1 รายงาน เรอื่ ง ซอฟต์แวร์ จัดทาโดย นางสาว ณิชนนั ทน์ รอดเกล้ยี ง รหสั 008 นาเสนอ อาจารย์ กนิษฐา ปานศรี รายงานเลม่ นีเ้ ป็นส่วนหนง่ึ ของวิชาระบบปฏบิ ตั กิ ารเบอ้ื งตน้ 2204-2002 ประจาปกี ารศกึ ษา 1/2562 แผนก คอมพวิ เตอร์ธรุ ะกจิ 1/1 วิทยาลยั เทคนคิ กระบี่
2 คานา รายงานฉบับนจ้ี ดั ทาขน้ึ เพ่ือประกอบการเรียนวิชาระบบปฏบิ ัติการเบ้ือตน้ โดยมจี ุดประสงคเ์ พือ่ ให้ผ้จู ัดทาได้ ฝกึ การศกึ ษาค้นควา้ และนาสงิ่ ที่ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ มาสรา้ งเป็นช้ินงานเกบ็ ไว้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการ สอนของตนเองและครูต่อไป ทั้งนี้ เนือ้ หาได้รวบรวมมาจากหนังสอื และเว็บไซตห์ ลายๆเว็บไซต์ ผูจ้ ดั ทาหวงั ว่ารายงานฉบับนคี้ ง มปี ระโยชนต์ อ่ ผู้ทนี่ าไปใชใ้ ห้เกิดผลสมั ฤทธิต์ ามความคาดหวงั หากรายงานเล่มน้ผี ิดพลาดประการใด คณะ ผจู้ ดั ทาขอโอกาสไว้ ณ ท่นี ี้ คณะผู้จดั ทา นางสาว ณิชนนั ทน์ รอดเกล้ยี ง
3 สารบัญ เรอ่ื ง หนา้
4 ซอฟต์แวร์ (software) ซอฟตแ์ วร์ (software) หมายถึงชุดคาสงั่ หรอื โปรแกรมท่ใี ช้สัง่ งานใหค้ อมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึง หมายถึงลาดับขั้นตอนการทางานที่เขียนขึ้นด้วยคาสั่งของคอมพิวเตอร์ คาสั่งเหล่าน้ีเรียงกันเป็นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้ววา่ คอมพวิ เตอร์ทางานตามคาส่ัง การทางานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทากับ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซ่ึงใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ส่ังงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์ เพราะเป็นลาดับข้ันตอนการทางานของ คอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์เครื่องหน่ึงทางานแตกต่างกันไดม้ ากมายด้วยซอฟต์แวร์ท่แี ตกต่างกัน ซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทท่ีทาให้คอมพิวเตอร์ทางานได้การท่ีเรา เห็นคอมพิวเตอร์ทางานให้กับเราได้มากมาย เพราะว่ามีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงาน คอมพิวเตอร์ รา้ นคา้ อาจใชค้ อมพิวเตอร์ทาบญั ชีที่ยุ่งยากซับซ้อน บริษัทขายต๋ัวใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบ การจองตัว๋ คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยในเร่อื งกิจการงานธนาคารท่ีมีขอ้ มลู ต่าง ๆ มากมาย คอมพิวเตอรช์ ่วยงานพมิ พ์ เอกสารใหส้ วยงาม เปน็ ตน้ การท่คี อมพิวเตอรด์ าเนินการใหป้ ระโยชนไ์ ด้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถ ทางานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่ิงท่ีจาเป็น และมีความสาคัญมาก และเป็นส่วนประกอบหนึ่งท่ีทาให้ระบบ สารสนเทศเปน็ ไปไดต้ ามท่ตี ้องการ
5 ประเภทของซอฟต์แวร์ 1.ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ คือซอฟตแ์ วร์ท่ชี ่วยในการจัดการระบบคอมพวิ เตอร์ จัดการอุปกรณ์รบั เข้าและสง่ ออก การรับข้อมูลจากแผง แป้นอกั ขระ การแสดงผลบนจอภาพ การนาข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเคร่ืองพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟม้ การ เรียกค้นข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ท่ีดูแลจัดการอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยู่ใน ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบทีร่ จู้ ักกันดี คอื ระบบปฏิบตั ิการ (operating system) เชน่ เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์ ลีนกุ ซ์ เปน็ ต้น คอมพิวเตอร์จะทางานไม่ได้หากปราศจากระบบปฏิบัติการ ซ่ึงทาหน้าท่ีประสานงานระหว่างมนุษย์กับ คอมพิวเตอร์ เราสามารถส่ังงานผ่านระบบปฏิบัติการให้คอมพิวเตอร์คานวณ ให้แสดงภาพ ให้พิมพ์ข้อความ หรอื ผลลพั ธ์ออกมาทางเครื่องพมิ พ์ นอกจากนัน้ คอมพิวเตอร์ยงั ทาหน้าที่ประสานงานระหว่างโปรแกรมต่างๆ กับตัวเคร่ือง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ไม่ว่าประเภทใดล้วนแต่ต้องทางานบนซอฟต์แวร์ระบบทั้งสิ้น เน่ืองจากคอมพิวเตอร์จะไม่ทางาน ถ้าไม่มีระบบปฏิบัติการ การเร่ิมใช้งานคอมพิวเตอร์ทุกคร้ังจึงต้อง บรรจุ (load) ระบบปฏิบัติการเข้าไว้ในหน่วยความจาของเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนท่ีจะให้เคร่ืองเร่ิมทางาน อย่างอนื่ (2) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการประเภทใช้หลายคน และหลายงาน ได้มีผู้พัฒนา ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ให้สามารถใช้กับเครื่องชนิดต่างๆ หลายระบบโดยต้ังชื่อใหม่ เช่น ซีนิกซ์ (Xenix) วี นิกซ์ (Venix) ไมโครนิกซ์ (Micronix) เอไอเอ็กซ์ (AIX) อัลทริกซ์ (Altrix) เป็นต้น ปัจจุบันมีความพยายาม จะกาหนดใหร้ ะบบปฏบิ ัตกิ ารทีม่ ชี ือ่ ต่าง ๆ เหล่านเ้ี ป็นมาตรฐานเดียวกัน (3) ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์ (Microsoft Windows) ระบบปฏิบัติการท่ีพัฒนาโดยบริษัท ไมโครซอฟต์ เป็นระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะการใช้งานแตกต่างจาก 2 ระบบแรกที่กล่าวมา เน่ืองจากมี ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (user interface) เป็นแบบท่ีเรียกว่าระบบติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก (Graphic User Interface : GUI) หรือที่เรียกว่าจียูไอ คือมีการแสดงผลเป็นรูปภาพ และใช้สัญลักษณ์ในรูปรายการเลือก (menu) หรือสัญรูป (icon) ในการสั่งงานคอมพิวเตอร์แทนการพิมพ์คาสั่งทีละบรรทัด ทาให้การใช้งาน คอมพิวเตอร์ง่ายข้ึน ทั้งยังมีสีสันทาให้ซอฟต์แวร์น่าใช้งานมากข้ึน ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ (Linux) เป็น ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ระบบหนึ่งเช่นเดียวกับซีนิกซ์หรือวีนิกซ์ ได้รับการพัฒนาโดยนักศึกษาภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัยเฮลซินกิประเทศฟินแลนด์ช่ือลีนุซ ทอร์วาลด์ (Linus Torvalds) เขาเริ่มพัฒนาระบบปฏิบัติการดังกล่าวในปี พ.ศ.2523 ด้วยเขาต้องการพัฒนาระบบปฏิบัติ
6 ยูนิกซ์ที่มีความสามารถมากกว่าไมนิกซ์ซ่ึงเขาใช้งานอยู่ จึงเริ่มต้นพัฒนาระบบปฏิบัติการน้ีเอง โดยไม่ได้ ลอกเลียนแบบจากระบบยูนิกซ์อ่ืนเลย และในปี พ.ศ.2534 ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เวอร์ชั่น 0.010 ก็ได้รับ การเผยแพร่ โดยมีการแจกให้ใช้งานฟรรี วมท้ังรหัสต้นแบบ (source code) ก็เป็นที่เปิดเผย จึงเป็นที่นิยม และมีผนู้ าไปพฒั นาลนี ุกซ์ของตนเองข้ึนใชง้ านมากมาย รวมท้ังมผี ู้พัฒนาซอฟตแ์ วร์ประยุกตข์ นึ้ ใช้งานบนลี นุกซอ์ ีกดว้ p
7 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ คอื ซอฟต์แวร์ทีเ่ ขียนขึ้น เพื่อประยกุ ตก์ ับงานท่ผี ใู้ ชต้ อ้ งการ เชน่ ซอฟตแ์ วรป์ ระมวลคา ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์ จดั การฐานขอ้ มูล เป็นต้น การทางานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จาเป็นต้องทางานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคาต้องทางานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส หรอื วินโดวส์ เป็นต้น ซอฟต์แวรป์ ระยุกตไ์ ด้รับความนิยมใชง้ านอยา่ งแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนง่ึ มาจาก ขีด ความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์น้ันๆ เพราะซอฟต์แวร์ท่ีผลิตออกจาหน่าย ต่างพยายามแข่งขันกัน หลายๆ ดา้ น เช่น เรียนรแู้ ละใช้งานได้ง่าย สนบั สนุนให้ใชก้ ับเคร่ืองพิมพไ์ ด้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ที่อา่ น เข้าใจงา่ ย ให้วธิ ีหรือขั้นตอนทอ่ี ธบิ ายไว้อยา่ งชดั เจน และมีระบบโอนย้ายข้อมูลเขา้ ออกกับซอฟต์แวร์อ่นื ได้ ง่าย ซอฟต์แวร์ประยุกต์มีอยู่มากมาย อาจแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทางและ ซอฟตแ์ วร์สาเรจ็ 2.1ซอฟตแ์ วร์ใชเ้ ฉพาะทาง เป็นโปรแกรมท่ีได้รับการออกแบบและพัฒนาสาหรับนาไปใช้งานเฉพาะด้าน หรือในสาขาใดสาขา หนึ่งตามความต้องการของผู้ใช้ โดยท่ีผู้เขียนคือโปรแกรมเมอร์ (programmer) ท่ีมีความสามารถในการ เขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ และต้องศึกษาทาความเข้าใจเข้าใจงานและรายละเอียดของการ ประยุกต์นั้นเป็นอย่างดี เช่น โปรแกรมช่วยจัดการด้านการเงิน โปรแกรมช่วยจัดการบริการลูกค้า ฯลฯ ตามปกติจะไม่ค่อยได้พบเห็นซอฟต์แวร์ประเภทน้ีในทอ้ งตลาดท่ัวไป แต่จะซ้อื หาไดจ้ ากผู้ผลติ หรอื ตัวแทน จาหนา่ ยในราคาค่อนขา้ งสงู กวา่ ซอฟต์แวร์ท่ีใช้งานทั่วไป โครงสร้างของซอฟต์แวร์เฉพาะทางมักจะประกอบด้วย ฐานข้อมูลเพ่ือใช้เก็บข้อมูลลูกค้า และระบบ หลักของงาน ภายในซอฟต์แวร์ควรจะมสี ่วนทางานประมวลคาเพ่ือใช้สร้างรายงาน ติดต่อโต้ตอบจดหมาย และการนัดหมายตามกาหนดการ ลักษณะของซอฟต์แวร์เฉพาะทางนี้ มีท้ังรูปแบบที่มีผู้ใช้งานคนเดียว หรือผใู้ ช้งานไดพ้ ร้อมกันหลายคน
8 ในประเทศไทยมีการใช้ซอฟต์แวร์ประเภทใช้เฉพาะทางอยู่บ้าง ส่วนใหญ่จะเป็นซอฟต์แวร์ท่ีบริษัทผู้ผลิต ตา่ งประเทศไดอ้ อกแบบมาเพือ่ รองรับงานดา้ นธรุ กจิ ในท่ีนีไ้ ดร้ วบรวมจัดประเภทไว้ดงั นี้ (1) ซอฟต์แวร์ระบบงานด้านบัญชี ได้แก่ ระบบงานบัญชีเจ้าหน้ี บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินทรัพย์ถาวรและค่า เสอ่ื มราคาสะสม บญั ชีแยกประเภทท่วั ไป และบัญชีเงนิ เดอื น (2) ซอฟตแ์ วร์ระบบงานจดั จาหน่าย ได้แก่ ระบบงานรบั ใบส่งั ซ้ือสินค้า ระบบงานบรหิ ารสนิ คา้ คงคลงั และ ระบบงานประวัตกิ ารขาย (3) ซอฟตแ์ วร์ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม ไดแ้ ก่ ระบบงานกาหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การวางแผน กาลังการผลิต การคานวณต้นทุนของงาน การประเมินผลงานของพนักงาน การวางแผนการผลิตหลัก การ วางแผนความต้องการวัสดุ การควบคุมการทางานภายในโรงงาน การกาหนดเงินทุนมาตรฐานสินค้าและ การกาหนดขน้ั ตอนการผลิต (4) ซอฟต์แวรอ์ น่ื ๆ ไดแ้ ก่ ระบบการสรา้ งรายงาน การบรหิ ารการเงนิ การเชา่ ซื้ออสังหารมิ ทรัพย์ และการ เชา่ ซ้ือรถยนต์ 2.2 ซอฟต์แวรส์ าเรจ็ เป็นซอฟต์แวร์ท่ีมีบริษัทผู้ผลิตได้สร้างข้ึน และวางขายท่ัวไป ผู้ใช้สามารถหาซื้อมาประยุกต์ใช้งาน ทวั่ ไปได้ ซอฟตแ์ วร์ประเภทน้ไี ม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสาหรบั งานใดงานหน่งึ ผู้ใชง้ านจะต้องเป็นผู้นาไปประยกุ ต์ กับงานของตน ผู้ใช้อาจต้องมีการสรา้ งหรือพัฒนาชิน้ งานภายในซอฟตแ์ วร์ต่อไปอีก ราคาของซอฟตแ์ วร์ใช้ งานท่วั ไปนจี้ ะไม่สงู มากเกนิ ไป
9
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: