PA ๑/ส แบบขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน Performance Agreement (PA) สาหรับขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระหว่างวนั ที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ท่ี 30 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2565 ผจู้ ัดทาข้อตกลง ชือ่ นายณัฐวฒุ ิ นามสกลุ ใจแนน่ ตาแหนง่ ครู สถานศกึ ษา โรงเรยี นหนองอเิ ฒ่าวทิ ยา สังกดั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษากาฬสนิ ธ์ุเขต2 รบั เงนิ เดือนในอันดบั คศ. 1 อตั ราเงินเดือน 21,540 บาท ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบไุ ด้มากกวา่ 1 ประเภทหอ้ งเรยี น ตามสภาพการจดั การเรียนร้จู รงิ ) ห้องเรียนวชิ าสามัญหรอื วิชาพื้นฐาน หอ้ งเรยี นปฐมวยั หอ้ งเรยี นการศึกษาพิเศษ ห้องเรยี นสายวิชาชพี หอ้ งเรยี นการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศยั ข้าพเจา้ ขอแสดงเจตจานงในการจดั ทาข้อตกลงในการพัฒนางานตาแห่งคร(ู ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซงึ่ เป็น ตาแหน่ง ทด่ี ารงอยู่ในปัจจุบนั กับผู้อานวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปน้ี สว่ นที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหน่ง 1. ภาระงาน จะมภี าระงานเปน็ ไปตามทกี่ .ค.ศ. กาหนด 1.1 ชว่ั โมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 26 ช่วั โมง/สัปดาหด์ ังนี้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้/รายวิชาภาษาไทย จานวน 5 ชว่ั โมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ รายวชิ าคณติ ศาสตร์ จานวน 5 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้/ู รายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้/ู รายวิชาสงั คศึกษา จานวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ จานวน 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้/รายวิชาสุขศกึ ษาและพลศึกษา จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ รายวชิ าศิลปะ จานวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้/รายวิชาการงานอาชีพ จานวน 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์ กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ จานวน 5 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ รายวชิ าภาษาองั กฤษ(เพิ่มเตมิ ) จานวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น รวมจานวน 7 ชวั่ โมง/สัปดาห์ รายวชิ า แนะแนว ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่๕ จานวน ๕ ชัว่ โมง/สัปดาห์ รายวิชา ลูกเสอื -เนตรนารี ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี๕ จานวน ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ รายวชิ า ชมุ นุมดนตรพี ้นื บา้ น ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ จานวน ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์
1.3 งานสง่ เสริมและสนับสนุนการจัดการเรยี นรู้ จานวน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห์ 1.4 งานพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จานวน 5 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ 1.5 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ จานวน 5 ช่วั โมง/สัปดาห์ 2. งานทจี่ ะปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานตาแหน่งครู (ใหร้ ะบุรายละเอียดของงานทีจ่ ะปฏบิ ตั ิในแตล่ ะ ด้านวา่ จะดาเนนิ การอยา่ งไร โดยอาจระบุระยะเวลาท่ีใชใ้ นการดาเนนิ การด้วยกไ็ ด้) งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชวี้ ดั (Indicators) ทจี่ ะดาเนินการพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกิดขึ้นกบั ผู้เรียน ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกดิ ขน้ึ ทแี่ สดงให้เหน็ ถึงการ ตามมาตรฐานตาแหนง่ การประเมนิ กับผูเ้ รียน เปลีย่ นแปลงไปในทาง (โปรดระบุ) (โปรดระบ)ุ ท่ดี ีข้นึ หรอื มีการพัฒนา มากข้ึนหรือผลสัมฤทธิ์ สงู ขนึ้ (โปรดระบ)ุ 1. ด้านการจดั การเรยี นรู้ 1. สรา้ งและพัฒนาสอ่ื 1. นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษา 1. นักเรยี นช้ันประถมศึกษา ลกั ษณะงานทเี่ สนอให้ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ปีท5่ี มผี ลสัมฤทธท์ิ างการ ปที 5ี่ รอ้ ยล80 มผี ลสมั ฤทธ์ิ ครอบคลุมถึงการสรา้ งและหรือ รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา เรยี นรายวิชาสงั คมศึกษา ทางการเรยี นตามตวั ชว้ี ัดที่ต้อง พฒั นาหลักสตู ร การออกแบบ และวฒั นธรรม สาระที่1 ศาสนา และวัฒนธรรม สาระท่ี รู้และควรรู้ ผ่านเกณฑก์ าร การจัดการเรยี นรู้ การจัดกิจกรรม ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ประเมนิ การเรยี นรู้ การสรา้ งและหรือ เรอื่ งพุทธประวตั ิ คือ เร่อื งพุทธประวัติ เปน็ ไปตาม 2. นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษา พัฒนาสือ่ นวตั กรรม เทคโนโลยี นวตั กรรมการสอนพุทธ ตัวชี้วดั ทต่ี ้องรู้และควรรู้ ปีที่5 ร้อยล80 มคี วามช่นื ชอบ และแหล่งเรียนรู้ การวดั และ ประวัติแสนงา่ ยผ่าน 2. นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษา รปู แบบการจัดกิจกรรมการ ประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ Timeline ดว้ ยเทคโนโลยี ปีที่5 ไดเ้ กิดการเรียนรผู้ ่านส่ือ เรยี นรูข้ องครทู ่ใี ช้สอื่ นวตั กรรม การศกึ ษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ คิวอาร์โค้ด (QR Code) นวัตกรรม ท่ีครูสรา้ งข้ึน คือ การสอนพุทธประวตั ิแสนงา่ ย เพอ่ื แก้ปัญหาหรือพฒั นาการ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี5 นวตั กรรมการสอนพทุ ธประวตั ิ ผ่านTimeline ดว้ ยเทคโนโลยี เรียนรู้ การจดั บรรยากาศท่ี แสนง่ายผา่ นTimeline ดว้ ย ควิ อาร์โคด้ (QR Code) ส่งเสรมิ และพัฒนาผู้เรียนและ เทคโนโลยีควิ อาร์โค้ด (QR 3. นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษา การอบรมและพฒั นา Code) ปที 5ี่ ร้อยล80 เกิดทักษะการ คุณลักษณะทีด่ ีของผูเ้ รยี น 3. นกั เรียนช้นั ประถมศึกษา เรยี นรู้ ทักษะการคดิ ทกั ษะ ปีท่ี5 เกิดทักษะการเรยี นรู้ การแก้ปัญหา และทสี่ าคัญคือ ทักษะการคิด ทกั ษะการ ทักษะการใช้เทคโนโลยี แก้ปัญหา และท่ีสาคัญคือ ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี
งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวช้วี ัด (Indicators) ที่จะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทจี่ ะเกิดขึ้นกบั ผู้เรยี น ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทคี่ าดหวังใหเ้ กดิ ขนึ้ ทแี่ สดงให้เหน็ ถึงการ ตามมาตรฐานตาแหนง่ การประเมิน กบั ผู้เรียน เปล่ียนแปลงไปในทาง (โปรดระบุ) (โปรดระบ)ุ ท่ีดขี น้ึ หรอื มีการพฒั นา มากข้นึ หรือผลสัมฤทธิ์ สงู ขึน้ (โปรดระบ)ุ 2. ดา้ นการสง่ เสริมและ 1. การจดั ทาข้อมูล 1. นกั เรียนมขี ้อมลู 1. นักเรียนร้อยละ100 มี สนับสนุนการจดั การเรียนรู้ สารสนเทศของผ้เู รียนและ สารสนเทศทางการเรียนใน การนาข้อมูลที่จดั เก็บเปน็ ลกั ษณะงานท่เี สนอให้ รายวิชาทสี่ อนผา่ น รายวชิ าตา่ งๆทีถ่ ูกต้องเปน็ ระบบมาใชใ้ นการวางแผน ครอบคลุมถงึ การจดั ทาขอ้ มลู โปรแกรม School MIS ระบบ สามารถนาข้อมูลมา จดั การเรียนรู้ได้ในอนาคต สารสนเทศของผู้เรียนและ และแบบบนั ทึก ป.พ.5 ใชไ้ ดท้ ันที 2. นกั เรยี นร้อยละ80 ได้รับ รายวิชาการดาเนินการตามระบบ 2. รายงานกจิ กรรมการ 2. นกั เรยี นไดร้ ับการ การช่วยเหลอื ติดตามถึงปญั หา ดแู ลช่วยเหลือผเู้ รยี น การ จัดการเรียนรู้ และตดิ ตาม ชว่ ยเหลือในเร่อื งต่างๆ จาก ตา่ งๆได้ อยา่ งรวดเร็ว ทันใจ ปฏิบัตงิ านวชิ าการและงานอื่น ๆ นกั เรยี นตามระบบดแู ล การจัดเก็บขอ้ มลู อย่างเป็น 3. นกั เรียนรอ้ ยละ100 ของสถานศกึ ษา และการ ชว่ ยเหลอื นกั เรียน เพ่อื ระบบ สามารถช่วยเหลือ ได้รบั ประโยชนจ์ ากการ ประสานความรว่ มมือกับ ชว่ ยเหลอื นักเรียยนในช่วง นกั เรียนได้อยา่ งทันทว่ งที เช่น ปฏิบัตงิ านตา่ งๆ ในการพฒั นา ผปู้ กครอง ภาคีเครือข่าย และ สถานการณ์การแพร่ระบาด ทนุ การศึกษา ความขาดแคลน การศึกษาของโรงเรียนอยา่ ง หรือสถานประกอบการ ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ด้านอปุ กรณก์ ารเรียน อาหาร เปน็ ระบบ และตรวจสอบได้ 2019 ด้วยเทคนิควธิ ีการ กลางวนั เปน็ ตน้ 4. นักเรียนและผปู้ กครอง “เย่ยี มได้ใกล้ชิด” 3. โรงเรยี นมีการจัดทาข้อมูล รอ้ ยละ100 สามารถ 3.การจัดทาข้อมูล ด้านงานวชิ าการ และงานอื่นๆ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ผ่านชอ่ ง สารสนเทศตา่ งๆ ของ ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย อย่าง ทางการส่ือสารต่างๆ เชน่ โรงเรียน ในฐานะหวั หน้า เปน็ ระบบ ตรวจสอบได้ อนั จะ โทรศพั ท์ Line, Face book กล่มุ งานวิชาการ และงาน เป็นประโยชนต์ อ่ นักเรียน และ และชอ่ งทางอื่นๆได้ตลอดเวลา พิเศษอ่นื ๆที่ได้รับ องค์กร มอบหมายอยา่ งเต็มท่ี 4. นกั เรียน และผู้ปกครอง 4.การติดตามการจัดการ สามารถติดต่อประสานงานครู เรยี นการสอนในชว่ ง ประจาช้นั ไดท้ ันทว่ งที โดย สถานการณ์การแพรร่ ะบาด เหมาะสมกบั ฐานะครอบครัว โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา แตล่ ะครอบครัว ซึง่ สามารถ 2019 ผา่ นแอปพลเิ คช่นั เลือกชอ่ งทางการสอ่ื สารกับครู Line และFace book โดย ประจาชน้ั ได้หลายช่องทางที่ ประสานความร่วมมือกับ เหมาะสมกับสถานการณ์ ผปู้ กครอง ติดตามการ เรียนรขู้ องนักเรียนทกุ วนั ผ่านทางโทรศพั ท์ Line Face book และอืน่ ๆ
ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชวี้ ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตาแหนง่ ทีจ่ ะดาเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดขึน้ กบั ผู้เรียน ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทคี่ าดหวังใหเ้ กดิ ข้นึ ที่แสดงใหเ้ ห็นถึงการ 3. ดา้ นการพัฒนาตนเองและ เปลยี่ นแปลงไปในทาง วชิ าชพี การประเมิน กับผูเ้ รียน ท่ีดีข้นึ หรือมีการพฒั นา (โปรดระบุ) (โปรดระบุ) มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธิ์ ลกั ษณะงานทเี่ สนอให้ ครอบคลุมถงึ การพฒั นาตนเอง 1. พัฒนาตนเองโดยการ 1. นักเรยี นได้รับการ สงู ขน้ึ (โปรดระบ)ุ อยา่ งเป็นระบบ และต่อเน่ือง การ เขา้ รว่ มการอบรม และเป็น ถ่ายทอดการจัดกจิ กรรมการ มีส่วนร่วมในการแลกเปลีย่ น วิทยากรในการอบรมหัวข้อ เรียนรู้ ดว้ ยวธิ กี ารท่ี 1. นกั เรียนร้อยละ80 ไดร้ ับ เรียนรูท้ างวชิ าชพี เพอ่ื พัฒนาการ ตา่ งๆ ทเ่ี ป็นประโยชน์ หลากหลาย เหมาะสมกับ การถ่ายทอดการจัดกจิ กรรม จดั การเรยี นรูแ้ ละการนาความรู้ สามารถมาปรับใชใ้ น นกั เรียนแต่ละคน และ การเรียนรู้ ดว้ ยวธิ ีการท่ี ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ เหมาะสมกบั สถานการณ์การ หลากหลาย เหมาะสมกับ พฒั นาตนเอง และวชิ าชพี มาใช้ใน สาหรบั นกั เรียน เช่นหัวข้อ จดั การเรียนร้ใู นแตล่ ะช่วง นกั เรียนแตล่ ะคน และ การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ การ การอบรมเกี่ยวกับรปู แบบ 2. นักเรียนไดร้ ับการแก้ไข เหมาะสมกบั สถานการณ์การ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น และการ การจดั การเรยี นรู้ใน ปัญหาจากการจดั กิจกรรมการ จดั การเรียนรูใ้ นแตล่ ะช่วง พัฒนานวัตกรรมการจดั การ สถานการณ์การแพร่ระบาด เรยี นรอู้ ย่างถูกต้อง เป็นระบบ 1. นกั เรยี นร้อยละ80 มี เรยี นรู้ ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา เหมาะสมกบั นักบเรียนและนา ความสขุ ในการเรยี น และมี 2019 หรือรูปแบบการ ขอ้ มลู ต่างๆเป็นข้อสารสนเทศ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทีส่ ูงขึ้น จดั การเรยี นรใู้ น เพื่อแก้ปญั หาด้วย สถานการณ์ปกติ กระบวนการวจิ ยั ต่อไป 2. ขยายผลองค์ความรู้ท่ี ไดร้ ับจากการศึกษาหรือ อบรมตา่ งๆ ผ่านกจิ กรรม PLC เพื่อถา่ ยทอดผลการ อบรมแก่เพื่อนครภู ายใน โรงเรียน และภายนอก โรงเรียน หมายเหตุ 1. รูปแบบการจดั ทาข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการ จดั การเรยี นรขู้ องแต่ละสถานศกึ ษา โดยความเหน็ ชอบร่วมกันระหวา่ งผูอ้ านวยการสถานศึกษา และขา้ ราชการ ครูผู้จัดทาข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ทเี่ สนอเป็นข้อตกลงในการพฒั นางานต้องเปน็ งานในหนา้ ที่ความรับผิดชอบหลกั ท่ี ส่งผลโดยตรงตอ่ ผลลพั ธ์การเรียนรขู้ องผู้เรียน และให้นาเสนอรายวิชาหลกั ทท่ี าการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชาหลกั ท่ีทาการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีทสี่ อนหลายรายวชิ า สามารถเลือกรายวิชาใดวชิ าหน่ึงได้
โดยจะตอ้ งแสดงให้เห็นถงึ การปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานตาแหนง่ และคณะกรรมการประเมินผลการพฒั นางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2 3. การพฒั นางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสาคัญกบั ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ ของผเู้ รยี น (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมนิ ของคณะกรรมการประเมินผลการ พัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดาเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพ การจดั การเรียนรู้ในบริบทของแตล่ ะสถานศึกษา และผลลัพธก์ ารเรยี นรูข้ องผูเ้ รียนท่ีเกดิ จากการพัฒนางาน ตามข้อตกลงเป็นสาคญั โดยไมเ่ นน้ การประเมนิ จากเอกสาร ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานทเี่ ป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ของผู้เรียน ประเดน็ ท่ที ้าทายในการพฒั นาผลลัพธก์ ารเรียนรู้ของผ้เู รียนของผจู้ ัดทาข้อตกลง ซ่งึ ปัจจุบนั ดารงตาแหนง่ ครู (ยังไม่มวี ทิ ยฐานะ) ต้องแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ระดับการปฏบิ ตั ทิ คี่ าดหวัง คือ การปรับประยุกต์ การ จัดการเรยี นรู้และการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้ของผู้เรียน ให้เกดิ การเปล่ียนแปลงไปในทางทด่ี ขี ้ึนหรือมกี าร พัฒนามากขนึ้ (ทัง้ นป้ี ระเด็นท้าทายอาจจะแสดงใหเ้ ห็นถงึ ระดบั การปฏิบตั ิทีค่ าดหวงั ทสี่ ูงกว่าได)้ ประเด็นทา้ ทาย : สรา้ ง และพฒั นาส่ือนวัตกรรมการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา และ วฒั นธรรม สาระท่ี1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม เรอ่ื งพทุ ธประวัติ คอื นวตั กรรมการสอนพุทธประวตั ิแสนงา่ ย ผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยคี ิวอารโ์ คด้ (QR Code) ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนหนองอิเฒ่าวทิ ยา 1. สภาพปญั หาของผูเ้ รยี นและการจัดการเรยี นรู้ พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติไทย เป็นสถาบันหลักของสังคมไทยที่มีส่วนช่วยให้ สังคมไทยมคี วามสันติสุข ช่วยสร้างเสรมิ คณุ ธรรมและจริยธรรม ตลอดจนเปน็ รากฐานสาคัญของวฒั นธรรมไทย ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ใน มาตรา 27 วรรคแรก ทก่ี าหนดให้มกี ารจดั ทาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานเพื่อความเป็นไทย ความ เป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพตลอดจนเพ่ือการศึกษาต่อ การบรรจุหลักสูตร พระพุทธศาสนาให้เด็กได้เรียนรู้ โดยเนื้อหาจะเรียงกันเป็นระบบจากง่ายไปหายาก มั่นใจจะปลูกฝังให้เด็กมี หลักในการตัดสินใจในทุกเรอื่ ง ฝกึ ใหเ้ ดก็ เรียนรูก้ ารเป็นผ้ใู หญ(สาเนียง เลือ่ มใส, 2558) ดงั น้ันการศกึ ษาพุทธประวตั ใิ นแต่ละตอนแต่ละเหตุการณ์ของพระพุทธเจ้า จะทาให้เกิดความ เข้าใจหรือความศรัทธาในพระพุทธศาสนามากย่ิงข้ึน และทาให้เห็นแบบอยา่ งทดี่ ีซ่ึงสามารถนาไปเป็นแนวทาง ในการประพฤติปฏิบัติให้เกิดความสุขในการดาเนินชีวิตได้ (ภัทรวรรณ วันทนชัยสุข, 2559) แต่ในปัจจุบัน พุทธศาสนิกชนรวมไปถึงนักเรียนในปัจจุบันกลับไม่ให้ความสาคัญหรือไม่ใส่ใจใน การศึกษาเรียนรู้ถึงประวัติ ความเป็นมาของศาสนาพุทธเท่าที่ควร ขาดการศึกษาธรรมทางพุทธศาสนาให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ทา ให้ไม่สามารถระบุเหตการณ์ หรือเรียงลาดับเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในอดีตได้ จนกลายเป็นปัญหาเร้ือรังของ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนพทุ ธประวตั ทิ ี่มคี วามน่าเบื่อในเน้ือหา และมีความเข้าใจท่ยี าก (พิมพิดา โยธาสมุทร, 2553) ทั้งนี้ปัญหาดังกล่าวท่ีทาให้พุทธศาสนิกชนรวมไปถึงนักเรียนไม่ให้ ความสาคัญหรือไม่ใส่ใจในการศึกษาเรียนรู้เป็นผลมาจากเนื้อหาท่ีเก่ียวกับพุทธประวัติในหนังสือ แบบเรียน เป็นเชิงพรรณา มีเนื้อหาที่ค่อนข้างยาวส่งผลให้ยากต่อการท่องจา และไม่มีความทันสมัยท่ีสอดคล้องกับความ ต้องการของนักเรียนในยุคปัจจุบัน (สมพงษ์ ดีสูงเนิน, 2546) หรือนักเรียนในระดับชั้นเล็กๆที่ยังมีทักษะใน การอ่านยังไม่คล่อง ครูผู้สอนจึงพยายามคิดค้นหานวัตกรรมท่ีมีความเหมาะสม และแก้ปัญหาในการจัดการ เรียนการสอนให้ตรงจุด เพ่ือพัฬนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน และคุณภาพในกระบวนการจัดการ เรยี นการสอนใหส้ งู ข้นึ
จากที่กล่าวมาในข้างต้น ผู้จัดทาเห็นความสาคัญของการศึกษาพุทธประวัติ ผู้จัดทาจึงได้ คิดค้นหาวิธีการแก้ปัญหา และได้จัดทานวัตกรรมการสอน“พุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline” ด้วย เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) ข้ึนซ่ึงเป็นนวัตกรรมที่จะช่วยสรุปเน้ือหาเก่ียวกับพุทธประวัติให้มีความ กระชับ เข้าใจง่าย และมีความทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียนในยุคปัจจุบันมากย่ิงข้ึน จะ ส่งผลให้ผู้เรียนและผู้ท่ีมีความสนใจเร่ืองพุทธประวัติหรือประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธ มีความเข้าใจใน เนอ้ื หาพทุ ธประวตั ิ และงา่ ยตอ่ การศกึ ษามากยิ่งขนึ้ 2. วธิ ีการดาเนนิ การให้บรรลผุ ล นวัตกรรมการสอนพุทธประวตั แิ สนงา่ ยผา่ นTimeline มกี ารดาเนนิ การแบง่ ออกเปน็ 2 ระยะ ดงั นี้ ระยะที่1 สร้าง และพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีคิวอาร์โคด้ (QR Code) ระยะที่2 นานวัตกรรมพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) มาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ระยะท่1ี สรา้ ง และพฒั นานวตั กรรมการจัดการเรียนการสอนพุทธประวตั แิ สนงา่ ยผา่ นTimeline 1. ศกึ ษาความเป็นมาและสภาพปัญหา ครูผู้สอนได้ดาเนินการศึกษาความเป็นมาและสภาพปัญหาของกระบวนการจัดการเรียนการ สอนในรายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยเฉพาะสาระท่ี1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เรื่องพุทธ ประวัติ พร้อมทาการศึกษาและวิเคราะห์ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล จนทาให้ทราบถึงความเป็นมาและสภาพปัญหา ทส่ี ง่ ผลใหค้ รูผสู้ อนได้คดิ คน้ นวัตกรรมเพอื่ ใช้ในการแกป้ ัญหา จนนามาสูก่ ารดาเนนิ การในครั้งนี้ 2. คิดค้นนวัตกรรม ครูผู้สอนได้ศึกษาเอกสาร ตารา เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรม เพื่อถอดบทเรียนในการนาองค์ ความรูใ้ นการสร้างสรรคน์ วัตกรรมมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนใหม้ ีความเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพปัญหาท่ีพบจึงนาไปสู่การคดิ ค้นนวัตกรรม “พุทธประวัตแิ สนงา่ ยผา่ นTimeline” ด้วย เทคโนโลยีคิวอารโ์ คด้ (QR Code) 3. การออกแบบนวตั กรรมและจัดทานวัตกรรม หลังจากครูผู้สอนได้ศึกษาความเป็นมาและสภาพปัญหา จนทาให้ทราบถึงต้นตอของปัญหา และได้ศึกษาเอกสาร ตารา เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรม เพื่อถอดบทเรียนในการนาองค์ความรู้ในการ สร้างสรรค์นวัตกรรมมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสม และ สอดคล้องกับสภาพปัญหาท่ีขึ้น จึงได้ออกแบบนวัตกรรม “พุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline” ด้วย เทคโนโลยีคิวอารโ์ ค้ด (QR Code) เมอื่ ออกแบบนวัตกรรมเรียบรอ้ ย ครูผูส้ อนจึงได้ลงมือจัดทานวตั กรรม“พุทธ ประวัติแสนง่ายผ่านTimeline” ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) ข้ึนจนสาเร็จพร้อมที่จะนาไปใช้กับ ผเู้ รียน
ระยะท2่ี นานวัตกรรมพุทธประวตั แิ สนงา่ ยผ่านTimelineมาใชใ้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอน 1. นานวัตกรรมไปทดลองใช้ เมื่อออกแบบและจดั ทานวัตกรรมเสร็จเรียบร้อย ครผู ู้สอนจึงนาเครอ่ื งมือ หรือนวตั กรรมท่ีได้ ไปทดลองใชก้ ับผูเ้ รยี น ในระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่4ี -6 เพ่ือวเิ คราะห์ถึงข้อดี-ข้อเสยี และสง่ิ ทีต่ ้องปรบั ปรงุ เม่อื นานวตั กรรมท่ีสรา้ งขน้ึ ไปใชจ้ รงิ หลงั จากทดลองใช้ครผู ู้สอนจงึ นาผลจากการทดลองใช้นวตั กรรมไป ปรบั ปรงุ แก้ไขใหด้ ีขึน้ ในลาดับต่อไป 2. ปรับปรุงแก้ไขหลังทดลองใช้นวตั กรรม ครูผ้สู อนนานวัตกรรมมาปรบั ปรงุ แก้ไขให้ดีขนึ้ หลังจากการทดลองใช้เพ่อื ใหม้ คี วามเหมาะสม กับบรบิ ทของผู้เรียนในปัจจุบันและเหมาะสภาพปญั หา 3. นานวตั กรรมไปสู่หอ้ งเรยี น นานวัตกรรมหลงั จากการปรับปรงุ แก้ไขไปใช้กบั กลุ่มเป้าหมาย คือนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท5ี่ พรอ้ มวิเคราะห์การใชน้ วตั กรรมของผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคลวา่ มคี วามสอดคลอ้ ง ตรงตามความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายมากน้อยเพียงใด 4. ประเมิน/สรุปผล หลังจากการนานวัตกรรมไปใช้จริงในกระบวนการจัดการเรียนการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระท่ี1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เร่ืองพุทธประวัติ ครูผู้สอนได้ดาเนินการวัดและ ประเมินผลเพ่ือเปรยี บเทียบระหว่างผลการทดสอบก่อนเรยี นหรือก่อนใช้นวตั กรรม และหลังเรยี นหรอื ภายหลัง การนานวัตกรรม“พุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline” ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) ไปใช้ใน กระบวนการจัดการเรียนการสอน ทาให้ทราบถึงข้อแต่งต่างและความเป็นไปได้ในการนานวัตกรรม“พุทธ ประวัติแสนง่ายผ่านTimeline” ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) มาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการ สอนเพือ่ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในรายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระท1ี่ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม เรือ่ งพุทธประวัติ ใหด้ ขี นึ้ และมีคณุ ภาพมากยิ่งขึน้ 5. รายงานผลการดาเนนิ การ หลังจากประเมินผลการใช้นวัตกรรมในกระบวนการจัดการเรียนการสอนเพ่ือหาคุณภาพของ นวัตกรรม ทาให้ทราบถึงข้อแตกต่างในการจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบเดิมคือผู้เรียนท่องจาประวัติ ความเป็นมาของศาสนาพุทธตามแบบเรียนซ่ึงมีเน้ือหาจานวนมาก และกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีใช้ นวตั กรรม“พุทธประวัตแิ สนง่ายผา่ นTimeline” ดว้ ยเทคโนโลยคี ิวอารโ์ ค้ด (QR Code) พร้อมขยายผลการนา นวัตกรรมไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม เร่ืองพุทธประวตั ิ ในระดับชั้นอ่ืนๆ และปรบั ใช้กบั รายวิชาอืน่ ๆตอ่ ไป
3. ผลลัพธ์การพัฒนาทคี่ าดหวัง 3.1 เชิงปรมิ าณ 1. นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที5่ ร้อยล80 มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามตัวชี้วัดท่ี ตอ้ งร้แู ละควรรู้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ 2. นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่5 ร้อยล80 มีความชนื่ ชอบรปู แบบการจดั กจิ กรรม การเรียนรขู้ องครูท่ีใช้สอ่ื นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนงา่ ยผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยคี ิวอารโ์ ค้ด (QR Code) 3. นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท5ี่ รอ้ ยล80 เกิดทกั ษะการเรียนรู้ ทกั ษะการคิด ทักษะการแกป้ ัญหา และทสี่ าคญั คือทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี 3.2 เชิงคณุ ภาพ ได้ สือ่ นวัตกรรมการจัดการเรยี นรเู้ พอ่ื รองรบั การจัดการเรียนรใู้ นสถานการการแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา2019 ในรูปแบบการจัดการเรียนรแู้ บบ Online, On Demand, On Hand รวมถึงรปู แบบ On site (เม่ือสถานการณ์ดีขึน้ ) ผา่ นแอพพลเิ คช่นั ต่างๆ และเทคโนโลยคี วิ อาร์โค้ด ในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระท1่ี ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม เรอื่ งพทุ ธประวัติ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท5่ี โรงเรยี นหนองอิเฒ่าวทิ ยา ที่มีคุณภาพ ลงชื่อ..................................................................... (นายณฐั วุฒิ ใจแนน่ ) ตาแหน่ง ครู ผ้จู ดั ทาขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน วันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ.2564 ความเห็นของผู้อานวยการสถานศกึ ษา ( ) เหน็ ชอบให้เปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เปน็ ข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมขี ้อเสนอแนะเพื่อนาไปแก้ไข และเสนอ เพอื่ พจิ ารณาอีกครัง้ ดงั น้ี ................................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................ .............................. ลงชือ่ ................................................................ (นายประสทิ ธ์ิ ภจู อมผา) ตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรียนหนองอเิ ฒา่ วิทยา วันท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: