-45- บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรำยผล และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยเรื่อง การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่าน Timeline ด้วยเทคโนโลยีควิ อาร์โคด้ (QR Code) เร่ืองพุทธประวัติ สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี5 โรงเรยี น หนองอิเฒ่าวิทยา ปีการศึกษา 2564 ผู้วิจัยนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาสรุปผล อภิปรายผล และมีข้อเสนอแนะ ตามลาดบั ดงั น้ี 1. วตั ถปุ ระสงคข์ องงำนวิจัย 1. เพอ่ื พัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ โดยใชน้ วตั กรรมการสอนพุทธประวตั ิแสนงา่ ยผ่านTimeline ด้วย เทคโนโลยคี ิวอารโ์ ค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ 2. เพือ่ ศึกษาผลของการจดั กระบวนการเรียนร้โู ดยใชน้ วตั กรรมการสอนพทุ ธประวัติแสนงา่ ยผา่ น Timeline ด้วยเทคโนโลยคี ิวอารโ์ คด้ (QR Code) เร่ืองพุทธประวัติ ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่5ี โรงเรยี น หนองอเิ ฒ่าวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2564 2. คำถำมกำรวิจยั 1. การใช้นวตั กรรมการสอนพุทธประวตั แิ สนงา่ ยผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอารโ์ ค้ด (QR Code) เร่ืองพุทธประวตั ิ ชั้นประถมศึกษาปที 5ี่ มาเป็นแนวทางการจดั การเรยี นรู้ เป็นอยา่ งไร 2. ผลการจดั กระบวนการเรียนรโู้ ดยใชน้ วัตกรรมการสอนพุทธประวตั ิแสนงา่ ยผ่าน Timeline ดว้ ย เทคโนโลยีควิ อาร์โคด้ (QR Code) สามารถพัฒนาความรู้ความเข้าใจเรื่องพุทธประวัติ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่5 ได้ หรือไม่ อย่างไร 3. ขอบเขตกำรวิจัย 1. กล่มุ เป้าหมายท่ีใช้ในการวิจยั คร้งั นเ้ี ปน็ นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่5 จานวน 10 คน ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรียนหนองอิเฒ่าวิทยา 2. เนื้อหาวชิ าทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ครัง้ น้ี เปน็ ส่วนหนง่ึ ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม สาระท่ี1 ศาสนา ศลี ธรรมจรยิ ธรรม ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่5 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เร่ือง พุทธประวัติ 3. ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ ชเ้ วลารวม 2 สัปดาห์ 4. ตวั แปรทศ่ี ึกษา
-46- 4.1 ตวั จัดกระทา คอื การจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใชน้ วัตกรรมการสอนพุทธประวัตแิ สนงา่ ย ผ่านTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีควิ อาร์โค้ด (QR Code) 4.2 ตวั แปรทีศ่ ึกษา คือ 4.2.1 การจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยใชน้ วัตกรรมการสอนพทุ ธประวัติแสนง่ายผา่ น Timeline ดว้ ยเทคโนโลยคี ิวอารโ์ คด้ (QR Code) 4.2.2 ผลของการจัดกระบวนการเรยี นรโู้ ดยใช้นวัตกรรมการสอนพทุ ธประวัตแิ สนงา่ ย ผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีควิ อาร์โคด้ (QR Code) 4. สรุปผลกำรวจิ ัย จากการพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่าน Timeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี5 โรงเรียนหนองอิ เฒา่ วิทยา ปีการศึกษา 2564 ผู้วิจยั สรปุ ได้ดงั นี้ 1. การใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ ช้ันประถมศึกษาปีที่5 มาเป็นแนวทางการจัดการเรยี นรู้ ผู้เรียนสามารถเรยี นรู้ได้ตามจุดประสงค์ มคี วามรู้ความเข้าใจ มีเจตคติทดี่ ีตอ่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ และสามารถนาไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวันได้ 2. ผลการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่าน Timeline ด้วย เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) พบว่าหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และวัด ประเมินผลจากการทา แบบทดสอบก่อนเรียน ใบกิจกรรมที่1 - 3 และแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ ผู้เรียนมีทักษะการลาดับ เหตุการณส์ าคัญมีความรู้ความเขา้ ใจ และมีเจตคติท่ีดี ตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรเู้ ร่ืองพุทธประวตั ิ เพิ่มขนึ้ อยู่ใน ระดบั ทีด่ มี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ90 ดังนั้นสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วย เทคโนโลยคี ิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ สาหรับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี5 สามารถนาไปใชเ้ ป็นแนวทางใน การจัดกระบวนการเรียนรเู้ พ่อื สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติท่ีดตี ่อการเรียนพทุ ธประวตั กิ ับผู้เรยี นได้ อภปิ รำยผล การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วย เทคโนโลยีควิ อาร์โค้ด (QR Code) เร่ืองพุทธประวัติ มีประเด็นสาคัญทน่ี ามาอภิปรายตามลาดบั ดงั ต่อไปนี้ 1. การพฒั นาแนวทางการจดั การเรยี นรู้ โดยใช้นวัตกรรมการสอนพทุ ธประวัติแสนงา่ ยผา่ นTimeline ดว้ ย เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ พบว่า หลังการจัดการเรียนรู้ใช้นวัตกรรมการสอนพุทธ ประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เร่ืองพุทธประวัติ มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับดีมาก เนื่องจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นวตั กรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วย เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนสูงข้ึน สอดคล้อง กับ สาราญ จูชว่ ย (2553) ได้ใหแ้ นวคิดวา่ การจัดการเรยี นรูเ้ ปรียบเสมือนเคร่ืองมือทสี่ ่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นรักการเรียน
-47- ต้ังใจเรียน และเกิดการเรียนรู้ขึ้น การเรียนของผู้เรียนจะไปสู่จุดหมายปลายทาง คือ ความสาเร็จในชีวิ ตหรือไม่ เพียงใดน้ันย่อมขึ้นอยู่กับการจัดการเรียนรู้ท่ีดีของผู้สอนหรือผู้สอนด้วยเช่นกัน หากผู้สอนรู้จักเลือกใช้วิธีการ จัดการเรียนรู้ท่ีดีและเหมาะสมแล้วย่อมจะมีผลดีต่อการเรียนของผู้เรียน และสอดคล้องกับ ปรัชญา เวสารัชช์ (2545) ได้ใหแ้ นวคิดวา่ การจดั การศึกษามีความสาคัญและจาเป็น เพราะตอ้ งการคนท่ีไดร้ ับการฝึกฝนเฉพาะด้านท่ี มีความรู้ ความเข้าใจ ความชานาญมาดูแลรับผิดชอบ การจัดการศึกษาจาเป็นต้องได้รับการปรับเปล่ียนพัฒนา อยา่ งต่อเนอ่ื ง เพื่อใหเ้ หมาะสมกบั ความจาเป็นของแตล่ ะยุคสมยั การจดั การศึกษาทย่ี ่าอยู่กบั ท่ี ย่อมหมายถึงความ ลา้ สมัย ไม่เหมาะสม ไมค่ มุ้ ประโยชน์ปจั จุบนั โลกกา้ วเข้าสสู่ ังคมแหง่ การเรียนรู้ 2. ผลของการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วย เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เร่ืองพุทธประวัติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนหนองอิเฒ่าวิทยา ปีการศึกษา 2564 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และวัด ประเมินผลจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน ใบ กิจกรรมที่1 - 3 และแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ ผู้เรียนมีทักษะการลาดับเหตุการณ์สาคัญมีความรู้ ความเข้าใจ และมีเจตคติท่ีดี ตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรเู้ รือ่ งพทุ ธประวตั ิ เพิ่มข้ึนอยู่ในระดับทด่ี ีมาก คดิ เป็นรอ้ ย ละ 90 สอดคล้องกบั อจั ศรา ประเสรฐิ สิน (2560) ได้กลา่ วววา่ นวตั กรรมทางการศกึ ษาคอื การสรา้ งส่อื ใหมท่ ่ี ช่วยให้นักเรียนได้รับความรู้ความเข้าใจในบทเรียนได้ง่าย เห็นได้จริงในการใช้ในชวี ติ ประจาวันเพ่ือให้ได้ประโยชน์ ในการเรียนสูงสุด สอดคล้องกับ กนกวรรณ คันธากร, กัลยารัตน์ เศวตนันทน์ (2552) เรื่อง การพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยใช้ภาระงานเป็นฐาน เพ่ือพัฒนาทักษะการฟัง-พูด ในรายวิชา ภาษาองั กฤษ 2 พบว่า ความสามารถในการฟัง-พูดภาษาองั กฤษของผู้เรียนสูงขนึ้ หลงั การใช้นวตั กรรม การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยใช้ภาระงานเป็นฐาน และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ชาติเชื้อ สุวรรณ มุสิก (2558) เรื่อง นวัตกรรมการเรียนการสอนภาคทฤษฎี แบบนาความสุข มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สร้างและหา ประสทิ ธภิ าพนวตั กรรมการเรียนการสอนภาคทฤษฎแี บบนาสรา้ งความสุขให้มีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ทก่ี าหนด 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง ได้รับการเรียนการสอนโดยใช้นวัตกรรมการเรียนการสอน ภาคทฤษฎี แบบนาสร้างความสุข 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการเรียนการสอนภาคทฤษฎี แบบนาสรา้ ง ความสขุ 4) ศึกษาความคงทนในการเรียนร้หู ลงั จากได้รับการเรยี นการสอนโดยใชน้ วตั กรรมการเรียนการสอน ภาคทฤษฎี แบบนาสรา้ งความสุข และผลการใชน้ วตั กรรม พบวา่ ผลสมั ฤทธหิ์ ลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน นกั ศึกษามี ความพึงพอใจตอ่ นวัตกรรม และยังมีความคงทนต่อการเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะ การวิจัยเร่ือง การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่าน Timeline ดว้ ยเทคโนโลยีคิวอารโ์ คด้ (QR Code) เรอ่ื งพทุ ธประวัติ สาหรับนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที5่ โรงเรียน หนองอเิ ฒ่าวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2564 ผวู้ จิ ัยมขี ้อเสนอแนะในดา้ นต่างๆดังน้ี 1. ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคร้งั น้ี 1.1 ประสิทธิภาพของการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่าย ผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับนวัตกรรมที่นามาใช้หรือ
-48- แผนการจัดการเรียนรู้เพียงอย่างเดียว หากแต่ข้ึนอยู่กับผู้สอนด้วย ดังนั้นครูผู้สอนจะต้องเข้าใจเน้ือหาและวิธีการ ใช่สอ่ื ประกอบการสอนเป็นอย่างดี ซึง่ สามารถทาไดโ้ ดย ครูผ้สู อนจะตอ้ งศึกษาค่มู ือครูใหเ้ ข้าใจ และสามารถปฏิบัติ ตามข้ันตอนต่างๆตามแผนการจดั การเรียนรูท้ ่ีจัดเตรยี มไว้ 2. ข้อเสนอแนะเพ่ือการวจิ ยั ครง้ั ต่อไป 2.1 ควรศกึ ษากระบวนการและเทคนิคการสอน รูปแบบตา่ งๆ หรอื นานวัตกรรมทเ่ี หมาะสมมาใช้ เพอ่ื พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรู้ในเร่อื งอื่นๆต่อไป
-49- บรรณำนุกรม กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2546) พระรำชบัญญัติกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ องค์การรับสง่ สนิ คา้ และพัสดุภณั ฑ์ กนกวรรณ คันธากร, กลั ยารตั น์ เศวตนนั ทน์. (2552) กำรจัดกำรเรียนรูแ้ บบเนน้ งำนปฏบิ ัตเิ พื่อเสรมิ สร้ำง ทกั ษะกำรพูดภำษำอังกฤษสำหรบั นกั ศึกษำช้ันปที ่ี1. วิทยานิพนธ์ : มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. กดิ านันท์ มลทิ อง. (2543) เทคโนโลยกี ำรศึกษำและนวัตกรรม. กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พแ์ ห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กีรติ ยศยิ่งยง. (2552) องคก์ รแห่งนวัตกรรม: แนวคิดและกระบวนกำร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. เกริก ท่วมกลาง และ จนิ ตนา ท่วมกลาง. (2555) กำรพัฒนำสือ่ นวัตกรรมทำงกำรศึกษำ. กรงุ เทพมหานคร: เยลโลก่ ารพิมพ์ ขตั ตยิ า กนกภากร. (2551) กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้กลุ่มสำระภำษำไทยอยำ่ งมคี ณุ ภำพของโรงเรียนวชริ ม กฏุ . วิทยานิพนธ์ : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา/กรุงเทพฯ. ชัยวัฒน์ สุทธริ ัตน.์ (2552) 80 นวตั กรรมกำรจดั กำรเรียนร้ทู ี่เน้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั . กรุงเทพฯ: บรษิ ัทแดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปปอเรช่ัน. ชว่ งโชติ พนั ธุเวช. (2555) กำรพฒั นำรูปแบบกำรบริหำรกระบวนกำรจัดกำรสถำนศกึ ษำอยำ่ งมีคุณภำพตำม แนวคิดเกณฑ์รำงวลั คณุ ภำพแห่งชำติ ฉบบั ควำมเปน็ เลิศทำงกำรศกึ ษำ. มหาวิทยาลยั ราชภัฏ สวนสุนันทา:กรุงเทพฯ. นภดล เหลอื งภิรมย์. (2550) กำรจดั กำรนวตั กรรม : กำรพฒั นำตวั แบบควำมสำมำรถ ในกำรสร้ำงสรรค์ นวัตกรรมของนักวจิ ัย. วิทยานิพนธ์ : มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง/กรุงเทพฯ. บญุ ชม ศรสี ะอาด. กำรวจิ ัยเบ้อื งตน้ . พิมพ์ครัง้ ท่ี 9. กรุงเทพฯ : สวุ ีริยาสาส์น, 2556. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์. (2553) คู่มอื กำรจดั ระบบกำรเรียนกำรสอนทย่ี ดึ ผเู้ รยี นเปน็ ศนู ย์กลำงกำรเรยี นร้.ู พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์เทียนวฒั นาพรนิ้ ทต์ ้ิง. มารตุ พัฒผล. (2557) กำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่เสริมสรำ้ งกำรรูค้ ิดและควำมสขุ ในกำรเรยี นรู.้ พิมพ์คร้งั ท2่ี . กรงุ เทพฯ: จรัลสนิทวงศก์ ารพิมพ์. ทิศนา แขมมณ.ี (2542) กำรจดั กำรเรียนกำรสอนโดยยึดผูเ้ รียนเปน็ ศูนย์กลำง. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ ทองคณู หงส์พนั ธุ์. (2542) หลักบัญญตั ิ 20 ประกำรของกำรสอน. กรุงเทพฯ : แสงสวา่ งการพิมพ์. ปรัชญา เวสารชั ช.์ (2545) หลักกำรจดั กำรศกึ ษำ. กรุงเทพฯ: สานักงานปฏริ ปู การศกึ ษา. พิมพนั ธ์ เดชะคุปต.์ (2551) ทักษะ 5C เพื่อกำรพัฒนำหน่วยกำรเรียนรแู้ ละกำรจดั กำรเรียนกำรสอนแบบ บรู ณำกำร. พิมพค์ รง้ั ท่ี 6. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. พิมพิดา โยธาสมทรุ. (2553) ปัญหำกำรศึกษำของเด็กไทย. สานกั ขา่ วแหง่ ชาติ กรมประชาสมพนั ธ์. ภัทรวรรณ วนั ทนชยั สุข. (2546) ควำมรู้เก่ียวกับพระพุทธเจ้ำ. กรงุ เทพมหานคร : ภมู ิปัญญา. วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542) กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลำง. กรงุ เทพฯ: ตน้ อ้อ.
-50- วชิ ัย ประสิทธิ์วุฒเิ วชช.์ (2542) กำรพัฒนำหลกั สตู รสำนต่อที่ท้องถ่นิ . กรงุ เทพฯ: ศูนยเ์ สรมิ ปัญญาไทย. วรี ะ พลอยครบร.ี (2545) “ประเด็นกำรปฏิรปู กำรเรยี นรู้,” ในปฏิรปู การศึกษา แนวคดิ และหลักการตาม พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: วิญญูชน. วีระชยั ศรีวงษร์ ัตน์. (2559) แนวทำงกำรพฒั นำสมรรถนะครดู ำ้ นกำรจดั กำรเรยี นรใู้ นสถำนศึกษำสังกดั สำนกั งำนเขตพื้นท่กี ำรศึกษำประถมศกึ ษำอุดรธำนี เขต1. วทิ ยานพิ นธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. วรนษิ ฐา เลขนอก. (2560) โปรแกรมกำรพฒั นำครูดำ้ นกำรจัดกำรเรยี นรู้ สำหรบั สถำนศึกษำสังกดั สำนักงำนกำรศึกษำประถมศึกษำนครรำชสมี ำ เขต 6. วทิ ยานิพนธ์การศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุรางค์ โคว้ ตระกูล. (2552) จิตวิทยำกำรศกึ ษำ. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. สวุ ทิ ย์ มลู คา. (2547) กลยุทธ์กำรสอนอย่ำงมีวจิ ำรณญำณ. พิมพ์คร้งั ท2ี่ . กรงุ เทพฯ: ภาพพิมพ์. สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (2552) รำยงำนกำรวจิ ัยนำร่องหลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำขั้น พืน้ ฐำน พุทธศกั รำช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. สาลี รักสุทธี และคณะ. (2544) เทคนิควิธกี ำรจัดกำรเรยี นกำรสอนและเขียนแผนกำรสอนโดยยดึ ผเู้ รียนเป็น สำคญั . กรุงเทพฯ : เอ็น.ท.ี พี. เพรส., 2544. ไสว ฟักขาว. (2544) หลกั กำรสอนสำหรบั เป็นครูมืออำชีพ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์. สาเนยี ง เลื่อมใส. (2558) พระพทุ ธศำสนำ. นนทบุรี :เอมพนั ธ์ สาราญ จูชว่ ย และคณะ. (2553) รำยงำนกำรวิจัยเรอ่ื งควำมพึงพอใจของนกั ศึกษำวทิ ยำลัยรำชพฤกษท์ ี่มี ตอ่ กำรสอนวิชำภำษำจนี ของ ครอู ำสำชำวจนี ระดบั อดุ มศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2552. นนทบุรี : วิทยาลยั ราชพฤกษ์. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน. (2553) แนวทำงกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลกั สตู รแกนกลำง กำรศึกษำขัน้ พืน้ ฐำน พทุ ธศักรำช 2551. กรงุ เทพฯ: ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สมพงษ์ ดีสูงเนิน. (2546) สอ่ื กำรสอนกำรใช้เทคโนโลยีกำรศกึ ษำ. มหาสารคาม. เสาวลักษณ์ รตั นวิชช.์ (2551) หลกั กำรและกระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนท่ไี ด้ผล. เอกสารประกอบการ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นาอาจารย์ดา้ นการจัดการเรียนการสอนประจาปี 2551. ชลบุร:ี มหาวทิ ยาลยั บูรพา. อจั ศรา ประเสริฐสิน. (2560) กำรศึกษำแนวทำงกำรจดั กำรนวัตกรรมทำงกำรศึกษำไปใชใ้ นกำรพฒั นำกำร เรยี นกำรสอนและกำรทำวิจัย. วารสารบรรณศาสตร์ มศว. อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2546) หลักกำรสอน. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์.
-51- Bandura, A. (1969) Principles of behavior modification. New York: Holt, Rinehart & Winston. Foster,W.P. (2013) The decline of the local a challenge to education leadership. Education Administration Quarterly. Good, C.V. (1974) Dictionary of Education. New York: McGraw-hill Book. Hills, P.J. A. (1982) Dictionary of Education. London: Routledge & Kegan Payi. Hough, John B. and K. Duncan Jame’s. (1997) Teaching Description and Analysis. Indiana: Addison-Westlu, 1970. Maslow, Abraham Harold. (1970) Motivation and Personality. 2nd ed. New York: Harper. Moore, R. C. (1992) “A Formal Theory of Knowledge and Action,” In Readings in Planning. San Mateo, CA: Morgan Kaufmann. Richey, R. (1986) The Theoretical and Conceptual Bases of Instructional Design. Lodon : Kogan Page. Saylor, A. and A.J. Lewis. (1981) Curriculum Planning for The Better Teaching and Learning. New York: Holt Rinehart and Winston.
-52-
Search