ สถานท่ีอู่ซ่อมรถ หมู่ท่ี 1 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเจ้าของร้าน และ ลกู จา้ ง และไดท้ าํ การทดสอบการใชง้ านของสิ่งประดิษฐ์ทไ่ี ด้จัดทําขึ้นมา และไดส้ อบถามเจ้าของอู่ซ่อม รถว่าสิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้เป็นยังไง ซึ่งผลที่ได้รับคือ มีความคิดสร้างสรรค์ที่ดี และเป็นประโยชน์ต่อการ เปลย่ี นยางรถและถอดประกอบลอ้ เป็นอย่างมาก ในการออกเผยแพรค่ รั้งน้ไี ด้รบั ความร่วมมอื จาก อู่ซอ่ ม รถในการเผยแพร่ความร้เู กีย่ วกบั โครงการเป็นอย่างดี รูปที่ 4.1 การนำไปทดลองการใช้งาน
27 รูปท่ี 4.2 การทดลองใชอ้ ุปกรณถ์ อดยางรถ 4.2 สรุปแบบประเมนิ โครงการ ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะห์เก่ียวกบั ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม เพศ จาํ นวน ร้อยละ (คน) ชาย 4 80 หญงิ 1 20 รวม 5 100 ตารางที่ 4.1 จาํ นวนร้อยละของเพศผตู้ อบแบบสอบถาม จากตารางท่ี 4.1 พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็ นเพศชาย และรองลงมาเป็ นเพศ หญงิ เพศชาย มีจาํ นวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 75 ส่วนเพศหญงิ จาํ นวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 25
28 อายุ จาํ นวน ร้อยละ (คน) ต่าํ กวา่ 18 ปี 0 0 18 - 30 ปี 1 20 31 – 40 ปี 3 60 สูงกว่า 40 ปี 1 20 ตารางท่ี 4.2 จาํ นวนร้อยละของระดบั อายผุ ตู้ อบแบบสอบถาม จากตารางท่ี 4.2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยใู่ นช่วงอายุ 31 – 40 ปี จาํ นวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมาคอื อายุ 18 - 30 ปี และอายสุ ูงกวา่ 40 ปี จาํ นวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 20 ระดบั จาํ นวน ร้อย การศึกษา (คน) ละ มธั ยมศึกษาตอนตน้ 0 0 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3 60 หรือ ปวช. ปวส. 2 40 ปริญญาตรี 0 0 ตารางที่ 4.3 จาํ นวนร้อยละของระดบั การศกึ ษาผตู้ อบแบบสอบถาม จากตารางท่ี 4.3 พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามระดบั การศึกษาส่วนใหญ่เป็นมธั ยมศึกษาตอน ปลายหรื อ ปวช. จํานวน 3 คน คิดเป็ นร้อยละ 60 รองลงมาเป็ น ปวส. จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40
29 ตอนที่ 2 ผลการศึกษาระดบั ความพงึ พอใจในการใชอ้ ปุ กรณ์ถอดยางรถ ประเดน็ ความคดิ เห็น X S.D. ระดบั ความพงึ พอใจ 1. ความเหมาะสมของช้ินงาน 4.50 0.578 ดี 2. สามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น 4.50 0.578 ดี ชีวิตประจาํ วนั ได้ 3. เพม่ิ คุณภาพของอุปกรณ์ช่วย 4.25 0.500 ดี ถอดยางรถให้สะดวกต่อการใช้ งานมากข้นึ 4. เพอ่ื สร้างรายไดใ้ ห้ผปู้ ระกอบ 4.00 0.000 ดี การไดม้ ากข้นึ 5. ความคดิ สร้างสรรค์ 4.50 0.578 ดี รวม 4.35 0.252 ดี ตารางท่ี 4.4 ผลการศกึ ษาระดบั ความพงึ พอใจในการใชอ้ ปุ กรณ์ถอดยางรถ จากตารางท่ี 4.4 ผลความพงึ พอใจในการใชอ้ ปุ กรณ์ถอดยางรถมีระดบั ความพึงพอใจอยู่ใน เกณฑด์ ี โดยภาพรวมพบว่าระดบั ความพงึ พอใจของเจา้ ของอซู่ ่อมรถ และลกู จา้ อ่ทู วทิ เซอวสิ หมู่ที่ 1 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช จาํ นวน 5 คน อยใู่ นเกณฑด์ ี ( X = 4.35) เมื่อพจิ ารณาตามระดบั ความพงึ พอใจทีม่ ากทส่ี ุด คือ ขอ้ ท่ี 1ความเหมาะสมของชิ้นงาน ขอ้ ท่ี 2 สามารถนาํ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชีวิตประจาํ วนั ได้ และขอ้ ท่ี 5 ความคิดสร้างสรรค์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 4.50 ( X = 4.50) รองลงมาคอื ขอ้ ท่ี 3 เพ่ิมคุณภาพของอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถให้สะดวกต่อการใช้งานมากข้ึน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 ( X = 4.25) และ ขอ้ ที่ 4 เพื่อสร้างรายไดใ้ ห้ผูป้ ระกอบการไดม้ ากข้ึนมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.00 ( X = 4.00) ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ การวิเคราะห์ขอ้ มลู จากขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ ของเจา้ ของอูซ่ ่อมรถและลูกจา้ งในอูท่ วทิ เซอวสิ หมู่ที่ 1 ต.สิชล อ.สิชล นครศรีธรรมราช จาํ นวน 5 คน ในการทดสอบโครงการสิ่งประดิษฐ์อุปกรณ์ ถอดยางรถ โดยนาํ มาเขยี นเป็นความเรียง ปรากฏผลตามรายละเอยี ดดงั น้ี 1. ควรเลือกใชว้ สั ดทุ ี่มีราคาถูกกว่าน้ี 2. ควรมกี ารเคลื่อนยา้ ยที่สะดวก เช่น พบั เกบ็ หรือ ถอดประกอบได้
บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ การวจิ ยั ในคร้งั น้ี มวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ออกแบบและพฒั นาสร้างอปุ กรณช์ ่วยถอดยางรถ และ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูท้ ่ีไดท้ ดลองใช้อุปกรณ์ถอดยางรถ ซ่ึงกลุ่มตวั อย่างที่เข้าร่วมการ ทดลองใชอ้ ุปกรณช์ ่วยถอดยางรถในคร้งั น้ีเป็นเจา้ ของอ่ซู ่อมรถ และลูกจา้ งในอทู่ วทิ เซอวิส หมู่ที่ 1 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช เป็นจาํ นวน 5 คน เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประเมินความพึงพอใจ เป็ นแบบสอบถามส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จาํ นวน 5 รายการ และแบ่งออกเป็น 3 ตอน ไดแ้ ก่ ตอนที่ 1 สภาพทว่ั ไป ตอนที่ 2 ระดบั ความพึงพอใจ ความรู้ความเขา้ ใจการนาํ ไปใชต้ อ่ การเขา้ ร่วมโครงการ และตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้โปรแกรม สําเร็จรูปทางสถิติ SPSS การคิดร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เน้ือหา คณะผจู้ ดั ทาํ วจิ ยั จึงนาํ เสนอการสรุปผลการวจิ ยั อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี 5.1 สรุปผลการวิจัย 5.1.1 การจดั ทาํ โครงการอุปกรณ์ช่วยถอดยางรถ คณะผูจ้ ดั ทาํ โครงการสิ่งประดิษฐ์ น้ี ไดศ้ ึกษาเอกสาร ทฤษฎี งานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ร่างแบบ และใหอ้ าจารยท์ ่ีปรึกษาได้ ตรวจสอบ และ ให้คาํ ช้ีแนะ จากน้นั คณะผูจ้ ดั ทาํ ไดน้ าํ ไปปรับปรุง แกไ้ ข และจดั ทาํ เป็ นโครงการส่ิงประดิษฐ์ โดย ใช้ชื่อโครงการว่า อุปกรณ์ช่วยถอดยางรถ ที่ประกอบดว้ ย เหล็ก น็อต สกรู ปริ้นล็อคตัว R มา รวมกนั ท้งั หมดให้เกิดข้ึนเป็ นโครงการสิ่งประดิษฐ์ ซ่ึงไดผ้ ลวิเคราะห์ขอ้ มูลความพึงพอใจที่มีตอ่ อุปกรณ์ช่วยถอดยางรถ โดยภาพรวมพบว่ามีระดบั ความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์ดี รวมท้งั ช่วยเพ่ิม ความสะดวกในการถอดยางรถ 5.1.2 โดยภาพรวมพบวา่ ระดบั ความพงึ พอใจของเจา้ ของอู่ซ่อมรถและลูกจา้ งในอู่ ทวิท เซอร์วิส หมู่ที่ 1 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช จาํ นวน5 คน อยูใ่ นเกณฑด์ ี โดยมีค่าเฉล่ีย เทา่ กบั 4.35 ( X = 4.35) มี 3 ดา้ น เป็นจาํ นวน 5 ขอ้
31 5.2 การอภปิ รายผล 5.2.1 โครงการสิ่งประดิษฐ์อุปกรณ์ถอดยางรถ ที่คณะผู้จัดทําได้จัดทำขึ้นมาจน ประสบความสําเร็จในครั้งนี้ อธิบายได้ว่ามาจากการคิด วิเคราะห์ ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฏีที่ เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมประมวลผลความรู้ และวิเคราะหจ์ ัดทําโครงรา่ งต้นแบน ดำเนินงานตามแบบ การที่วางไว้ และได้รับการดูแลจากอาจารย์ที่ปรึกษา โดยให้คําปรึกษา แก้ปัญหา และปรับปรุงมา โดยตลอด ทําให้โครงการสิ่งประดิษฐ์ที่ชื่อว่า อุปกรณ์ถอดยางรถ ได้รับคําตอบรับกลับมาเป็น อยา่ งดี 5.2.2 กลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมทดสอบโครงการสิ่งประดิษฐ์ อุปกรณ์ถอดยางรถ เป็นอู่ซ่อมรถทวิท เซอร์วิส หมู่ที่ 1 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช ได้ทราบข้อมูล และ วิธีใช้ งานต่าง ๆ ซึ่งไดผ้ ลตอบรับในระดบั ความพงึ พอใจโดยภาพรวม อยใู่ นเกณฑด์ ี 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 จากการจดั ทาํ โครงการสงิ่ ประดษิ ฐ์ ทีม่ ีชอื่ วา่ อปุ กรณ์ถอดยางรถขอนักศึกษา ปวส.2 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชย์การสิชล คณะ ผู้จดั ทําวิจยั จึงไดแ้ นวคิดทจ่ี ะเสนอแนะมดี ังน้ี 1. ควรมีการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการถอดเปลี่ยนยางรถ เพื่อที่จะนํามา พัฒนาโครงการสงิ่ ประดิษฐ์อปุ กรณ์ถอดเปล่ยี นยางรถทง่ี า่ ยและสะดวกกบั ผู้ใชง้ าน 2. ควรเพิ่มช่องทางให้ความรู้เกี่ยวกับการทําสิ่งประดิษฐ์ให้เกิดประโยชน์ มากข้นึ
32 บรรณานุกรม การเลือกเหล็ก.(2562).[ออนไลน]์ .เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://www.builk.com/yello/.(วนั ทีส่ ืบคน้ ขอ้ มูล : 15 มีนาคม 2565) ปริ้นล็อคตัว R. (ม.ป.ป.).[ออนไลน์].เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://tpcfast.com/product/. (วนั ท่ีสืบคน้ ขอ้ มลู : 17 มนี าคม 2565) น็อตและสกรู.(ม.ป.ป.).[ออนไลน์].เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://www.marineshine.co.th.(วนั ท่สี ืบคน้ ขอ้ มูล :15 มนี าคม 2565)
33 ภาคผนวก ก) การคานวณโปรแกรม SPSS ข) การตดิ ต้งั โปรแกรม SPSS 17.0 ค) ประมวลภาพการนาโครงการส่ิงประดษิ ฐ์ไปใช้ประโยชน์,ประมวล ภาพการจัดทาโครงการส่ิงประดิษฐ์,ประวตั ิส่วนตัว
ภาคผนวก ก การคํานวณโปรแกรม SPSS
เพศ Freequency Percent Valid Percent Cumulative Percent ชาย 4 80 80 80 หญงิ 1 20 20 100 รวม 5 100 100 ตารางที ก- ตารางแสดงขอ้ มลู เพศของผปู้ ระเมินแบบสอบถาม อายุ Freequency Percent Valid Percent Cumulative Percent ตาํ กวา่ ปี 0 0 0 - ปี 1 20 20 0 – ปี 3 60 60 20 1 20 20 80 สูงกวา่ ปี 100 ตารางที ก- ตารางแสดงขอ้ มลู อายขุ องผปู้ ระเมินแบบสอบถาม ระดบั การศึกษา Freequency Percent Valid Cumulative Percent Percent มธั ยมศึกษาตอนตน้ 0 0 มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือ ปวช. 3 60 0 0 2 40 60 60 ปวส. 0 0 40 100 ปริญญาตรี 0 ตารางที ก- ตารางแสดงขอ้ มลู การศึกษาของผปู้ ระเมินแบบสอบถาม
ประเดน็ ความคดิ เห็น X S.D. ระดบั ความพงึ พอใจ . ความเหมาะสมของชินงาน 4.50 0.578 ดี ดี . สามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น 4.50 0.578 ชีวติ ประจาํ วนั ได้ ดี . เพิมคณุ ภาพของอปุ กรณ์ช่วยถอด 4.25 0.500 ดี ยางรถใหส้ ะดวกต่อการใชง้ านมากขึน ดี ดี . เพือสร้างรายไดใ้ ห้ผปู้ ระกอบการ 4.00 0.000 ไดม้ ากขึน . ความคิดสรา้ งสรรค์ 4.50 0.578 รวม 4.35 0.252 ตารางที ก- ตารางแสดงขอ้ มลู ความพึงพอใจ
ภาคผนวก ข การติดต้งั โปรแกรม SPSS 17.0
ข้นั ตอนติดต้งั โปรแกรม SPSS STATISTICS 17.0 1. โปรแกรม SPSS จะใชโ้ ปรโตคอลการส่ือสารแบบ UDP ท่ีหมายเลขพอร์ต 5093 และ 5099 ในการตรวจสอบลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์ ดงั น้นั หากเครื่องคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่ายใดมี Firewall ก้นั อยู่ ท่านจะตอ้ งเตรียมความพร้อมในส่วนน้ีก่อนดาเนินการติดต้งั SPSS program uses communication protocols UDP port numbers 5093 and 5099 to examine the software. If your computer or network has blocked Firewall, you will need to prepare in this section before proceeding with the installation. 2. ต้ังชื่อเคร่ื องคอมพิวเตอร์และชื่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ให้เป็ นไปตามมาตรฐาน Naming computers and computer groups according to the standard. 3. ติดต่อขอรับโปรแกรมได้ที่ เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ของคณะหรือหน่วยงานของท่าน Contact the program Officer of the Board or your institution. 4. ใส่แผ่นซีดีรอมท่ีไดร้ ับลงในเคร่ืองที่ตอ้ งการติดต้ังโปรแกรม จะแสดงหน้าจอดงั ภาพ Insert the CD-ROM into the machine to be installed. Will display as shown below. 5. คลกิ เลือก “Install SPSS Statistics 17.0 Click \"Install SPSS Statistics 17.0\".
6. เลอื กรูปแบบการติดต้งั เป็นแบบ “Network License” แลว้ คลกิ เลือกทป่ี ่มุ “Next” คลกิ เลือกป่ มุ “Next” Select the type of installation is a \"Network License\" button and click \"Next\". Click the \"Next\" button 7. คลกิ เลือกป่ ุม “Next” Click the \"Next\" button
8. ป้อนชื่อเครื่องคอมพวิ เตอร์แม่ขา่ ย “dc1.win.chula.ac.th” สาหรับใชใ้ นการตรวจสอบ ลขิ สิทธ์ิ แลว้ กดป่ มุ Set Enter a name server \"Dc1.win.chula.ac.th\" used to check the copyright and press Set. 9. คลิกป่ ุม Next Click the \"Next\" button
Search