Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1111

1111

Published by ekachai60nak, 2018-06-30 04:58:23

Description: 1111

Search

Read the Text Version

คุณธรรมเป็นพฤติกรรมท่ีแสดงถึงมาตรฐานทางศีลธรรม และเป็นรูปแบบของความคิดและการกระทาบนพ้นื ฐานของมาตรฐานทางศีลธรรม คุณธรรมอาจนบัรวมในบริบทกวา้ งๆของค่านิยม บุคคลแต่ละคนละมีแก่นของค่านิยมภายใจที่ เป็นหลกั ของความเชื่อ ความคิด ความเห็น ของคนๆน้นั ความซื่อสัตยต์ ่อเอง (integrity) ในแง่ของค่านิยม คือคณุ ธรรมที่ เช่ือมคา่ นิยมของคนๆน้นั เขา้ กบั ความเช่ือ ความคิด ความเห็น และ การกระทาของเขา สงั คมมีค่านิยมร่วมท่ีคนในสังคมยดึ ถือร่วมกนั ค่านิยมส่วนตวั โดยทว่ั ไปแลว้ มกั จะเขา้ กบั ค่านิยมของสงั คม คุณธรรมของบุคคล สามารถจดั ไดเ้ ป็น 4 กลมุ่ แบ่งตามค่านิยม:  จริยธรรม (ดี - เลว, มีศีลธรรม - ขดั ศีลธรรม - ไร้ศีลธรรม, ถูก - ผดิ )  สุนทรียภาพ (ไม่สมดุล, พอใจ)  ลทั ธิคาสอน (การเมือง, ศาสนา, ค่านิยมและกระแสสงั คม)  คุณธรรมโดยกาเนิดสันดาน คุณธรรมสาคญั ของวฒั นธรรมตะวนั ตกคลาสสิก (The four classic Western Cardinal virtues) คือ:  ความอดทนอดกล้นั (temperance): σωφροσύνη (sōphrosynē)  ความรอบคอบ (prudence): φρόνησις (phronēsis)  ความกลา้ หาญ (courage): ἀνδρεία (andreia)  ความยตุ ิธรรม (justice): δικαιοσύνη (dikaiosynē) ซ่ึงคุณธรรมเหลา่ น้ีมีท่ีมาจากปรัชญากรีก เช่น งานเขียนของ พลาโต ซ่ึงอาจรวมถึงงานของโซคราติสคุณธรรมของอริสโตเตลิ [แก]้

อริสโตเติลนิยาม คุณธรรม วา่ คือ จุดสมดุลระหวา่ งความขาดและเกินของคุณลกั ษณะ[2] โดยคุณธรรมสูงสุดไม่ไดอ้ ยทู่ ่ีตรงกลางๆ แตอ่ ยทู่ ี่จุดเฉล่ียทอง ท่ีบางคร้ังกใ็ กลป้ ลายหน่ึงมากกวา่ อีกปลายหน่ึง ตวั อยา่ งเช่น ความกลา้ หาญ เป็นจุดเฉลี่ยระหวา่ ง ความข้ีขลาด กบั ความโง่เขลา ความมน่ั ใจ เป็ นจุดเฉล่ียระหวา่ ง ความนอ้ ยเน้ือต่าใจ กบั ความหลงตวั เอง ความโอบออ้ มอารี เป็นจุดเฉล่ียระหวา่ ง ความขดั สน กบั ความฟ้มุ เฟื อย อริสโตเติลเช่ือวา่ การเป็นคนเป็นส่ิงประเสริฐ ที่ไดม้ ีทกั ษะในการดารงชีวติ ในการเจริญกา้ วหนา้ ในการมีความสมั พนั ธ์ท่ีดี และในการแสวงหาความสุข การเรียนรู้คุณธรรมอาจจะยากตอนแรกๆ แต่มนั จะง่ายข้ึนถา้ ไดร้ ับการฝึกฝนจนเป็นนิสัยคุณธรรมแบบโรมัน[แก]้  อานาจทางจิตวญิ ญาณ (Auctoritas หรือ \"Spiritual Authority\") การมีจุดยนื ทางความคิด  ความเป็นมิตร (Comitas หรือ \"Humour\") ความสุภาพ ใจกวา้ ง และเป็นมิตร  ความบากบนั่ ภาคเพียร (Constantia หรือ \"Perseverance\") ความมมุ านะ พยายาม อดทน  ความอ่อนโยน (Clementia หรือ \"Mercy\")  ศกั ด์ิศรี (Dignitas หรือ \"Dignity\") การมีคุณค่าแห่งตน มีความภาคภมู ิใจในตวั เอง  วนิ ยั (Disciplina หรือ \"Discipline\")  ความมน่ั คงเดด็ เด่ียว (Firmitas หรือ \"Tenacity\") ความแขง็ แกร่งของจิตใจที่จะยดึ มนั่ กบั จุดม่งุ หมาย  ความประหยดั มธั ยสั ถ์ (Frugalitas หรือ \"Frugality\")  ความรับผดิ ชอบ (Gravitas หรือ \"Gravity\") การรู้ถึงความสาคญั ของงานที่ไดร้ ับมอบหมาย  ความน่านบั ถือ (Honestas หรือ \"Respectability\")  การรู้จกั มารยาทธรรมเนียม (Humanitas หรือ \"Humanity\")  การขยนั ทางานหนกั (Industria หรือ \"Industriousness\")  การมีความยตุ ิธรรม (Iustitia หรือ \"Justice\")  ความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี (Pietas หรือ \"Dutifulness\")  ความรอบคอบ (Prudentia หรือ \"Prudence\")  การรักษาสุขภาพและความสะอาด (Salubritas หรือ \"Wholesomeness\")  การควบคุมตวั เอง (Severitas หรือ \"Sternness\")  ความซ่ือสตั ย์ (Veritas หรือ \"Truthfulness\")  ความเป็นลูกผชู้ าย (Virtus หรือ \"Manliness\") ความองอาจ กลา้ หาญปรัญชาจนี [แก]้ \"คุณธรรม\" หรือ เต๋อ (ในภาษาจีน 德) เป็นสิ่งที่สาคญั มาก ในปรัญชาจีน โดยเฉพาะลทั ธิเต๋า เต๋อ (จีน: 德; พินอิน: dé; เวด-ไจลส์: te) เดิมทีหมายถึง คุณธรรม ในแง่ของ บุคลิกส่วนตวั ของบุคคล ความแขง็ แกร่งภายใน และ ความซ่ือสตั ยต์ ่อตนเองและหลกั การ (integrity) แตค่ วามหมายไดเ้ ปลี่ยนมาเป็ นเร่ืองของศีลธรรม หลกั ศีลธรรมของขงจ้ือ จะกล่าวถืง มนุษยธรรม (humanity), การเคารพพอ่ แม่และบรรพชน (filial piety), และ การพฤติตนใหเ้ หมาะสม ปฏิบตั ิตามประเพณี (proper behavior, performance of rituals)[3] แต่ความหมายของ เต๋อ (จีน: 德; พนิ อิน: dé; เวด-ไจลส์: te) สาหรับลทั ธิเต๋าแลว้ ละเอียดอ่อนกวา่ ขงจ้ือมาก ซ่ึงคร่าวๆคือ การดาเนินชีวติ ตามวถิ ีแห่งเต๋า ค่านิยมหน่ึงที่สาคญั มากของจีนกค็ ือ บุคคลควรจะมีสถานะทางสงั คม ท่ีเป็นผลมาจากคุณธรรมของเขาที่ไดแ้ สดงออกมา ไมใ่ ช่ไดส้ ถานะมาจากการชาติตระกลู ขงจ้ืออธิบายความหมายคาวา่ เต๋อไวว้ า่ \"ผถู้ ือไวซ้ ่ึงคุณธรรมน้นั เปรียบไดก้ บั ดาวเหนือ ท่ียดึ มนั่ ในที่ของตน เป็นดาวอ่ืนๆที่ตอ้ งหมุนรอบๆมนั \"[4]ประเพณีทางศาสนา[แก]้ศาสนาคริสต์[แก]้

ศาสนาคริสต์ ถือวา่ ความศรัทธา (faith), ความหวงั (hope), และ ความรัก (love) คือ คุณธรรม โดยคุณธรรมท้งั สามน้ีมาจาก 1 Corinthians13:13 (νυνι δε μενει πιστις ελπις αγαπη τα τρια ταυτα μειζων δε τουτων η αγαπη (pistis, elpis,agape)).ศาสนาอสิ ลาม[แก]้ โดยทวั่ ไปแลว้ มสุ ลิมเช่ือวา่ อลั กรุ อาน เป็นแหลง่ รวบรวมคุณธรรมท้งั หมดไว้ อิสลามโดยชื่อแลว้ หมายถึง การยอม ซ่ึงคือ การยอมรับประสงค์ของอลั ลอฮ์ การยอมรับสิ่งตา่ งๆในแบบท่ีมนั เป็ น คุณธรรมที่เด่นที่สุดคือ ความกรุณา และ ความเมตตา โดยแต่บทของท้งั 114 บทใน อลั กรุ อาน (โดยยกเวน้ แค่บทเดียว) เริ่มตน้ ดว้ ย \"In the name of God the Compassionate, the Merciful\".[5] คุณธรรม ตามความเช่ือของมุสลิม: การสวดมนต,์ การสานึกบาป, ความซื่อสัตย,์ ความจงรักภกั ดี, ความจริงใจ, การประหยดั , ความรอบคอบ, ความรู้จกัประมาณ, การควบคมุ ตวั เอง, วนิ ยั , ความพากเพยี ร, ความอดทน, ความหวงั , ศกั ด์ิศรี, ความกลา้ หาญ, ความยตุ ิธรรม, ความใจกวา้ ง (tolerance), ปัญญา, การพดู ดี, ความเคารพ, ความบริสุทธ์ิ, ความสุภาพ, ความใจดี, ความรู้คุณ, ความโอบออ้ มอารีย,์ ความพอใจ[6]ศาสนาฮินดู[แก]้  การเห็นแก่ประโยชน์ผอู้ ่ืน (Altruism): การบาเพญ็ ประโยชนก์ บั มนุษยชาติอยา่ งไม่เห็นแก่ตวั  การควบคุมตวั เอง (Self Control) และการรู้จกั พอประมาณ (Moderation): การรู้จกั ควบคุมตวั เองและพอประมาณในทุกๆสิ่ง ความสมั พนั ธ์ทาง เพศ อาหาร กิจกรรมบนั เทิงตา่ งๆ  ความซื่อสัตย์ (Honesty): การซ่ือสตั ยต์ อ่ ตนเอง ต่อครอบครัว ต่อเพอื่ น ตอ่ มนุษยชาติ  ความสะอาด (Cleanliness): ความสะอาดภายนอกคือการรักษาสุขภาพและสุขลกั ษณะท่ีดี ความสะอาดภายในคือการบูชาพระเจา้ ความไมเ่ ห็นแก่ ตวั อหิงสา การละเวน้ จากของมึนเมาต่างๆ  การปกป้องและเคารพต่อโลก (Protection and reverence for the Earth)  การใจกวา้ ง (Universality): การเป็นคนใจกวา้ งและเคารพทุกๆคน ทุกๆสิ่ง และวถิ ีของเอกภพ  การมีสันติภาพ (Peace): การฝึกนิสยั ใหม้ ีกริยาท่ีสงบสนั ติเพอื่ ประโยชนข์ องตนเองและบุคคลรอบขา้ ง  การไมใ่ ชค้ วามรุนแรง/อหิงสา (Non-Violence/Ahimsa): การไมฆ่ ่าหรือการทารุนแรงกบั สิ่งมีชีวติ ใดๆไมว่ า่ ในรูปแบบใดกต็ าม  การใหค้ วามเคารพคนชราและครูอาจารย์ (Reverence for elders and teachers)ศาสนาพทุ ธ[แก]้ พทุ ธศาสนิกชนปฏิบตั ิตามแนวทางของมรรค ๘ ซ่ึงอาจนบั เป็นรายการจาแนกคุณธรรม ดงั น้ี 1. สัมมาทิฏฐิ คือ ปัญญาเห็นชอบ หมายถึง เห็นถูกตามความเป็นจริงดว้ ยปัญญา เขา้ ใจอริยสัจ 4 2. สัมมาสงั กปั ปะ คือ ดาริชอบ หมายถึง การใชส้ มองความคิดพจิ ารณาแต่ในทางกศุ ลหรือความดีงาม 3. สัมมาวาจา คือ เจรจาชอบ

หมายถึง การพดู สนทนา แต่ในสิ่งท่ีสร้างสรรคด์ ีงาม 4. สมั มากมั มนั ตะ คือ การประพฤติดีงาม ทางกายหรือกิจกรรมทางกายท้งั ปวง 5. สมั มาอาชีวะ คือ การทามาหากินอยา่ งสุจริตชน 6. สัมมาวายามะ คือ ความอุตสาหะพยายาม ประกอบความเพยี รในการกศุ ลกรรม 7. สัมมาสติ คือ การไม่ปล่อยใหเ้ กิดความพล้งั เผลอ จิตเลื่อนลอย ดารงอยดู่ ว้ ยความรู้ตวั อยเู่ ป็นปกติ 8. สมั มาสมาธิ คือ การฝึกจิตใหต้ ้งั มน่ั สงบ สงดั จากกิเลส นิวรณ์อยเู่ ป็นปกติ ในพทุ ธศาสนานิกายเถรวาท ยงั มี Buddhavamsa[7] โดย the Ten Perfections (dasa pāramiyo) ไดแ้ ก่: 1. ทาน Dāna parami : ความโอบออ้ มอารีย์ การเสียสละตน 2. ศีล Sīla parami : ศีลธรรม การประพฤติตนอยา่ งเหมาะสม 3. เนกขมั มะ Nekkhamma parami : การสละจากทางโลก. 4. ปัญญา Paññā parami การรู้ซ้ึงเขา้ ใจธรรม 5. วริ ิยะ Vīriya parami : ความพยายาม ความขยนั พากเพียร 6. ขนั ติ Khanti parami : ความอดทน ความใจกวา้ ง 7. สัตย์ Sacca parami : ความถึงซื่งความจริง ความซื่อสตั ย์ 8. อธิษฐาน Adhiṭṭhāna parami : ความแน่วแน่ มุ่งมนั่ 9. เมตตา Mettā parami : ความหวงั ดี ความใจดี ความเห็นอกเห็นใจ 10. อุเบกขา Upekkhā parami : การรู้จกั ปลอ่ ยวาง การยอมรับสิ่งตา่ งๆตามสภาพที่เป็น ในพทุ ธศาสนานิกายมหายาน พระสูตรดอกบวั (the Lotus Sutra; Saddharmapundarika) ไดร้ ะบุถึง the Six Perfectionsไวว้ า่ คือ: 1. ทาน Dāna paramita: (ภาษาจีน, 布施波羅蜜). 2. ศีล Śīla paramita : (持戒波羅蜜). 3. ขนั ติ Kṣānti (kshanti) paramita : (忍辱波羅蜜). 4. วริ ิยะ Vīrya paramita : (精進波羅蜜).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook