Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore group2 Education 4.0 in active learning

group2 Education 4.0 in active learning

Published by iamwantanawonghan, 2016-10-05 05:14:19

Description: group2 Education 4.0 in active learning

Search

Read the Text Version

Education 4.0 ปัจจบุ นั นีค้ วามรู้ตา่ ง ๆ พฒั นาขนึ ้ อยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ความรู้ในด้านเทคโนโลยีการเรียนรู้จงึ ไมไ่ ด้เป็นแคก่ ารถา่ ยถอดความรู้จากผ้สู อนส่ผู ้เู รียน หรือท่ีเรียกวา่ การเรียนการสอนในระบบEducation 1.0 อย่างในอดีตท่ีผา่ นมา ทงั้ นี ้ในวงการศกึ ษาได้มีการพฒั นาระบบการเรียนการสอนด้วยการนาเทคโนโลยีมาใช้เป็นเคร่ืองมือในการจดั การเรียนการสอน หรือท่ีเรียกวา่ Education 2.0 แตก่ ็ยงั ไมส่ ามารถนาไปสกู่ ารพฒั นาผ้เู รียนได้เทา่ ที่ควร ปัจจบุ นั จงึ ได้มีการปรับการเรียนการสอนในมหาวิทยาลยั ชนั้ นาหลายแหง่ เข้าสรู่ ะบบEducation 3.0 ด้วยการสง่ เสริมให้นิสิตนกั ศกึ ษาแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่ือการสอนทกุ รูปแบบ ทงั้ส่ือสง่ิ พิมพ์และสื่อดจิ ิทลั ผสมกบั การทางานเป็นกลมุ่ และปรับการสอนให้มีรูปแบบ Interactive learningรวมทงั้ การนาส่ือสงั คมออนไลน์ (Social Media) เข้ามาเป็นเครื่องมือชว่ ยในการพฒั นาการเรียนการสอนมากย่งิ ขนึ ้

สงั คมแหง่ การเรียนรู้แบบใหมท่ ี่มงุ่ เน้นให้ผ้เู รียนไมใ่ ชเ่ พียงแคไ่ ด้รับความรู้ แตต่ ้องเป็นผ้ทู ี่สร้างสรรค์นวตั กรรมใหม่ จงึ เป็นจดุ เปล่ียนสาคญั ที่ผ้สู อนจะต้องพฒั นาศกั ยภาพเพ่ือก้าวผา่ นจากการเรียนการสอนระบบ Education 3.0 เข้าสรู่ ะบบการเรียนการสอนแบบใหม่ หรือที่เรียกว่า Education 4.0Education 4.0 คอื อะไร ? จากการค้นคว้าหาข้อมลู เก่ียวกบั Education 4.0 วา่ คืออะไร มีหลกั ในการใช้อยา่ งไร ได้ความวา่ยงั ไมม่ ีใครท่ีจะบญั ญัตคิ วามหมายไว้ได้ชดั เจน มีเพียงแต่ Education 3.0 คือ การสง่ เสริมให้นิสติ นกั ศกึ ษาแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากสื่อการสอนทกุ รูปแบบ ทงั้ ส่ือสิ่งพมิ พ์และสื่อดจิ ทิ ลั ผสมกบั การทางานเป็นกลมุ่ และปรับการสอนให้มีรูปแบบ Interactive learning รวมทงั้ การนาสื่อสงั คมออนไลน์ (Social Media)เข้ามาเป็นเครื่องมือช่วยในการพฒั นาการเรียนการสอนมากยิง่ ขนึ ้ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามก็มีมหาวิทยาลยั ที่เริ่มพฒั นาเข้าสยู่ คุ ของ Education 4.0 แล้ว คือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ทางคณะได้เร่ิมมีการพฒั นาการใช้ระบบ Education 4.0 เชน่การสร้างห้องเรียน i-SCALE คือ ห้องเรียนทนั สมยั ท่ีมงุ่ เน้นการปฏิสมั พนั ธ์ของผ้เู รียน มีการเรียนการสอนที่มงุ่ การคิดเชงิ ออกแบบ ซงึ่ ก็คือแนวทางออกแบบท่ีมงุ่ ความต้องการของผ้ใู ช้เป็นสาคญั และการผลิตนวตั กรรมท่ีตอบสนองความต้องการของสงั คมสว่ นใหญ่ ดังนัน้ อาจกลา่ วได้วา่ Education 4.0 เป็นการเรียนการสอนที่สอนให้นกั ศกึ ษา สามารถนาองค์ความรู้จากแหลง่ ตา่ ง ๆมาบรู ณาการเชงิ สร้างสรรค์ เพ่ือพฒั นานวตั กรรมตา่ ง ๆ มาใช้ตอบสนองความต้องการของสงั คมEducation 4.0 กับ การเรียนการสอนในประเทศไทย การเรียนการสอนของไทยในยคุ นีห้ ากพดู ถึงแล้วยงั คงหา่ งไกลกบั การพฒั นาเข้าสรู่ ะบบEducation 4.0 เนื่องจากวา่ ระบบการศกึ ษาของประเทศไทยนนั้ สว่ นใหญ่แล้วเป็นการฝึกให้นกั เรียน เรียนในห้องอยา่ งเดยี วเสียมากกว่า ทาให้เดก็ ขาดความกล้าที่จะคดิ และกล้าที่จะแสดงออก

\"การเรียนการสอนของไทยในอดีตมีลกั ษณะการถ่ายโอนความรู้ในทิศทางเดียวจากผ้สู อนสผู่ ้เู รียนหรือเรียกวา่ การศกึ ษาระบบ 1.0 และ 2.0 แตเ่ ริ่มเปลี่ยนแปลงไปด้วยอิทธิพลของอินเทอร์เนต็ จนนาไปสู่การศกึ ษาระบบ 3.0 ในปัจจบุ นั ท่ีผ้เู รียนต้องเรียนรู้จากแหลง่ ตา่ ง ๆ การพฒั นารูปแบบการเรียนรู้ท่ีจะสามารถผลติ บคุ ลากรในแบบเกง่ คดิ และเก่งคน ผา่ นศาสตร์การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) จงึ ได้พฒั นาการเรียนการสอนระบบ 4.0 ขนึ ้ มา\" ขณะนีท้ างสพฐ.ได้มีการพฒั นาหลกั สตู ร การจดั การเรียนการสอนให้สอดคล้องกบั นโยบายของประเทศไทย EDUCATION 4.0 ที่เดก็ ไมใ่ ชเ่ รียนรู้อยใู่ นห้องเรียน หรือครูจดั การเรียนการสอนในรูปแบบเดมิ ๆ เพราะการสอนเดก็ ไม่ใชเ่ พื่อทอ่ งจา แตเ่ ป็นการสอนให้เดก็ มีทกั ษะคดิ วเิ คราะห์ แก้ไขปัญหา และมีวธิ ีการจดั การความรู้ รวมถึงเป็นการเรียนรู้ด้วยระบบดจิ ิตอล ซง่ึ เดก็ จะมีทกั ษะเหลา่ นนั้ ได้ต้องเริ่มจากครูผ้สู อน โดยทางสพฐ.ได้มีการพฒั นาระบบการพฒั นาครูออนไลน์ เพ่ือให้ครูได้มีองคค์ วามรู้ การจดั การเรียนการสอนระบบใหมๆ่ โดยครูไมต่ ้องออกนอกห้องเรียนหรือโรงเรียน เป็นการชว่ ยครูในการเรียนรู้ และงาน EDUCA 2016 :SLC จะเป็นอีกหนง่ึ เวทีให้ครูได้มาเรียนรู้รูปแบบการจดั การเรียนการสอน และนวตั กรรมที่เหมาะสมในการสอนเดก็ ให้เป็นผ้คู ิดค้นนวตั กรรมร่วมด้วย EDUCATION 4.0 ท่ีภาครัฐมีนโยบายออกมาเป็นยทุ ธศาสตร์ของชาติ เพ่ือกระต้นุ ให้สงั คมไทยเดนิ หน้าไปสสู่ งั คมแหง่ การเรียนรู้ที่มงุ่ เน้นให้ผ้เู รียนมิใชแ่ คเ่ รียนเพ่ือรู้ แตต่ ้องเป็นผ้ทู ี่สร้างสรรค์นวตั กรรมใหม่ ตอบสนองความต้องการของสงั คมได้ ดงั นนั้ เปา้ หมายของ SLC จะเป็นแนวการเรียนการสอนไมใ่ ชม่ งุ่เพียงนกั เรียน แตม่ งุ่ พฒั นาครูให้เป็นผ้สู ร้างนวตั กรรมใหมด่ ้วย สร้างให้ครูคดิ เชงิ ประชาธิปไตย รู้จกั การแบง่ ปันแชร์ประสบการณ์การสอนเพ่ือชว่ ยพฒั นาเด็กทกุ คนโดยไมท่ งิ ้ นกั เรียน อยา่ งไรก็ตาม การจะพฒั นาครูและสร้างโรงเรียนเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ได้ ส่งิ สาคญั คอื ต้องมีผ้บู ริหารโรงเรียนต้องเป็นผ้นู าเชงิ รุกนาวิชาการ และสง่ เสริมพฒั นาครู

Active Learningความหมาย Active Learning เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีให้ผ้เู รียนได้เรียนรู้อยา่ งมีความหมาย โดยการร่วมมือระหวา่ งผ้เู รียนด้วยกนั ในการนี ้ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ข้อความรู้แก่ผ้เู รียนโดยตรงลง แต่ไปเพิ่มกระบวนการและกิจกรรมที่จะทาให้ผ้เู รียนเกิดความกระตือรือร้นในการจะทากิจกรรมตา่ ง ๆ มากขนึ ้และอยา่ งหลากหลาย ไมว่ า่ จะเป็นการแลกเปล่ียนประสบการณ์ โดยการพดู การเขียน การอภิปรายกบัเพ่ือนๆ กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทาให้ผ้เู รียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยคู่ งทนได้มากและนานกวา่ กระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรียนรู้ Active Learning สอดคล้องกบั การทางานของสมองท่ีเก่ียวข้องกบั ความจา โดยสามารถเก็บและจาสง่ิ ที่ผ้เู รียนเรียนรู้อยา่ งมีสว่ นร่วมมีปฏิสมั พนั ธ์ กบั เพื่อน ผ้สู อน ส่ิงแวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบตั จิ ริง จะสามารถเก็บความจาในระบบความจาระยะยาว (Long Term Memory) ทาให้ผลการเรียนรู้ ยงั คงอยไู่ ด้ในปริมาณที่มากกวา่ ระยะยาวกวา่ ซง่ึ อธิบายไว้ ดงั รูป

การบวนการเรียนรู้ Active Learning การให้ผ้เู รียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อยา่ งมีปฏิสมั พนั ธ์จนเกิดความรู้ ความเข้าใจนาไป ประยกุ ต์ใช้สามารถวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ คา่ หรือ สร้างสรรค์ส่งิ ตา่ ง ๆ และพฒั นาตนเองเตม็ ความสามารถ รวมถงึ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ให้เขาได้มีโอกาสร่วมอภิปรายให้มีโอกาสฝึกทกั ษะการ ส่ือสาร ทาให้ผลการเรียนรู้เพ่ิมขนึ ้ 70% การนาเสนองานทางวชิ าการ เรียนรู้ในสถานการณ์จาลอง ทงั้ มีการฝึกปฏิบตั ิ ในสภาพจริง มีการเชื่อมโยง กบั สถานการณ์ ตา่ ง ๆ ซง่ึ จะทาให้ผลการเรียนรู้เกิดขนึ ้ ถึง 90%

ลักษณะของ Active Learning (อา้ งอิงจาก :ไชยยศ เรืองสวุ รรณ) เป็นการเรียนการสอนท่ีพฒั นาศกั ยภาพทางสมอง ได้แก่ การคดิ การแก้ปัญหา การนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ เป็นการเรียนการสอนท่ีเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ ผ้เู รียนสร้างองค์ความรู้และจดั ระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอน มีการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฎิสมั พนั ธ์ร่วมกนั และร่วมมือกนั มากกวา่ การแขง่ ขนั ผ้เู รียนได้เรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกนั การมีวินยั ในการทางาน และการแบง่ หน้าที่ความรับผิดชอบ เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผ้เู รียนอา่ น พดู ฟัง คดิ เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นทกั ษะการคดิ ขนั้ สงู เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนบรู ณาการข้อมลู , ขา่ วสาร, สารสนเทศ, และหลกั การสกู่ ารสร้างความคดิ รวบยอดความคิดรวบยอด ผ้สู อนจะเป็นผ้อู านวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้ เพ่ือให้ผ้เู รียนเป็นผ้ปู ฏิบตั ดิ ้วยตนเอง ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผ้เู รียน

บทบาทของครู กับ Active Learning ณชั นนั แก้วชยั เจริญกิจ (2550)1. จดั ให้ผ้เู รียนเป็นศนู ย์กลางของการเรียนการสอน กิจกรรมต้องสะท้อนความต้องการในการพฒั นาผ้เู รียน และเน้นการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวติ จริงของผ้เู รียน2. สร้างบรรยากาศของการมีสว่ นร่วม และการเจรจาโต้ตอบท่ีสง่ เสริมให้ผ้เู รียนมีปฏิสมั พนั ธ์ที่ดีกบั ผ้สู อนและ เพ่ือนในชนั้ เรียน3. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวตั สง่ เสริมให้ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในทกุ กิจกรรมรวมทงั้ กระต้นุ ให้ ผ้เู รียนประสบความสาเร็จในการเรียนรู้4. จดั สภาพการเรียนรู้แบบร่วมมือ สง่ เสริมให้เกิดการร่วมมือในกลมุ่ ผ้เู รียน5. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผ้เู รียนได้รับวธิ ีการสอนที่หลากหลาย6. วางแผนเก่ียวกบั เวลาในจดั การเรียนการสอนอยา่ งชดั เจน ทงั้ ในสว่ นของเนือ้ หา และกิจกรรม7. ครูผ้สู อนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคดิ เของท่ีผ้เู รียน

Education 4.0 In Active Learning Education 4.0 กบั Active learning สมั พนั ธ์กนั ตรงที่ เน้นให้ผ้เู รียนได้มีการร่วมมือกนั ในการเรียนรู้ ออกแบบความคิดออกมาได้อยางสร้างสรรค์ ผา่ นส่ือดจิ ทิ ลั education 4.0 เป็นการให้ผ้เู รียนนาความรู้ตา่ ง ๆมาบรู ณาการ เพื่อให้ตอบสนองตอ่ ความต้องการของสงั คม ดงั นนั้ active learning (ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาการเรียนรู้) เป็นการเรียนท่ีครูผ้สู อนนนั้ ต้องลดบทบาทในการสอนลง เพื่อให้ผ้เู รียนได้ค้นคว้าด้วยตวั เอง สองอยา่ งนีต้ ้องควบคกู่ นั ไป ทงั้ ผ้เู รียนและผ้สู อนเพ่ือให้การเรียนนนั้ มีประสิทธิภาพมากยง่ิ ขนึ ้ อีกทงั้ ผ้เู รียนยงั มีปฏิสมั พนั ธ์กบั สง่ิ แวดล้อม เพ่ือน เเละผ้สู อน เป็นการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบตั จิ ริง การเรียนแบบeducation 4.0 กบั active learning จงึ มีประสิทธิภาพในการนาไปประยกุ ต์ใช้ได้มากกวา่ การเรียนการสอนแบบท่องจาหรือให้ครูเป็นผ้ถู ่ายทอดความรู้ฝ่ายเดยี ว เพราะความรู้และศกั ยภาพในการทางานจะเกิดจากประสบการณ์ของตวั ผ้เู รียนเอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook