วดั พระพุทธบาทราชวรมหาวหิ าร อ. พระพุทธบาท จ.สระบุรีวดั พระพทุ ธบาทราชวรมหาวิหาร ตงั้ อย่ทู ่ี อาเภอพระพทุ ธบาท จงั หวดั สระบรุ ีตามพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยธุ ยากลา่ ววา่ มีพระภิกษุไทยคณะหนงึ่เดินทางไปยงั ลงั กาทวีป เพื่อนมสั การรอยพระพทุ ธบาท พระสงฆ์ลงั กากลา่ วว่า ประเทศไทยก็มรี อยพระพทุ ธบาทอยแู่ ล้วท่ีเขาสวุ รรณบรรพต
จงึ ได้นาความกราบทลู สมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรมให้ทรงทราบ และได้สบื หาจนพบรอยพระพทุ ธบาท เพ่ือเป็ นที่สกั การบูชา เป็ นศนู ย์รวมแห่งพลงั ศรัทธาอนัยิ่งใหญ่ พระพทุ ธบาทสระบรุ ีเป็นพระอารามหลวง ท่พี ระมหากษัตริย์แทบทกุพระองค์ทรงทานบุ าบารุงและเสดจ็ ไปนมสั การตลอดมา ตงั้ แต่สมยั กรุงศรีอยธุ ยาจนถงึรัตนโกสินทร์
ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา รัชกาลสมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม ปรากฏวา่ มีพระภิกษุสงฆ์ชาวไทยคณะหนงึ่ เดนิ ทางไปยงั ลงั กาทวีป ด้วยหวงั จะสกั การบชู าพระพทุ ธบาท ณ เขาสมุ นกฏู การไปคราวนนั้ เป็ นเวลาที่พระสงฆ์ชาวลงั กาทวปีกาลงั สอบประวตั ิและทตี่ งั้ แหง่ รอยพระพทุ ธบาททงั้ ปวงตามท่ปี รากฏอยใู่ นตานานวา่ มที งั้ สิน้ 5 แหง่ ภายหลงั สบื ได้ความว่าภเู ขาทช่ี ่ือวา่ สวุ รรณบรรพตมอี ยใู่ นสยามประเทศจงึ ได้นาความดงั กลา่ วสอบถามพระภิกษุสงฆ์ไทยเมอ่ื พระภกิ ษุสงฆ์คณะนนั้ ได้รับคาบอกเลา่ และกลบั มาสกู่ รุงศรีอยธุ ยา จึงนาความขนึ ้ ถวายสมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม พระองค์จงึ โปรดเกล้าฯ ให้มีท้องตราสงั่ บรรดาหวั เมอื งทงั้ ปวงให้เท่ยี วตรวจตราค้นภเู ขาต่างๆ วา่ มีรอยพระพทุ ธบาทอยู่ ณ ที่แหง่ ใดครัง้ นนั้ เจ้าเมอื งสระบรุ ี สืบได้ความจากนายพรานบญุ ว่า ครัง้ หนึง่ ออกไปล่าเนือ้ ในป่ าใกล้เชิงเขา ยิงถกู เนือ้ ตวั หน่ึงเจ็บลาบากหนีขนึ ้ ไปบนไหลเ่ ขา ซุกเข้าเชิงไม้หายไป พอบดั เดี๋ยวกเ็ ห็นเนือ้ ตวั นนั้ วิ่งออกจากเชิงไม้เป็นปกติอย่างเก่านายพรานบญุ นึกประหลาดใจ จึงตามขนึ ้ ไปดสู ถานทบี่ นไหลเ่ ขาท่ีเนือ้ หนีขนึ ้ไป ก็พบรอยปรากฏอยใู่ นศิลา มีลกั ษณะเหมือนรูปรอยเท้าคน ขนาดยาวประมาณสกั ศอกเศษ และในรอยนนั้ มนี า้ ขงั นายพรานบญุ เข้าใจว่าบาดแผลของเนือ้ ตวั ที่ถกู ตนยิงคงหายเพราะด่มื นา้ ในรอยนนั้ จึงวกั นา้ ลองเอามาทาตวับรรดาโรคผิวหนงั คือ กลากเกลือ้ น ซง่ึ เป็ นเรือ้ รังมาช้านานแล้วก็หายสิน้ ไป
เจ้าเมืองสระบรุ ี จงึ สอบสวนความจริงและตรวจค้นพบรอยนนั้ สมดงั คาบอกเลา่ ของนายพรานบุญ จงึ มใี บบอกแจ้งเรื่องเข้ามายงั กรุงศรีอยธุ ยา สมเดจ็พระเจ้าทรงธรรมจงึ เสดจ็ พระราชดาเนินไป ณ ทเี่ ขานนั้ เมอ่ื ได้ทอดพระเนตรเหน็ รอยจงึ ทรงพระราชวิจารณ์ตระหนกั แนว่ ่าคงเป็นรอยพระพทุ ธบาท เพราะมีลายลกั ษณ์กงจกั ร ประกอบด้วยอฏั ฐุตตรสตมหามงคลร้อยแปดประการตรงกบั เรื่องทชี าวลงั กาทวีปแจ้ง เกิดพระราชศรัทธาและทรงพระราชดาริเห็นวา่ รอยพระพทุ ธบาทย่อมจดั เป็นบริโภคเจดีย์แท้ เพราะเป็ นพทุ ธบทวลญั ช์อนัเน่ืองมาแตพ่ ระพทุ ธองค์ ยอ่ มประเสริฐย่ิงกว่าอเุ ทสกิ เจดยี ์ เช่น พระสถูปเจดีย์สมควรยกยอ่ งบชู าเป็นพระมหาเจดียสถาน จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ช่างก่อเป็นคฤหหลงั น้อย สวมรอยพระพทุ ธบาทไว้เป็นการชว่ั คราวก่อนครัน้ เสดจ็ พระราชดาเนินกลบั มายงั ราชธานี จงึ ทรงสถาปนายกทพ่ี ระพทุ ธบาทขนึ ้ เป็นเจดยี สถานเป็ นการสาคญั โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระมณฑปยอดเด่ียวสวมรอยพระพทุ ธบาทกาหนดเป็ นพทุ ธเจดยี ์ และสร้างอารามวตั ถอุ ่นื ๆเชน่ พระอโุ บสถ พระวิหาร ให้เป็ นทีส่ าหรับพระภิกษุอย่แู รม เพ่ือทาการบริบาลพระพทุ ธบาท ทรงพระราชศรัทธาอทุ ิศเนือ้ ทโ่ี ยชน์หนงึ่ โดยรอบรอยพระพทุ ธบาทถวายเป็นพทุ ธเกษตรต่างพทุ ธบชู า บรรดากลั ปนาผล ซึ่งได้เป็นสว่ นของหลวงจากเนือ้ ท่ีนนั้ ให้ใช้จ่ายเป็นคา่ บารุงรักษาพระมหาเจดยี สถานที่พระพทุ ธบาท ทรงยกท่พี ทุ ธเกษตรสว่ นนีใ้ ห้เป็นเมอื งชนั้ จตั วา ชื่อเมอื งปรันต
ปะ แตน่ ามสามญั เรียกกนั ว่า เมืองพระพทุ ธบาท ขนึ ้ ตรงตอ่ กรุงศรีอยธุ ยาโปรดเกล้าฯ ให้ชายฉกรรจ์ทกุ คนทต่ี งั้ ภมู ิลาเนาอยใู่ นเขตท่ีพระพทุ ธบาทพ้นจากหน้าทร่ี าชการอย่างอ่นื สิน้ ตงั้ ให้เป็นพวกขนุ โขลนเป็นข้าปฏบิ ตั ิบชู ารักษาพระพทุ ธบาทแตห่ น้าทเี่ ดียวนอกจากนนั้ ยงั ได้พระราชทานราชทินนามบรรดาศกั ดปิ์ ระจาตาแหน่งผู้รักษาการพระพทุ ธบาท หวั หน้าเป็นที่ ขนุ สจั จพนั ธ์ครี ีรัตนไพรวนั เจตยิ าสนัคามวาสี นพคหู าพนมโขลน รองลงมาเป็ นที่ หมื่นสวุ รรณปราสาท หม่ืนแผ้วอากาศ หม่ืนชินธาตุ หมื่นศรีสปั บรุ ุษ ทงั้ 4 คนนี ้เป็ นผ้รู ักษาเฉพาะองค์พระมณฑป ตงั้ นายทวารบาล 4 นาย เป็ นท่ี หมน่ื ราชบานาญทมนุ ิน หมื่นอินทรรักษา หม่ืนบชู าเจดีย์ หมนื่ ศรีพทุ ธบาล โปรดเกล้าฯ ให้สร้างคลงั สาหรับเกบ็วตั ถสุ ง่ิ ของที่มผี ้นู ามาถวายเป็ นพทุ ธบชู า ให้ผ้รู ักษาคลงั เป็ นที่ ขนุ อนิ ทรพิทกั ษ์ ขนุ พรหมรักษา หมน่ื พิทกั ษ์สมบตั ิ หมื่นพิทกั ษ์รักษา ให้มีผ้ปู ระโคมยามประจาทงั้ กลางวนั กลางคืนเป็ นพทุ ธบชู า ตงั้ เป็ นที่ หมื่นสนน่ั ไพเราะ หม่ืนเสนาะเวหา พนั เสนาะ รองเสนาะ ทรงกาหนดเทศกาลสาหรับให้มหาชนขนึ ้ ไปบชู ารอยพระพทุ ธบาทเดอื น 3 ครัง้ 1 และเดือน 4 ครัง้ 1 เป็นประเพณีตงั้ แต่นนั้ มา
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: