Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ ม.3 เทอม1

ใบความรู้ ม.3 เทอม1

Published by sirigam111, 2021-04-07 09:45:47

Description: ใบความรู้ ม.3 เทอม1

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ รำมาตรฐาน ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ แผนการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง รำแมบ่ ทนางนารายณ์ ออกต้นวรเชษฐ์ เวลา ๓๖ ช่วั โมง  ประวัตคิ วามเปน็ มารำแมบ่ ทนางนารายณ์ (แม่บทเลก็ ) การร่ายรำแม่บทเลก็ นี้ ได้ปรากฏในตำราการฟ้อนรำของอินเดยี ซ่งึ กลา่ วถงึ พระอศิ วร ได้ฟ้อนรำ ให้มนุษยโลกได้ชม ชาวอินเดียเช่ือว่าทีต่ ำบลจิทัมพรัม ในอินเดียทางตอนใต้ (ในแคว้นมทั ราส) เป็นที่ซง่ึ พระอิศวรทรงแสดงการร่ายรำ และต่อมาได้สร้างรูปปั้นพระอิศวรปางนี้ และเรยี กการฟ้อนรำน้ี ว่า “นาฏ ราช” พวกพราหมณ์ได้ถ่ายแบบนำไปเผยแพร่ ปัจจุบันยังมีสถานที่แห่งนี้อยู่ สร้างขึ้นเมื่อราว พ.ศ. ๑๘๐๐ เปน็ รูปพระอิศวรทรงแสดงการฟ้อนรำทั้งหมด ๑๐๘ ทา่ ทีป่ รากฏในตำรานาฏยศาสตร์ มีท่ารำ ท้งั หมด ๓๒ ทา่ ทา่ รำตา่ ง ๆ ที่ไทยนำมาประดิษฐ์เปน็ ท่ารำแม่บทเล็ก เชน่ ท่าสอดสรอ้ ยมาลา คือ ท่า ร้อยดอกไม้ เป็นลักษณะของมือที่จีบที่ชายพกข้างหนึ่ง มืออีกข้างหนึ่งตั้งวง เมื่อสอดจีบขึ้นก็เหมือน ลกั ษณะการร้อยดอกไม้ เปน็ ต้น แม่บทนางนารายณ์ หรือ แม่บทเล็ก เป็นการรำอยู่ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทกุ ซึ่งปรากฏในพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ ๑ วา่ “ นนทุกเป็นยักษ์ตนหนึ่ง มีหน้าท่ีล้าง เทา้ เทวดานางฟา้ เวลาจะข้นึ เฝ้าพระอิศวร เมื่อนนทุกล้างเท้าใหแ้ ล้ว เทวดานางฟ้าจะแกล้งนนทุกโดยการ ดึงผมของนนทุกจนศีรษะล้าน นนทุกมีความโกรธแค้นมาก ได้นำเรื่องนี้ทูลพระอิศวร และขอพรพระ อิศวรโดยการให้มีนิ้วเพชรซ่ึงชี้ใครก็จะตาย เมื่อเทวดานางฟ้ามาขึ้นเฝา้ พระอิศวร และให้นนทุกล้างเทา้ เหล่าเทวดาได้แกล้งนนทุกเช่นเคย นนทุกโกรธจึงใช้นิ้วเพชรชี้เทวดานางฟ้าได้รับความเดือดร้อน เทวดา นางฟา้ จงึ ไปเฝา้ พระนารายณแ์ ละได้ทูลขอให้พระนารายณ์ไปชว่ ยปราบ พระนารายณไ์ ดแ้ ปลงเป็นหญิงงาม รำลอ่ ใหน้ นทกุ หลงใหล โดยการให้นนทุกรำตาม ถา้ นนทกุ รำตามได้ถูกต้องกจ็ ะยอมเป็นภรรยาของนนทุก นนทุกยอมทำตาม เมื่อถึงเน้ือร้องที่วา่ “ฝา่ ยว่านนทุกก็รำตาม ดว้ ยความพสิ มัยใหลหลง ถึงท่านาคาม้วน หางลง ก็ชี้ลงเพลาพลนั ทนั ใด” นนทุกก็ชี้นิว้ ลงท่ีขาตนเองถึงแก่ความตาย แต่ก่อนที่จะถึงแก่ความตาย

นนทุกได้เห็นพระนารายณ์มี ๔ กร และได้ตัดพ้อต่อว่าพระนารายณ์ว่าเอาเปรียบตน ที่มาแปลงตัวเป็น หญิงงามรำล่อให้ตนหลงใหล พระนารายณจ์ ึงได้บอกนนทุกว่า เม่ือนนทกุ ลงไปเกิดในโลกมนุษย์ ใหน้ นทุก มี ๑๐ เศียร ๒๐ กร และพระองค์จะมีแค่ ๒ กร ก็จะสู้รบนนทุกได้ เรื่องราวข้างต้นนี้ จึงเป็นต้น กำเนิดของเรื่องรามเกียรติ์ การร่ายรำของพระนารายณ์แปลง ก็คือ การรำแม่บทเล็ก ซึ่งใช้ทำนองเพลง ชมตลาด ต่อมาเรยี กการรำชดุ นี้ว่า “แมบ่ ทเลก็ หรือ แมบ่ ทนางนารายณ์” บทรอ้ งเพลงแม่บทนางนารายณ์ ปีพ่ าทย์ทำเพลงรัว รอ้ งเพลงชมตลาด เทพนมปฐมพรหมสี่หนา้ สอดสรอ้ ยมาลาเฉดิ ฉนิ ท้งั กวางเดนิ ดงหงส์บนิ กินรินเลยี บถ้ำอำไพ (รับ) อีกชา้ นางนอนภมรเคลา้ แขกเตา้ ผาลาเพียงไหล่ เมขลาโยนแก้วแววไว มยุเรศฟ้อนในนภาพร (รบั ) ยอดตองต้องลมพรหมนิมิต อีกท้งั พิสมยั เรียงหมอน ย้ายทา่ มัจฉาชมสาคร พระสี่กรขว้างจกั รฤทธิรงค์ (รับ) ปพี่ าทย์ทำเพลงวรเชษฐ์ เพลงเรว็ – ลา ดนตรีท่ใี ชป้ ระกอบการแสดง ใช้วงป่ีพาทย์เคร่ืองห้า เครือ่ งคู่ หรือเคร่ืองใหญ่ ได้ตามโอกาส ประกอบด้วย ระนาดเอก ฆ้องวง ใหญ่ ปใ่ี น กลองทดั ฉง่ิ

การแต่งกาย แตง่ กายแบบยนื เคร่อื งพระ – นาง โอกาสท่ีใชแ้ สดง ใชแ้ สดงเป็นระบำเบ็ดเตลด็ แสดงในงานร่นื เริงตา่ งๆ หรอื เป็นระบำประกอบการแสดง โขน เร่ือง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทกุ

เครอื่ งแต่งกายพระ-นาง เครอ่ื งแต่งกายตวั พระ (แขนขวา แสดงเสือ้ แขนสั้น ไม่ต้องมีอนิ ทรธนู แขนซ้าย แสดงเสอื้ แขนยาว มอี นิ ทรธน)ู กำไลเท้า 2. สนับเพลา 3. ผ้านุ่ง 4. ห้อยข้าง, เจียระบาด, ชาย แคลง5. ฉลององค์ 6. รัดสะเอว 7. ห้อยหน้า, ชายไหว 8.ทับ กระถอบ 9. ปน้ั เหน่ง10. กรองคอ, กรองศอ 11. ตาบหน้า, ตาบทับ, ทับทรวง 12. อนิ ทรธนู13. พาหุรัด 14. สงั วาล 15. ตาบทศิ 16. ชฏา 17. ดอกไม้เพชร (ขวา)18. จอนหู, กรรเจยี ก, กรรเจียกจร 19.ดอกไมท้ ัด (ขวา) 20. อบุ ะ, พวงดอกไม้ 21. ธำมรงค์ 22. แหวนรอบ 23. ปะวะหล่ำ 24. กำไลแผง, ทองกร เครือ่ งแตง่ กายตวั นาง 1. กำไลเท้า 2. เส้อื ในนาง 3. ผา้ นุ่ง 4. เข็มขดั 5. สะอ้ิง 6. ผ้าห่มนาง 7. นวมนาง, กรองศอ, สรอ้ ยนวม 8.จนี้ าง, ตาบทับ, ทับทรวง 9. พาหุรัด 10. แหวนรอบ 11. ปะวะหร่ำ 12. กำไลตะขาบ 13. กำไลสวม, ทองกร 14. ธำมรงค์ 15. มงกฎุ 16. จอนหู, กรรเจยี ก, กรรเจยี กจร 17. ดอกไมท้ ัด (ซ้าย) 18. อบุ ะ, พวงดอกไม้ (ซ้าย)

นาฏยศัพท์ท่ีสำคัญ  ตั้งวง เป็นอาการของมือที่เหยียดตึงทั้ง ๕ นิ้ว แต่นิ้วหัวแม่มือหักเข้าหาฝ่ามือเล็กน้อย การตั้งวงท่ีสวยหรือถกู ต้องนั้น จะต้องหักข้อมือเข้าหาลำแขนให้มาก และทอดลำแขนให้โค้งพองาม การ ตง้ั วงมักเรยี กตามตำแหนง่ ทมี่ อี ยู่ ซึ่งแบ่งเปน็ ❖ วงบน เป็นวงโค้ง โดยลำแขนส่วนบนลาดไหล่เล็กน้อย ช้อนลำแขนส่วนล่างขึ้น กนั วงออกไปข้าง ๆ แยกเป็นวงสงู และวงตำ่ สำหรับพระ ใหย้ กสงู ระดับแง่ศรี ษะ ส่วนวงนางอยู่ระดับหาง คิ้ว ❖ วงบัวบาน ยกแขนคล้ายวงโค้ง แต่หงายท้องแขนขึ้น หงายฝ่ามือ จะเป็นข้างใด ข้างหนง่ึ หรือ ๒ ขา้ งก็ได้ ❖ วงกลาง คือ สว่ นโคง้ ของลำแขนท่ีมไิ ดอ้ ยูร่ ะดบั วงบน หรอื วงลา่ ง แตอ่ ยูร่ ะดบั กลาง ลักษณะวงกลางนี้ คือ ยกแขนให้ส่วนโค้งอยู่ข้างคล้ายวงสูง แต่ลดระดับลงให้แขนส่วนบนลาดลงล่างมาก ๆ น้ิวอยู่ระดบั ศอกให้ตรงกับเกลียวข้าง ชอ้ นลำแขนส่วนล่างขึน้ บนเลก็ นอ้ ย ❖ วงล่าง คือ ส่วนโค้งของลำแขนที่ทอดโค้งลงมาเบื้องล่าง ลำแขนส่วนล่างจะพลิก หงายหรือคว่ำสุดแต่กิริยา คือ ท่าตั้งวงมือแบคว่ำ แขนส่วนล่างก็พลิกคว่ำ ท่าตั้งวงล่างนี้ ให้ทำวงแขน เปน็ ช่องระหวา่ งขอ้ ลำแขนกบั เกลยี วข้าง ลำแขนส่วนลา่ งโค้งเข้าหาตวั ปลายมอื อยรู่ ะดับหน้าท้อง ❖ วงหน้า คือ วงที่ทอดลำแขนให้โค้งอยู่ข้างหน้า เช่น มือซ้าย ท่าเฉิดฉิน วงหน้าของ พระต้องผายลำแขนไปข้าง ๆ เล็กนอ้ ย สว่ นนางปลายนิ้วตรงกบั ระดับปาก วงนีอ้ าจสงู หรอื ตำ่ บ้างเป็นบาง ท่า สุดแตล่ ลี าทา่ รำน้นั ๆ  จีบ เป็นอาการของมือโดยใช้นิ้วหัวแม่มือมาจรดกับข้อที่หนึ่งของนิ้วชี้ ส่วนนิ้วที่เหลือทั้ง สามเหยียดตึง และกรีดออกไปเหมือนรปู พดั และตอ้ งหักขอ้ มอื เขา้ หาลำแขนเสมอ จีบมี ๒ ลักษณะ คอื ❖ จีบหงาย คอื หงายขอ้ มือให้ปลายนวิ้ ชข้ี ้ึนบน ❖ จบี คว่ำ คอื ควำ่ ข้อมอื ลงใหป้ ลายนวิ้ ชลี้ งลา่ ง นอกจากนี้ ลกั ษณะจบี ทนี่ ำไปใชใ้ นแบบตา่ ง ๆ ยงั แบ่งออกเป็น

❖ จีบปรกหน้า ส่วนของมือจีบนั้นคลา้ ยจีบหงาย เพราะลำแขนส่วนลา่ งเปดิ หงายขน้ึ หนั เข้าหาลำตัวทั้งแขนและมืออยขู่ า้ งหนา้ หันจบี เขา้ ตรงหนา้ ❖ จีบหลัง การตั้งจีบคว่ำไปข้างหน้า แล้วค่อย ๆ ลดจีบส่งแขนไปขา้ งหลัง ลักษณะ จบี กลับหงายข้ึน ❖ จบี ปรกข้าง คล้ายจบี ปรกหนา้ แตล่ ำแขนอยู่ข้าง  กราย เปน็ กริ ิยาเคลอื่ นไหวของมือจีบทีห่ งาย ซง่ึ มลี ำแขนเหยียดตรงค่อยๆ มว้ นข้อมือให้จีบ ควำ่ ลงช้า ๆ แลว้ คลายจีบจนมอื แบ แล้วตัง้ วงเฉียงค่อนไปขา้ งหนา้  ล่อแก้ว เป็นอาการของมือที่มีลักษณะคล้ายจีบ แต่ใช้นิ้วกลางมากดที่ข้อที่หนึ่งของ นว้ิ หัวแม่มือ ให้เป็นรปู วงกลม นิ้วท่เี หลือกรีดตงึ  ประเท้า เป็นกิริยาของเท้าที่วางอยู่เบื้องหน้า ใช้ในท่ารำก่อนจะยกเท้า คือ อาการเผยอ จมูกเทา้ ข้ึนเพียงนิดเดยี ว โดยท่สี น้ เทา้ ยังตดิ พื้นอยู่ครง่ึ หนึง่ แตะลงเบา ๆ แลว้ ยกข้นึ วธิ ีประนี้ต้องห่มเข่า กอ่ นทุกคร้งั  กระทุ้ง เป็นอาการของเท้าที่วางอยู่เบื้องหลัง กระทุ้งก่อนยกขึ้นเช่นเดียวกับประ หากแต่ อยขู่ ้างหลัง ซงึ่ สว่ นของจมูกเท้าที่วางอย่กู ับพื้นสว่ นส้นน้นั เปดิ อยู่ การกระทุ้ง คือ การกระแทกจมูกเท้ากับ พืน้ เบา ๆ แลว้ จงึ ยกขน้ึ  ขยั่น เป็นอาการเคลอ่ื นไหวเท้าทง้ั สอง เพ่ือพาตัวเคล่ือนไป โดยเท้าหนง่ึ วางอยขู่ ้างหลังด้วย จมูกเท้า อีกเท้าหนึง่ ยืนเต็มเท้าอยู่ขา้ งหน้า ใช้จมูกเทา้ หลงั ยนื พื้น เพื่อช่วยใหเ้ ท้าหน้าเขยิบออก เม่ือเท้า หนา้ กระเถบิ ได้แล้ว เท้าหลังกต็ ามมา ขยน่ั น้ตี อ้ งทำเร็ว ๆ ให้ส่วนของเทา้ เรียบไปกับพนื้ และชดิ ๆ กันไป ใหต้ ัวเคลอ่ื นเหมอื นลอยไป

 ถดั เท้า กิรยิ าถดั เท้ามี ๒ ชนิด คอื ถดั เท้าอยกู่ ับที่ และถัดเท้าเคลอ่ื นตัวไป ❖ ถัดเท้าอยู่กับที่ แบ่งเป็นถัดเท้าไขว้ กับถัดเท้ายืนเสมอกัน สำหรับถัดเท้าไขว้น้ัน เท้าหนึ่งยืนอยู่ข้างหน้า และอีกเท้าหนึ่งอยู่ข้างหลัง เปิดส้นเท้า วิธีการถัด คือ วางเท้าหลังราบลงให้ น้ำหนักอยู่ข้างหลัง แล้วใช้จมูกเท้าหนา้ ถัดออกไป การถัดจมูกเท้าก็คือ การเสือกจมูกเท้าไปกับพื้นเบา ๆ แล้ววางเท้าทถ่ี ัดราบลงให้น้ำหนักอยู่หนา้ ยกเทา้ หลังเหนือพืน้ เล็กน้อย แล้วงวางจมกู เทา้ หลงั ลงอีกเพ่ือให้ จมูกเท้าหน้าได้ถัดอีก ทำเช่นนี้ตามจังหวะ ส่วนถัดเท้ายืนเสมอกันนั้น คือ อาการยืนอยู่กับที่ ซึ่งเท้าทั้ง สองวางอย่คู ่กู ัน การปฏิบตั ิก็ทำเช่นเดียวกัน ❖ ถดั เทา้ เคลือ่ นตัว ไดแ้ ก่ การถัดเทา้ เดนิ โดยใชเ้ ท้าขวาเปน็ ฝา่ ยถัด  จรด คือ การใช้จมูกเท้าข้างหนึ่งแตะลงพื้น โดยยกส้นขึ้นมิให้ถูกกับพื้น จะจรดข้างไหนก็ มไิ ดจ้ ำกัด แต่อาศยั อีกเท้าหน่งึ เป็นฝา่ ยยืนรบั น้ำหนกั เพ่ือให้อกี เท้าหนง่ึ กา้ วมาจรด  สะดุด คือ อาการของเท้าที่ใช้เคลื่อนไหวประกอบท่ารำ โดยใช้เท้าขา้ งหนึ่งวางอยู่ขา้ งหนา้ และอีกข้างหนึ่งวางอยู่ข้างหลงั วิธีสะดุด ใช้เท้าหลังยืนด้วยจมูกเท้ารับนำ้ หนัก เผยอเท้าหน้าขึ้นเล็กน้อย พอใหส้ ่วนฐานเทา้ ยืนไปกบั พ้นื ได้ การเสือกฐานเท้าหนา้ ตอ้ งกระทำแรง ๆ และชะงักไวเ้ หมือนอาการสะดุด จริง ๆ เมื่อสะดุดเท้าหน้าแล้ว ให้ยืนเท้าหน้านั้นเต็มเท้า เพื่อรับน้ำหนักให้เท้าหลังก้าวมายืนเต็มเท้า ขา้ งหนา้ บา้ ง  สะบัดมือ คือ อาการกิริยาของมือที่เนื่องมาจากท่าจีบจากจีบหงาย หรือจีบปรกข้าง วิธี สะบัด ให้คลายจีบออกพร้อมกับสลัดข้อมือออกจากลำแขน พร้อมกับหงายฝ่ามือ ทำจังหวะข้อมือแผ่มือ ออกเปน็ ท่ารำ แบมอื คว่ำ  คลายมอื คือ กริ ิยามือเนื่องมาจากจีบควำ่ ค่อย ๆ ปล่อยจบี ใหค้ ลายออกให้ข้อมือหงายขึ้น ปล่อยจีบออกช้า ๆจนมือแบหงาย แล้วจะกลบั ฝา่ มอื ตัง้ ขึ้น

 ม้วนมือ คือ กิริยาเนื่องมาจากจีบหงาย กระทำเพื่อเปลี่ยนจากมือจีบเป็นมือแบ วิธีม้วน ค่อย ๆ ปักจีบหงายอยูส่ ง่ ล่างด้วยการมว้ นข้อมือลง แล้วคลายจีบออกให้มอื แบ ทำจังหวะที่ข้อมือ แล้วต้งั วง  รวมมือ คือ กิริยาที่นำมือทั้งสองมารวมไว้ใกล้ ๆ กัน จะเป็นมือหนึ่งจีบ มือหนึ่งแบก็ได้ เช่น ทา่ ภมรเคล้า การรวมมอื รวมสงู หรอื ต่ำกไ็ ด้  ฉายมือ คือ กิริยาแบมือที่ตะแคงอยู่ในระดับต่ำ เสมออก ศอกงออยู่ก่อน วิธีฉาย เอียง ศีรษะตรงกันข้ามกับมือที่ฉาย ค่อย ๆ แทงปลายนิ้วออกไปข้างหน้า ฝ่ามือยังตะแคงอยู่ แล้วค่อย ๆ เหยยี ดออกตึง  แตะเท้า คอื อาการเล่นเท้าชนดิ หน่ึง ทีใ่ ช้จมูกเทา้ แตะลงบนพื้นเบา ๆ  ยกเทา้ แบ่งเป็นยกหน้า ยกข้าง กระดกหลัง กระดกเส้ียว กระดกเท้าน้เี นอื่ งมาจากกิริยา ประอย่างหน่งึ กระทงุ้ หลังอย่างหนง่ึ และยกโดยปราศจากการประ หรอื กระทงุ้ อกี อย่างหนงึ่ ❖ การยกเท้าหนา้ สำหรับพระให้กันเขา่ ออกไปทางเท้าทีย่ ก ส่วนนางไมต่ ้องกันเขา่ ❖ กระดกหลัง คือ อาการยกเท้าออกไปข้างหลัง หักข้อเท้าเข้าหาลำเท้า กระดกนี้ เป็นท่าสืบเนื่องมาจากการกระทุ้ง แล้วยกเท้าขึ้นข้างหลังนั่นเอง และต้องถีบเข่าไปข้างหลังมาก ๆ จึงจะ งาม ❖ กระดกเสี้ยว คล้ายกระดกหลัง แต่ผายลำขามาไว้ข้างๆ ตรงระดับไหล่ กระดกส้น เท้าให้ฝา่ เทา้ หงายอยู่ขา้ งตัว คือ ต่ำกว่าสะโพกเลก็ นอ้ ย กันเข่าห่างออกไปจากเข่าที่ยืน ระดับต่ำกว่าเขา่ ตึงปลายเท้าขน้ึ  โบก เป็นกิริยามือที่เนื่องมาจากท่าจีบ แบ่งเป็นโบกพักเพลง และโบกท่ารำทั่วไป วิธีการ โบก คือ เมื่อตัวหันไปทางขวา มือขวาเป็นฝ่ายตั้งวงล่าง มือซ้ายเป็นฝ่ายจีบหงาย ตลบเข้าหาตัวทั้งสอง

มือ รวมกันอยู่ใกล้กับระดับชายพก ประกอบด้วยกิริยาเท้า ซึ่งเท้าขวาเป็นฝ่ายรับน้ำหนัก เท้าซ้ายข้าง เดยี วกับมอื จีบเป็นฝ่ายประ เมอ่ื หม่ เขา่ ประเท้าแลว้ ให้สาวจีบออกห่างตัว ศีรษะตัวเอียงอยู่ข้างซ้ายขณะ สาวจีบออกชายพก แขนทม่ี ีมือจบี ยกสงู ข้ึนทุกๆ ที คลายจีบออกใหอ้ ยูใ่ นทา่ ตั้งวง ตั้งวงสูงคอ่ นมาหน้านิด หนง่ึ มือขวาสง่ จบี หลงั เมื่อแขนทง้ั สองอย่ทู แี่ ล้วจะห่มเข่าลง วางเทา้ ที่ประด้วยสน้ เท้า  ลกั คอ คอื การปฏิบตั ิให้ศีรษะท่เี อยี งตรงข้ามกบั ไหลท่ ก่ี ด 

ใบความรู้ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ระบำมาตรฐาน ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เร่อื ง ระบำนนั ทอุทยาน เวลา ๓๖ ช่ัวโมง  ประวัตคิ วามเปน็ มาระบำนันทอุทยาน เปน็ ระบำทป่ี ระดิษฐ์ข้นึ ใหมใ่ นสมยั รัชกาลที่ ๙ แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์ อาจารยม์ นตรี ตราโมท ได้ ประพันธบ์ ทร้องของระบำชดุ น้ี เพอื่ ประกอบการแสดงละครดกึ ดำบรรพ์ เร่ือง อุณรุท และกรงุ พาณชมทวปี ซง่ึ เป็นบทพระนิพนธ์ของสมเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมพระยานริศรานุวดั ตวิ งศ์ ทีไ่ ด้เคยจัดแสดง ณ โรงละครดึกดำ บรรพ์ (วังบ้านหม้อของเจ้าพระยาเทเวศรว์ งศว์ ิวฒั น์) ในตอนปลายสมัยรัชกาลที่ ๕ ซ่ึงแต่เดิมจัดเป็นระบำ เทวดา นางฟา้ ใช้เพลงหน้าพาทย์ประกอบการรำ ไม่มีบทรอ้ ง ครั้นตอ่ มาในสมัยรัชกาลที่ ๙ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๐ กรมศิลปากรไดจ้ ัดแสดงละครตอนนี้ให้ ประชาชนชม ณ โรงละครศิลปากร ในบริเวณพพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ จงึ ไดม้ ีการปรับปรุงการแสดงโดย เพิม่ ชดุ ระบำนนั ทอุทยานน้ี แทนระบำเทวดานางฟ้าชุดเดมิ ระบำชุดน้ี ถือเปน็ ระบำมาตรฐานชดุ หนึง่ ในรปู แบบของระบำสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ผ้แู สดงแตง่ กาย ยนื เคร่อื งพระ นาง ปจั จบุ นั ระบำชุดนี้ไม่สู้แพรห่ ลายนกั ทั้งนีเ้ พราะวา่ บทรอ้ งมีความหมายเฉพาะตัว ไม่ เหมาะทจ่ี ะนำไปแสดงในโอกาสอน่ื วิทยาลยั นาฏศลิ ปะเห็นความสำคญั วา่ เป็นระบำมาตรฐาน ท่มี ีรูปแบบ เฉพาะตวั และได้ปรบั ปรงุ ข้ึนใหม่ สมควรที่จะสบื ทอดอนุรกั ษไ์ ว้ จึงไดบ้ รรจุไวใ้ นหลกั สตู รเพื่อให้นักเรยี น ได้เรยี นรู้ ลกั ษณะเฉพาะของระบำชุดน้ี คอื บทร้องแรกของเพลงชมตลาด ทา่ รำจะตอ้ งตีบทตาม ความหมายของบทรอ้ ง สำหรบั บทร้องเพลงต้นวรเชษฐ์ ใช้ท่ารำของเพลงวรเชษฐ์ของเก่าแทนการตบี ทตาม ความหมาย ทา่ รำเพลงตน้ วรเชษฐ์ของเดิมนัน้ เขา้ ใจวา่ หม่อมเขม็ กุญชร (หม่อมของเจ้าพระยาเทเวศร์) เป็นผู้ประดิษฐท์ า่ รำ ส่วนท่ารำระบำนนั ทอุทยาน ประดิษฐท์ ่ารำโดย หม่อมครตู ่วน (ศภุ ลักษณ์) ภทั ร นาวกิ คณุ ครูลมุล ยมะคปุ ต์ และคณุ ครูมลั ลี คงประภัสร์

บทรอ้ งเพลงระบำนันทอุทยาน ร้องเพลงชมตลาด แดนเกษมเปรมใจใดจะทัน นันทวันของเราชาวแมนสรวง สารพัดงามสะพร่ังไปท้ังปวง แลละลวงละลานพศิ ตดิ หทยั มสี ระแก้วแวววาววะวาววับ แลระยบั รุ้งปลง่ั รังสีใส อุบลบานตระการลำ้ ผ่องอำไพ ชูไสวแขง่ ฉวีนฤมล ร้องเพลงตน้ วรเชษฐ์ ที่แถวทางหว่างวิถีมณลี าด งามโอภาสผอ่ งแผว้ แนวสถล พมุ่ ไมด้ อกออกอรา่ มงามตระกล ตา่ งต่างตน้ ต่างสลบั สีสบั กัน มีน้ำพุพงุ่ ซา่ ธาราไหล แลวไิ ลวลิ าศล้วนสวนสวรรค์ สำหรับองศ์อมรินทรป์ ่นิ เทวัญ ท่รี งั สรรค์สร้างสมอบรมมา เพลงหน้าพาทย์และเพลงร้อง ปีพ่ าทยท์ ำเพลงเหาะ รัว ร้องเพลงชมตลาด และต้นวรเชษฐ์ คลอป่พี าทย์ ออกเพลงเร็ว-ลา ดนตรีทีใ่ ช้ประกอบการแสดง ใชว้ งปพ่ี าทยเ์ คร่ืองหา้ เคร่ืองคู่ หรอื เคร่ืองใหญ่ ไดต้ ามโอกาส ประกอบด้วย ระนาดเอก ฆอ้ งวง ใหญ่ ปใ่ี น กลองทัด ฉ่งิ

การแต่งกาย แตง่ กายแบบยืนเครื่องพระ – นาง โอกาสท่ีใช้แสดง ใช้แสดงเปน็ ระบำเบ็ดเตลด็ แสดงในงานรื่นเรงิ ตา่ งๆ

เครอ่ื งแต่งกายพระ-นาง เครอื่ งแตง่ กายตัวพระ (แขนขวา แสดงเสื้อแขนส้นั ไมต่ ้องมอี นิ ทรธนู แขนซา้ ย แสดงเสอ้ื แขนยาว มอี นิ ทรธน)ู 1. กำไลเทา้ 2. สนบั เพลา 3. ผา้ น่งุ 4. หอ้ ยข้าง, เจยี ระบาด, ชาย แคลง 5. ฉลององค์ 6. รัดสะเอว 7. ห้อยหน้า, ชายไหว 8.ทับกระถอบ 9. ปน้ั เหนง่ 10. กรองคอ, กรองศอ 11. ตาบหนา้ , ตาบทับ, ทับทรวง 12. อนิ ทรธนู 13. พาหุรดั 14. สงั วาล 15. ตาบทศิ 16. ชฏา 17. ดอกไม้เพชร (ขวา) 18. จอนหู, กรรเจยี ก, กรรเจยี กจร 19. ดอกไม้ทดั (ขวา) 20. อุบะ, พวงดอกไม้ 21. ธำมรงค์ 22. แหวนรอบ 23. ปะวะหลำ่ 24. กำไลแผง, ทองกร

เครอ่ื งแตง่ กายตัวนาง 1. กำไลเทา้ 2. เส้ือในนาง 3. ผา้ นุง่ 4. เขม็ ขัด 5. สะอิง้ 6. ผา้ หม่ นาง 7. นวมนาง, กรองศอ, สรอ้ ย นวม 8.จน้ี าง, ตาบทับ, ทับทรวง 9. พาหรุ ัด 10. แหวนรอบ 11. ปะวะหร่ำ 12. กำไล ตะขาบ 13. กำไลสวม, ทองกร 14. ธำมรงค์ 15. มงกุฎ 16. จอนหู, กรรเจียก, กรรเจียกจร 17. ดอกไมท้ ดั (ซ้าย) 18. อบุ ะ, พวงดอกไม้ (ซา้ ย)

นาฏยศพั ทท์ ่ีสำคัญ  ตัง้ วง เปน็ อาการของมอื ที่เหยียดตึงทั้ง ๕ นิว้ แตน่ ว้ิ หวั แม่มอื หกั เขา้ หาฝ่ามือเล็กนอ้ ย การตง้ั วงท่ีสวยหรือถูกต้องนน้ั จะต้องหักขอ้ มือเข้าหาลำแขนใหม้ าก และทอดลำแขนให้โค้งพองาม การ ต้งั วงมักเรียกตามตำแหน่งที่มีอยู่ ซง่ึ แบ่งเปน็ ❖ วงบน เป็นวงโค้ง โดยลำแขนส่วนบนลาดไหลเ่ ลก็ น้อย ช้อนลำแขนสว่ นล่างขึ้น กันวงออกไปขา้ ง ๆ แยกเป็นวงสูงและวงตำ่ สำหรบั พระ ให้ยกสูงระดับแง่ศีรษะ ส่วนวงนางอยู่ระดบั หาง ค้วิ ❖ วงบวั บาน ยกแขนคลา้ ยวงโค้ง แต่หงายท้องแขนข้ึน หงายฝ่ามือ จะเปน็ ข้างใด ข้างหนง่ึ หรือ ๒ ข้างกไ็ ด้ ❖ วงกลาง คือ ส่วนโคง้ ของลำแขนท่มี ิได้อยรู่ ะดบั วงบน หรือวงลา่ ง แต่อยู่ ระดับกลาง ลกั ษณะวงกลางนี้ คือ ยกแขนให้สว่ นโค้งอยขู่ ้างคล้ายวงสงู แตล่ ดระดบั ลงใหแ้ ขนสว่ นบน ลาดลงลา่ งมาก ๆ นิว้ อยู่ระดับศอกใหต้ รงกับเกลยี วข้าง ช้อนลำแขนสว่ นล่างข้นึ บนเล็กน้อย ❖ วงล่าง คือ ส่วนโคง้ ของลำแขนทท่ี อดโคง้ ลงมาเบอื้ งลา่ ง ลำแขนส่วนล่างจะพลิก หงายหรอื คว่ำสดุ แต่กริ ิยา คือ ท่าตง้ั วงมือแบคว่ำ แขนส่วนลา่ งก็พลิกคว่ำ ท่าตั้งวงล่างนี้ ให้ทำวงแขน เปน็ ชอ่ งระหว่างข้อลำแขนกบั เกลยี วขา้ ง ลำแขนส่วนลา่ งโคง้ เขา้ หาตวั ปลายมืออย่รู ะดับหนา้ ทอ้ ง ❖ วงหนา้ คือ วงทท่ี อดลำแขนให้โค้งอยู่ขา้ งหน้า เชน่ มือซ้าย ท่าเฉิดฉิน วงหนา้ ของ พระต้องผายลำแขนไปขา้ ง ๆ เล็กน้อย สว่ นนางปลายน้วิ ตรงกับระดับปาก วงนอ้ี าจสูงหรือต่ำบา้ งเปน็ บาง ทา่ สุดแต่ลลี าทา่ รำน้ัน ๆ  จีบ เปน็ อาการของมือโดยใชน้ ว้ิ หัวแมม่ อื มาจรดกับขอ้ ท่ีหน่ึงของนว้ิ ชี้ สว่ นนว้ิ ทเี่ หลอื ทง้ั สามเหยียดตึง และกรีดออกไปเหมือนรปู พดั และต้องหักข้อมือเขา้ หาลำแขนเสมอ จีบมี ๒ ลกั ษณะ คือ ❖ จบี หงาย คือ หงายข้อมือใหป้ ลายนวิ้ ชขี้ ้ึนบน ❖ จีบควำ่ คือ ควำ่ ข้อมือลงใหป้ ลายนิ้วช้ีลงล่าง นอกจากนี้ ลกั ษณะจบี ทีน่ ำไปใชใ้ นแบบต่าง ๆ ยงั แบ่งออกเปน็ ❖ จีบปรกหน้า สว่ นของมือจีบน้นั คล้ายจีบหงาย เพราะลำแขนสว่ นลา่ งเปดิ หงายขึน้ หนั เข้าหาลำตวั ทั้งแขนและมืออยู่ข้างหนา้ หันจบี เขา้ ตรงหน้า ❖ จบี หลัง การตงั้ จีบควำ่ ไปขา้ งหน้า แลว้ ค่อย ๆ ลดจีบส่งแขนไปขา้ งหลงั ลักษณะ จบี กลับหงายขึ้น

❖ จบี ปรกขา้ ง คลา้ ยจบี ปรกหน้า แต่ลำแขนอยู่ขา้ ง  กราย เป็นกิริยาเคลื่อนไหวของมือจบี ท่ีหงาย ซง่ึ มีลำแขนเหยียดตรงคอ่ ยๆ ม้วนข้อมือใหจ้ ีบ คว่ำลงชา้ ๆ แล้วคลายจีบจนมือแบ แลว้ ตัง้ วงเฉยี งค่อนไปขา้ งหน้า  ล่อแกว้ เป็นอาการของมอื ที่มีลกั ษณะคลา้ ยจีบ แตใ่ ช้นิ้วกลางมากดที่ขอ้ ท่หี นึง่ ของ นวิ้ หวั แมม่ ือ ใหเ้ ปน็ รูปวงกลม นวิ้ ทีเ่ หลอื กรีดตงึ  ประเทา้ เป็นกริ ิยาของเท้าทว่ี างอย่เู บือ้ งหนา้ ใชใ้ นท่ารำก่อนจะยกเท้า คือ อาการเผยอ จมกู เทา้ ขนึ้ เพียงนิดเดียว โดยที่ส้นเทา้ ยังติดพ้นื อยู่ครึ่งหน่ึง แตะลงเบา ๆ แล้วยกขน้ึ วธิ ีประนตี้ ้องห่มเข่า กอ่ นทุกคร้งั  กระทุง้ เปน็ อาการของเทา้ ท่ีวางอยู่เบื้องหลงั กระทุ้งก่อนยกขึน้ เชน่ เดียวกบั ประ หากแต่ อยู่ขา้ งหลัง ซึง่ สว่ นของจมูกเทา้ ที่วางอยู่กับพื้นส่วนส้นน้นั เปิดอยู่ การกระทุ้ง คือ การกระแทกจมูกเท้ากบั พ้ืนเบา ๆ แล้วจึงยกขึน้  ขย่นั เป็นอาการเคลื่อนไหวเท้าทั้งสอง เพ่ือพาตวั เคล่ือนไป โดยเท้าหน่งึ วางอยู่ข้างหลังด้วย จมกู เทา้ อีกเทา้ หนึ่งยนื เต็มเทา้ อยู่ข้างหน้า ใชจ้ มกู เทา้ หลงั ยืนพืน้ เพื่อช่วยใหเ้ ทา้ หนา้ เขยบิ ออก เมื่อเทา้ หน้ากระเถิบได้แล้ว เท้าหลังก็ตามมา ขยั่นนี้ต้องทำเร็ว ๆ ใหส้ ่วนของเท้าเรยี บไปกบั พ้ืน และชิด ๆ กันไป ใหต้ วั เคล่อื นเหมือนลอยไป  ถัดเท้า กิริยาถดั เทา้ มี ๒ ชนิด คอื ถัดเท้าอยู่กบั ที่ และถดั เทา้ เคล่ือนตวั ไป ❖ ถดั เท้าอยู่กับท่ี แบง่ เป็นถัดเท้าไขว้ กบั ถัดเทา้ ยนื เสมอกัน สำหรับถดั เท้าไขวน้ นั้ เท้าหนงึ่ ยืนอยู่ขา้ งหน้า และอีกเท้าหนงึ่ อยู่ขา้ งหลงั เปิดส้นเท้า วิธีการถดั คอื วางเทา้ หลงั ราบลงให้ น้ำหนกั อยู่ข้างหลงั แลว้ ใช้จมกู เทา้ หนา้ ถดั ออกไป การถัดจมกู เท้าก็คือ การเสือกจมูกเท้าไปกบั พน้ื เบา ๆ แลว้ วางเทา้ ท่ีถดั ราบลงให้น้ำหนกั อยู่หนา้ ยกเท้าหลงั เหนือพื้นเล็กนอ้ ย แลว้ งวางจมกู เทา้ หลงั ลงอกี เพื่อให้ จมกู เท้าหนา้ ได้ถัดอีก ทำเช่นนีต้ ามจังหวะ สว่ นถดั เท้ายืนเสมอกันนนั้ คือ อาการยืนอยู่กบั ที่ ซ่ึงเท้าท้งั สองวางอยู่ค่กู นั การปฏบิ ัติก็ทำเช่นเดยี วกัน ❖ ถัดเท้าเคลื่อนตวั ได้แก่ การถดั เท้าเดนิ โดยใชเ้ ทา้ ขวาเปน็ ฝา่ ยถดั

 จรด คือ การใชจ้ มกู เท้าข้างหนึ่งแตะลงพืน้ โดยยกสน้ ข้นึ มใิ หถ้ ูกกับพ้ืน จะจรดข้างไหนก็ มิไดจ้ ำกัด แต่อาศยั อีกเทา้ หนง่ึ เป็นฝา่ ยยืนรับนำ้ หนกั เพื่อใหอ้ ีกเทา้ หน่ึงก้าวมาจรด  สะดดุ คือ อาการของเท้าที่ใช้เคล่ือนไหวประกอบท่ารำ โดยใช้เทา้ ขา้ งหน่ึงวางอยู่ข้างหนา้ และอีกข้างหนึ่งวางอยู่ขา้ งหลัง วิธสี ะดุด ใช้เทา้ หลงั ยืนด้วยจมูกเท้ารบั นำ้ หนัก เผยอเท้าหนา้ ขน้ึ เลก็ น้อย พอใหส้ ่วนฐานเท้ายืนไปกับพ้ืนได้ การเสอื กฐานเท้าหนา้ ต้องกระทำแรง ๆ และชะงักไวเ้ หมือนอาการสะดุด จรงิ ๆ เมอ่ื สะดดุ เท้าหนา้ แล้ว ให้ยืนเทา้ หนา้ นนั้ เตม็ เท้า เพือ่ รับนำ้ หนักให้เท้าหลงั กา้ วมายืนเตม็ เท้า ข้างหน้าบ้าง  สะบดั มอื คือ อาการกิรยิ าของมือที่เนื่องมาจากท่าจบี จากจีบหงาย หรอื จบี ปรกข้าง วธิ ี สะบดั ให้คลายจีบออกพร้อมกับสลัดขอ้ มือออกจากลำแขน พรอ้ มกับหงายฝา่ มือ ทำจังหวะขอ้ มอื แผ่มือ ออกเป็นทา่ รำ แบมือคว่ำ  คลายมอื คอื กริ ยิ ามือเน่ืองมาจากจบี ควำ่ ค่อย ๆ ปลอ่ ยจบี ใหค้ ลายออกใหข้ ้อมือหงายข้ึน ปล่อยจบี ออกชา้ ๆจนมือแบหงาย แล้วจะกลบั ฝ่ามอื ต้งั ขึ้น  ม้วนมอื คือ กริ ยิ าเนื่องมาจากจีบหงาย กระทำเพ่ือเปล่ียนจากมือจบี เปน็ มือแบ วิธีมว้ น คอ่ ย ๆ ปักจีบหงายอยสู่ ง่ ลา่ งดว้ ยการม้วนขอ้ มือลง แล้วคลายจีบออกใหม้ ือแบ ทำจงั หวะทีข่ ้อมือ แลว้ ตงั้ วง  รวมมือ คือ กริ ยิ าที่นำมอื ทง้ั สองมารวมไว้ใกล้ ๆ กนั จะเปน็ มือหนึง่ จีบ มือหนึ่งแบกไ็ ด้ เชน่ ทา่ ภมรเคล้า การรวมมือรวมสูงหรือต่ำกไ็ ด้  ฉายมอื คอื กริ ิยาแบมือท่ีตะแคงอยใู่ นระดับตำ่ เสมออก ศอกงออยู่ก่อน วธิ ีฉาย เอยี ง ศรี ษะตรงกันข้ามกับมือที่ฉาย คอ่ ย ๆ แทงปลายนิ้วออกไปข้างหนา้ ฝ่ามือยังตะแคงอยู่ แลว้ ค่อย ๆ เหยยี ดออกตงึ  แตะเท้า คอื อาการเล่นเท้าชนดิ หนง่ึ ท่ีใชจ้ มูกเท้าแตะลงบนพืน้ เบา ๆ  ยกเท้า แบง่ เปน็ ยกหน้า ยกข้าง กระดกหลัง กระดกเสี้ยว กระดกเทา้ น้เี นื่องมาจากกิริยา ประอย่างหน่งึ กระทงุ้ หลังอย่างหน่งึ และยกโดยปราศจากการประ หรือกระทุ้งอีกอย่างหนงึ่

❖ การยกเทา้ หนา้ สำหรบั พระให้กนั เข่าออกไปทางเท้าทยี่ ก สว่ นนางไม่ต้องกันเข่า ❖ กระดกหลงั คอื อาการยกเท้าออกไปขา้ งหลัง หกั ข้อเทา้ เขา้ หาลำเทา้ กระดกน้ี เปน็ ทา่ สบื เนอื่ งมาจากการกระทงุ้ แล้วยกเท้าขึ้นข้างหลงั นั่นเอง และต้องถีบเขา่ ไปขา้ งหลังมาก ๆ จึงจะ งาม ❖ กระดกเส้ยี ว คลา้ ยกระดกหลงั แตผ่ ายลำขามาไว้ข้างๆ ตรงระดบั ไหล่ กระดกส้น เทา้ ใหฝ้ ่าเท้าหงายอยู่ขา้ งตัว คือ ตำ่ กวา่ สะโพกเล็กนอ้ ย กันเขา่ ห่างออกไปจากเข่าทีย่ นื ระดับต่ำกวา่ เข่า ตึงปลายเทา้ ข้ึน  โบก เปน็ กิริยามอื ท่เี น่ืองมาจากท่าจบี แบง่ เป็นโบกพักเพลง และโบกทา่ รำทัว่ ไป วิธกี าร โบก คอื เม่อื ตวั หันไปทางขวา มอื ขวาเป็นฝา่ ยตั้งวงล่าง มอื ซา้ ยเป็นฝา่ ยจบี หงาย ตลบเข้าหาตัวทั้งสอง มือ รวมกันอยู่ใกล้กบั ระดบั ชายพก ประกอบดว้ ยกิรยิ าเท้า ซ่งึ เท้าขวาเปน็ ฝ่ายรับนำ้ หนัก เท้าซ้ายขา้ ง เดียวกับมือจีบเป็นฝา่ ยประ เมื่อห่มเขา่ ประเท้าแล้ว ให้สาวจีบออกห่างตวั ศีรษะตวั เอียงอยขู่ ้างซ้ายขณะ สาวจบี ออกชายพก แขนทม่ี ีมอื จบี ยกสูงขนึ้ ทุกๆ ที คลายจีบออกให้อยู่ในท่าตั้งวง ต้ังวงสงู คอ่ นมาหน้านดิ หนึง่ มือขวาสง่ จบี หลงั เมื่อแขนท้งั สองอยู่ทแี่ ลว้ จะหม่ เข่าลง วางเทา้ ทีป่ ระดว้ ยสน้ เท้า  ลักคอ คอื การปฏบิ ัติใหศ้ รี ษะทีเ่ อียงตรงข้ามกบั ไหลท่ ่ีกด 

ใบความรู้ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ รำหน้าพาทย์ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ แผนการเรียนร้ทู ่ี ๓ เรอ่ื ง รำหนา้ พาทยส์ นี วล เวลา ๒๔ ชว่ั โมง  ประวัติความเปน็ มาเพลงหน้าพาทยส์ ีนวล เพลงหนา้ พาทย์ หรือเรยี กอีกอยา่ งหน่ึงวา่ “เพลงครู” เปน็ เพลงที่ใช้บรรเลงในพธิ ไี หว้ครู หรือ กำหนดไวเ้ พอ่ื ประกอบบทบาทของตวั ละคร เพลงหนา้ พาทย์ มีจงั หวะหน้าทบั และท่วงทำนองเฉพาะ ตายตัว ผู้รำตอ้ งยดึ ถือการบรรเลงเปน็ หลกั ตามจังหวะหนา้ ทบั เพลงหนา้ พาทยส์ ีนวล เปน็ เพลงทน่ี ำท่ารำจากแมบ่ ทใหญ่ มาประดษิ ฐใ์ หม้ ลี ีลาต่อเนื่องกนั อยา่ ง สวยงาม ได้แก่ ท่าสอดสร้อยมาลา บัวชฝู ัก ผาลาเพยี งไหล่ กินนรรำ ช้านองนอน ยอดตองตอ้ งลม เปน็ ตน้ ผู้ประดิษฐท์ า่ รำ คือ คุณครูเฉลย ศุขะวณชิ การแต่งกาย นุง่ ผา้ จบี หน้านาง หม่ สไบพลีท ห่มผา้ กรองทองทบั สไบ สวมเครอ่ื งประดับ สรอ้ ยคอ สร้อยขอ้ มอื สร้อยตวั ตา่ งหู กำไลเท้า ปล่อยผมยาวประดบั ดอกไมด้ า้ นซ้าย ทำนองเพลง ใช้เพลงสีนวล ออกเพลงเรว็ - ลา ดนตรที ี่ใชป้ ระกอบการแสดง ใชว้ งป่พี าทย์เครื่องหา้ เคร่ืองคู่ หรอื เครอ่ื งใหญ่ ได้ตามโอกาส ประกอบด้วย ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ปี่ใน กลองทัด ฉ่ิง โอกาสท่ใี ช้แสดง ใชแ้ สดงในงานรนื่ เริงตา่ งๆ

ใบความรู้ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ ระบำเบด็ เตลด็ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ แผนการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรือ่ ง ญวนรำกระถาง เวลา ๓๖ ช่ัวโมง  ประวัตคิ วามเปน็ มาเพลงญวนรำกระถาง รำโคมญวน หรือญวนรำกระถาง เปน็ นาฏศลิ ปท์ ด่ี ัดแปลงมาจากการรำโคมของพวกญวน ซึ่งโคม ของพวกญวนท่ใี ช้ถือนน้ั มีลักษณะเหมอื นกระถาง การรำโคมญวนหรือญวนรำกระถางนี้ เป็นการละเล่น อย่างหน่งึ ในงานพระราชพธิ ขี องหลวงที่สืบตอ่ กันมาช้านาน ตามประวัติกลา่ ววา่ เม่ือคร้งั รัชกาลที่ ๑ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก) องเชียงสอื กษัตริย์ของญวน ได้หลบหนีกบฏไตเซนิ เข้ามาพงึ่ พระบรมโพธิสมภาร เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๖ องเชยี งสอื (ภายหลังพระนามวา่ พระเจา้ เวียดนามญาลอง) ได้ อพยพครอบครัวพวกญวนเข้ามาดว้ ย และไดฝ้ ึกพวกญวนอพยพเล่นญวนรำกระถาง และมังกรคาบแกว้ หรือล่อแกว้ ถวายให้ทอดพระเนตรหน้าพลับพลาเวลากลางคืน เปน็ การสนองพระเดชพระคุณ และได้เลน่ ในงานฉลองวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม ซ่งึ สรา้ งเสร็จเมือ่ พ.ศ. ๒๓๒๗ ปีมะโรง นอกจากน้ี ยงั ได้เล่นในงาน พระราชพิธีหลวงต่าง ๆ เปน็ ประเพณีสบื ตอ่ มา รปู แบบการแสดงแต่เดมิ นั้น ผเู้ ลน่ รำโคมจะขับร้องบทพร้อมกับออกท่ารำเตน้ ตามจังหวะเขา้ กับ เพลงล่อโก๊ะ และแปรแถวเป็นรูปตา่ ง ๆ เชน่ ต่อตวั เป็นรูปเรอื สำเภา รปู ปอ้ ม รปู มงั กร รูปซมุ้ ในปจั จุบนั ได้เปลี่ยนแปลงใชป้ ี่พาทยบ์ รรเลงประกอบแทนล่อโก๊ะ การเล่นรำโคมญวน หรอื ญวนรำกระถางนี้ ถือเปน็ ตน้ เค้าการรำโคมของไทย ลักษณะของโคม ญวนเปน็ รปู กระถางตน้ ไม้ส่เี หล่ยี ม ก้นสอบ มดี า้ มถือ โครงทำด้วยไม้ ปดิ กระดาษบางใส ปจั จบุ ันใช้ผ้า แทน ตดิ เทียนไขแล้วจดุ ไฟในกระถาง

ดนตรที ่ีใช้ประกอบการแสดง ไดต้ ามโอกาส ใชว้ งปพ่ี าทยเ์ ครื่องหา้ เครือ่ งคู่ เคร่ืองใหญ่ หรือวงปพ่ี าทยด์ ึกดำบรรพ์ ประกอบด้วย ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ปใ่ี น กลองทดั หรือตะโพน ฉิง่ การแตง่ กาย แต่งแบบญวนโบราณ คือ น่งุ กางเกงแพรขายาว เส้อื ปา้ ยข้างแขนยาว ปกั ไหมและดิน้ เปน็ ลวดลายตามขอบปลายกางเกง แขนเสื้อ ชายเสอ้ื และคอ มผี ้าแพรคาดเอว ผกู ชายดา้ นหนา้ และผา้ แพรโพกศีรษะ ผูกทงิ้ ชายไปด้านหลงั บทร้อง ทใี่ ช้รำในปัจจุบัน และนำมาใช้เปน็ บทเรยี นสำหรบั ฝกึ หดั นักเรียน เป็นการแสดงท่ีสมเด็จเจ้าฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ และเจ้าพระยาเทเวศรว์ งศ์วิวัฒน์ ทรงปรับปรงุ แกไ้ ขใหเ้ หมาะแกก่ ารแสดง ละครดกึ ดำบรรพ์ เร่ือง สังขศ์ ิลป์ชยั ต่อมา หม่อมครตู ่วน (ศภุ ลักษณ์ ภัทรนาวกิ ) ได้นำมาฝึกซอ้ มให้ นกั เรียนโรงเรียนนาฏศลิ ป เพือ่ แสดงเป็นระบำเบด็ เตลด็ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๓ และได้บรรจเุ ปน็ หลกั สูตรวชิ า นาฏศิลป์ ต่อมาจนถงึ ปจั จบุ ัน

บทร้องเพลงญวนรำกระถาง ปพ่ี าทย์ทำเพลงญวนทอดแห รอ้ งเพลงญวนรำกระถาง ที โห้ เหนิ เจอื ง ที โห้ เหิน เจอื ง กก๊ึ กรงุ เมือง ฮือ...... โกรก๊ กรา๊ ง โกร๊ก ผอ่ ง เกรือง อัน ยา่ อนั หนู โห โฮ.... หนู โห ตา๋ ว บา่ ง เตือง วิ กาว บาง ก๋อื ผดั ผัง เกียม กบ๊ิ กมิ่ เชือง กนิ เหมยี ง เกียง กี ก๋าว ฮือ จาง ฮือ ก๊ง ด่าว เฮย้ ดา่ ว ซนั้ หลวง จ๊ิ หาน ต๋นิ เหมยี ง หยาง หยู ฉา่ ง จี กรุง เตรียม ที ยาม ทา่ น กวี โน สนั บี กิม โฮย กรำ เหล โฮย่ กวี เตรยี ม บิน โดย หา กวี สวาง กง กวี ฮือ .......... เดอื ง คู กำ ดาว กวา หา หะ ยาย ทู้ เทยี น ฮือ..ยา้ หยู บา่ ง ลา้ เตรียม สนั ยา ฮา ........ เจียม ดำ รั้ง รา้ กวา หา หะ ดำ รัง้ กุน ฮอื ....เดียว พวะ พู มิน เทยี น สอื ลือ ที สะ ตวัด เตยี ว ตัด เมา มา เจียว ตา่ ย บาง เรอื ขลาบ พูยา ฮาหะ ฮัน ทอ เตยี ว เตา้ เชอื ง กรา๊ บ ได่ กราบ เตยี ว เยือง ตะ วา หะ ฉนั กรุง ฮึง ที เมี้ยง เมียง ฮัน ทอ เตียว เตา้ เชอื ง กร๊าบ ได่ กราบ เตียว เยือง ตะ วา หะ ฉนั กรงุ ฮึง ที เมี้ยง เมียง

บทถวายดอกไมป้ ระทีป หาว ยอื ตนั ยู่ นง นง ฮอื ..... หาว ยือ เต ไง อนั กนุ ฮือ...... กนุ๋ ทั่น นง ทัน กา๋ ว รู เลนิ รำ ร่าย รา่ ย ตยุ้ หงา หะ กาน ทู กมุ เตียว กุ๋น ทัน่ ยาย กง๊ กง๊ ลา หา ลัก อระ ฉดุ กง ลี ฮอื ......... กนุ๋ ทน่ั ยาย ก๊ง กง๊ ลา หา ลัก อระ ฉดุ กง ลี ฮอื . กื๋อ บาง กวาง เตรียม ตี ออ๋ ง กา้ น ออ๋ ง กอ๋ื บาง กวาง เตรยี ม ตี ออ๋ ง ก้าน ออ๋ ง ฮ่ัน ฮัน เฮย เฮย ฮั่น ยวง ฮั่น ฮนั เฮย เฮย ฮั่น ยวง ลี ลี ยุด หยุด ลาย อ่อง กา้ น ออง ลี ลี ยดุ หยุด ลาย อ่อง กา้ น ออง โก เกยี ว สือ หลาย โล่ กงุ โก เกยี ว สอื หลาย โล่ กงุ บนิ โฮย สือ หลาย หาง เสอื ง เล่อื ง เสอื ง ลา้ มงุ โล กำ ลุง สี โล กงุ สะวาย เตรียม ฟงุ เอย นง่ นง สะวาย เตรยี ม ฟุง เอย โน่ง นง เพลงบรรเลงและขับรอ้ ง ปพี่ าทยท์ ำเพลงญวนทอดแห นำหน่ึงเทีย่ ว แลว้ ร้องเพลงญวนรำกระถาง และถวายดอกไมป้ ระทปี จบแล้วปพี่ าทยท์ ำเพลงพญาเดิน และรวั ทำนองเพลงญวน โอกาสทใ่ี ชใ้ นการแสดง ใชแ้ สดงในโอกาสงานรน่ื เรงิ ต่าง ๆ 

ใบความรู้ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ ระบำเบ็ดเตลด็ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ แผนการเรยี นรู้ที่ ๕ เร่ือง ระบำจีนรำพดั เวลา ๓๖ ช่ัวโมง  ประวตั คิ วามเปน็ มาเพลงจนี รำพัด ระบำจีนรำพดั เป็นการแสดงที่ไดเ้ ค้าแบบมาจากการแสดงของจนี สันนษิ ฐานว่ามีมาแต่สมัย รชั กาลท่ี ๒ แห่งกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ในครง้ั นน้ั ได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดการแสดงตา่ ง ๆ ณ สนามหนา้ จักรวรรดิ (สนามชัยปัจจุบนั ) พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั ไดเ้ สดจ็ ทอดพระเนตรบนพลับพลาสูง (พระ ท่ีนั่งพทุ ไธสวรรคป์ ัจจุบนั ) แลว้ โปรดเกลา้ ฯ ใหค้ รลู ะคร และพวกละครหลวง โดยเสด็จดกู ารละเล่นครัง้ นี้ ดว้ ย พระยาโชฎึกราชเศรษฐี เจา้ กรมท่าซา้ ย (ผู้บังคบั บัญชาคนต่างด้าวชาวจนี ) ไดน้ ำการแสดงจนี รำพดั มาแสดงถวาย หลงั จากน้นั จึงได้โปรดใหเ้ จา้ ฟ้ากรมหลวงพิทกั ษ์มนตรี ซ่งึ เป็นบรมครูทางนาฏศลิ ป์ไทยใน สมัยนัน้ ฝึกหดั พวกละครหลวงให้รำระบำพัด โดยดัดแปลงทา่ รำเป็นแบบไทย และไดถ้ ่ายทอดกันต่อ ๆ มา การแสดงชุดนี้ เดิมทเี ดยี วเพลงดนตรีท่บี รรเลงเวลารำพัดนน้ั เปน็ สำเนียงจีน ช่ือว่า “จนี ดาวดวง เดยี ว” และเนอ่ื งจากไดน้ ำเอามาประกอบรำพดั จนฝงั ตัว จงึ เรยี กเพลงนวี้ า่ “จนี รำพัด” และเมื่อแสดงรำ พัดก็มักใช้บททีข่ ึ้นต้นว่า “ชื่นใจ” ซงึ่ คดั มาจากบทละคร เรื่อง “เงาะปา่ ” พระราชนพิ นธใ์ นรชั กาลที่ ๕ ครนั้ ต่อมากรมศลิ ปากรต้องการจะนำออกแสดงให้ประชาชนชม และต้องการจะใหม้ บี ทเฉพาะการแสดงรำ พัด จงึ มอบให้อาจารย์มนตรี ตราโมท เปน็ ผแู้ ต่งบทขน้ึ แต่คงใช้เพลงจีนดาวดวงเดียว หรือจีนรำพดั อยา่ ง เดมิ และต่อท้ายดว้ ยจนี รัว การแตง่ กาย แต่งเป็นหญงิ สาวชาวจนี สวมเส้อื คอกลม แขนยาว ตดิ กระดมุ ป้ายขา้ ง ตัวเส้ือ ยาวคลมุ สะโพก สวมกางเกงขายาวพับขอบด้านหน้า คาดเอวปล่อยชายยาว ผมเกลา้ มวย ๒ ขา้ ง ประดับ ด้วยดอกไมร้ อบมวยผม อุปกรณป์ ระกอบการแสดง พัดดา้ มจิว๋ ๒ เลม่ ผู้ประดิษฐ์ทา่ รำ คือ คุณครูลมุล ยมะคุปต์ และหมอ่ มครูตว่ น (ศภุ ลักษณ์) ภทั รนาวิก

เครอื่ งดนตรีทีใ่ ช้ประกอบการแสดง ใชว้ งปีพ่ าทย์เครื่องหา้ หรือเครอื่ งคู่ อาจเพ่ิมขมิ บรรเลง เพือ่ ให้มีสำเนยี งจีน โอกาสท่ใี ช้ในการแสดง ใชแ้ สดงในงานรน่ื เรงิ ต่าง ๆ

บทร้องเพลงจนี รำพดั รอ้ งเพลงจนี ดาวดวงเดียว ช่นื ใจ ทีเ่ งาไมร้ าบรม่ ลมพดั ฉวิ หอมกระถินกลิ่นไกลใจรว้ิ รว้ิ หรือใครล่ิวลมแฉลบมาแอบมอง - รับ - ในโลกนีม้ อี ะไรทไ่ี ม่คู่ ไดเ้ ห็นอยู่ท่วั ถว้ นลว้ นเป็นสอง ดวงจนั ทรน์ น้ั ยังมีอาทิตยป์ อง เดินพบพ้องบางคราวเมื่อเช้าเยน็ ดนตรที ำเพลงจนี รวั 

ใบความรู้ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ ระบำเบ็ดเตล็ด ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ แผนการเรียนร้ทู ี่ ๖ เรือ่ ง ระบำมยุราภริ มย์ เวลา ๒๔ ชั่วโมง  ประวตั ิความเปน็ มาระบำมยุราภริ มย์ ระบำมยุราภริ มย์ เป็นระบำทีก่ รมศลิ ปากรมอบหมายให้ นายมนตรี ตราโมท ผู้เชีย่ วชาญด้าน ดุริยางคไ์ ทย กรมศลิ ปากร และศลิ ปนิ แห่งชาติ แต่งทำนองเพลงประกอบท่าร่ายรำของหมนู่ กยูงในการ แสดงละครใน เรือ่ ง อิเหนา ตอน สยี ะตราพบนางเกนหลง ตง้ั ชือ่ เพลงนีว้ า่ ”เพลงมยุราภิรมย์” จอม พลสฤษด์ ธนะรชั ต์ นายกรฐั มนตรจี ัดแสดงในโอกาสรบั รองประธานาธิบดีซูการโ์ น แห่งสาธารณรัฐ อนิ โดนเี ซยี ราชอาคนั ตกุ ะ ณ หอประชุมกระทรวงวัฒนธรรม สนามเสอื ปา่ เม่อื วันท่ี ๑๗ เมษายน ๒๕๐๕ ผูป้ ระดษิ ฐ์ท่ารำ คือ นางลมุล ยมะคุปต์ ผูเ้ ชยี่ วชาญนาฏศลิ ปไ์ ทย กรมศิลปากร ดนตรีทใี่ ชบ้ รรเลง ใชว้ งป่ีพาทย์ไมน้ วมเครอื่ งห้า หรือเคร่ืองคู่ หรือเคร่ืองใหญ่ ทำนองเพลง มยรุ าภิรมย์ เปน็ เพลงประเภทอัตราสองชัน้ และชน้ั เดยี ว ใช้กลองแขกตหี น้าทับลาว ไม่มีบทร้อง การแต่งกาย แต่งกายแบบเบ็ดเตล็ด เส้อื กางเกงคนละท่อนสีเขยี ว ปีก หาง เลบ็ หวั นกยงู เปิดหน้า ลกั ษณะทา่ รำ ท่ากรดี กรายของนกยงู ผสมผสานกับลลี าทา่ รำ พรอ้ มกับการแปรแถวรปู แบบ ตา่ ง ๆ การแสดงชุดน้ีใชเ้ วลาแสดงประมาณ ๙ นาที โอกาสทใี่ ชใ้ นการแสดง ใชแ้ สดงในงานร่ืนเริงตา่ ง

ใบความรู้ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ระบำเบ็ดเตล็ด ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ แผนการเรียนร้ทู ่ี ๗ เร่อื ง ระบำมฤคระเรงิ เวลา ๒๔ ช่ัวโมง  ประวตั คิ วามเปน็ มาระบำมฤคระเริง ระบำมฤคระเริง เปน็ ระบำท่ีสร้างสรรค์ประกอบการแสดงโขน เร่อื ง รามเกียรต์ิ ตอน ลักสีดา ซง่ึ กรมศลิ ปากรไดป้ รบั ปรุงบทใหม่ เพอ่ื นำไปแสดงเผยแพร่และแลกเปลยี่ นวฒั นธรรม ณ สหภาพพม่า เม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๘ ผู้แต่งทำนองเพลง คือ นายมนตรี ตราโมท ผู้เชย่ี วชาญดุรยิ างค์ไทย ผู้ประดษิ ฐท์ า่ รำ คือ คุณครลู มลุ ยมะคุปต์ และนางผัน โมรากุล ดนตรที ี่ใชบ้ รรเลง ใช้วงป่พี าทย์ไม้นวมเครือ่ งห้า หรือเคร่ืองคู่ หรือเคร่ืองใหญ่ ทำนองเพลง มฤคระเรงิ เปน็ เพลงประเภทอตั ราสองชั้นและช้นั เดียว ใช้กลองแขกตัวเมียตีหนา้ ทบั ลายแขก ไมม่ ีบทร้อง การแตง่ กาย แตง่ กายแบบเบด็ เตล็ด เสื้อกางเกงคนละท่อนสีนำ้ ตาลอมแดง กระบังหน้ายอดหวั กวาง ลักษณะทา่ รำ ลีลาย่างเย้ืองเหลยี วชำเลืองตามทา่ ทธี รรมชาตขิ องกวาง ผสมลลี านาฏศิลป์ การ แปรแถวต่างรปู แบบเพื่อเพ่ิมความงาม ทใ่ี ชใ้ นการแสดง ใช้แสดงในงานรน่ื เรงิ ต่าง ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook