Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อิทธิพลของอารยธรรมภายนอก ที่มีต่อผลท้องถิ่น

อิทธิพลของอารยธรรมภายนอก ที่มีต่อผลท้องถิ่น

Published by mintysiriwong245, 2020-01-27 09:10:19

Description: อิทธิพลของอารยธรรมภายนอกที่มีต่อผลท้องถิ่น

Search

Read the Text Version

อิทธิพลของอารยธรรมภายนอก ท่ีมตี ่อผลท้องถิ่น อารยธรรมอนิ เดยี อารยธรรมจนี อิทธิพลจากวัฒนธรรมอ่ืนๆ

ดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ตง้ั อยู่ระหว่าง อนิ เดยี และจนี ซง่ึ เป็นประเทศทม่ี สี นิ ค้าทเี่ป็นทต่ี ้องการและมอี ารย ธรรมความเจรญิ ก้าวหนา้ ทาใหไ้ ด้รบั วฒั นธรรมผสม ไทยไดร้ บั อารยธรรมอนิ เดยี ผา่ นทางเขมรและจากการตดิ ต่อค้าขาย โดยตรงกบั พอ่ ค้าอนิ เดยี ส่วนอารยธรรมจนี ได้รบั ผา่ นทางการ ทูตและการค้า

อทิ ธพิ ลของอารยธรรมอนิ เดยี ทม่ี ตี ่อท้องถน่ิ ด้านศาสนาและความเชอื่ ศาสนาพุทธในประเทศไทย พระพุทธศาสนาเขา้ มาสู่ดนิ แดนทเี่ป็น ประเทศไทยในปจั จุบนั เมอ่ื ประมาณ พ.ศ. 236 ในขณะนน้ั ประเทศไทยรวมอยู่ในดนิ แดนทเ่ีรยี กว่า สุวรรณภูมิ พระพุทธศาสนาเขา้ มาสู่สุวรรณภูมนิ า โดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอนิ เดยี

บายศรสี ู่ขวญั บายศรี เป็นของสูงเป็นสง่ิ ที่ มคี ่าของคนไทย ตง้ั แต่โบราณมาจนถงึ ปจั จุบนั นบั ตงั้ แต่ เกดิ จะจดั พธิ สี งั เวยและทาขวญั ในวาระต่าง ๆ ซงึ่ จะต้อง มบี ายศรเีป็นสง่ิ สาคญั ในพธิ นี น้ั ๆ ซงึ่ เป็นศาสนพธิ ขี อง พราหมณ์ในศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู

ตราครฑุ เป็นคตคิ วามเชอื่ เรอื่ งลทั ธเิ ทวราชาของฮนิ ดู ทไี่ทยได้รบั อทิ ธพิ ลผา่ น อาณาจกั รขอม ซงึ่ เชอ่ื ว่ากษตั รยิ ์เป็นสมมตเิทพ และเป็นปางอวตารของพระนารายณห์ รอื พระวษิ ณุ ซงึ่ มพี ญาครุฑเป็นพาหนะ ดงั นน้ั จงึ มกี ารใชค้ รฑุ เป็นพระราชลญั จกรประจา แผน่ ดนิ และต่อมากไ็ด้ใชเ้ ป็นเครอ่ื งหมายของราชการไทยด้วย

ด้านภาษา รบั ภาษาบาลี สนั สฤตจากอนิ เดยี มาใชท้ าใหไ้ ทยมภี าษาทม่ี คี าใน ภาษาบาลี สนั สฤต ผสมอยู่มากมาย เช่น ชอื่ ของคนในประเทศเหลา่ น้ี รบั วรรณคดอี นิ เดยี เช่น มหากาพย์รามายณะ ซงึ่ มอี ทิ ธพิ ลต่อวรรณคดขี อง ไทย เมยี นมาร์ กมั พูชา อนิ โดนเีซยี รวมถงึ วรรณคดที างพระพุทธศาสนา เช่น ชาดก

ด้านกฎหมาย กฎหมายเดมิ ของไทยทเ่ีรยี กกนั โดยทว่ั ไปว่า กฎหมายตราสามดวง ได้รบั อทิ ธพิ ลจากอนิ เดยี เช่นกนั (โดย ผา่ นทางมอญ)คอื คมั ภรี ์พระธรรมศาสตร์ ซง่ึ กลายเป็นหลกั ของกฎหมายของประเทศต่าง ๆ เช่น เมยี นมาร์ กมั พูชา ไทย

ด้านอาหาร อาหารอนิ เดยี จะ คลา้ ยคลงึ กบั อาหารไทย นยิ มใช้ เครอื่ งเทศเป็นส่วนประกอบ อาหาร อนิ เดยี ทเ่ีป็นทรี่ ู้จกั เช่น แกงกะหร่ี ขา้ ว หมกไก่

ด้านการแต่งกาย โจงกระเบนของไทย มลี กั ษณะคลา้ ย โดตี เครอ่ื งแต่งกายของอนิ เดยี ตอนใต้ เรารบั แบบอย่างมา จากอนิ เดยี แมแ้ ต่สไบทใ่ีชใ้ นชุดไทย กม็ สี ่วนคลา้ ย กบั ลกั ษณะชายผา้ ส่าหรขี องอนิ เดยี

ประเพณีและวัฒนธรรม สงกรานต์ เป็นประเพณขี องประเทศไทย ลาว กมั พูชา เมยี นมา ชนกลุม่ นอ้ ยชาว ไตแถบเวยี ดนามและมณฑลยูนาน ของจนี ศรลี งั กาและทาง ตะวนั ออกของประเทศอนิ เดยี สนั นษิ ฐานว่า สงกรานต์ได้รบั อทิ ธพิ ลมาจากเทศกาลโฮลี ใน อนิ เดยี แต่เทศกาลโฮลจี ะใชก้ าร สาดสแี ทน

ลอยกระทง สนั นษิ ฐานกนั ว่าได้รบั อทิ ธพิ ลมาจากพธิ ตี ามประทปี หรอื ทปี าวลขี อง อนิ เดยี ซงึ่ จะมกี ารลอยกระทงเพอื่ บูชาเทพเจา้ ทง้ั สามของศาสนาพราหมณ์ คอื พระพรหม พระอศิ วร และพระนารายณ์ ประเทศไทยได้รบั เอาคตคิ วามเชอื่ น้ี เขา้ มาปรบั กบั ความเชอ่ื ของ ทอ้ งถนิ่ เกดิ เป็นประเพณกี ารลอยกระทง เพอื่ ขอ ขมาลาโทษพระแมค่ งคา

การประนมมอื ไหว้ เป็นวฒั นธรรมทไี่ด้รบั มาจากอนิ เดยี เป็นการแสดงความเคารพของอนิ เดยี เรยี กว่า “อญั ชล”ี หรอื “ประนาม” เป็นคาสนั สกฤต ไทยรบั มาใชเ้ รยี กว่า “ประนม” คน อนิ เดยี เวลาไหวท้ กั ทายกนั จะพูดว่า “นมสั เต” หรอื “นมสั การ” คนไทยรบั คาว่านมสั การมาใชก้ บั พระสงฆ์

อิทธิพลอารยธรรมจีน ด้านศาสนาและความเช่ือ ด้านศาสนาและความเชอ่ื เป็นการ ผสมผสานกนั ระหว่างศาสนาและความเชอื่ ของไทยและ ของจนี เชน่ มกี ารบูชาบรรพบุรุษ การไหวพ้ ระจนั ทร์

ด้านภาษาและวรรณคดี ด้านภาษาและวรรณคดี ภาษาไทยบางคาทม่ี รี ากศพั ท์ มาจากภาษาจนี เช่น ก๋วยเตยี๋ ว เกา้ อ้ี ไต้ฝุ่น ตมิ่ ซา ส่วนวรรณคดมี กี ารแปล พงศาวดารจนี สมยั ต่างๆ เรอ่ื งทค่ี นไทยรู้จกั ดี เช่น สามก๊ก

ด้านการแต่งกาย ด้านการแต่งกาย จะได้รบั อทิ ธพิ ลการใชผ้ า้ มาจากจนี ทุกวนั นก้ี ารแต่งกายทไี่ด้รบั อทิ ธพิ ลจากจนี ท่ี พบเหน็ กนั โดยทว่ั ไปคอื การนุง่ ขาว–ห่มขาวไว้ทุกข์ เช่น พธิ กี งเตก็

ด้านอาหาร ด้านอาหาร เนอื่ งจากคนจนี รบั ประทานขา้ ว เป็นอาหารหลกั เหมอื นคนไทยและคนในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เช่น ก๋วยเตย๋ี ว ซาลาเปา และอาหาร จาพวกเสน้ ต่างๆโดยมวี ฒั นธรรมการกนิ ทใี่ช้ตะเกยี บ

อทิ ธิพลจากวัฒนธรรมอน่ื ๆ เพลงพน้ื บา้ นกนั ตรมึ เป็นการละเลน่ พน้ื บา้ น ทไี่ด้รบั ความนยิ มมาก ในเขตอสี านใต้ในพน้ื ทจี่ งั หวดั บุรรี มั ย์ ศรสี ะเกษ และสุรนิ ทร์ กนั ตรมึ เป็นการละเลน่ ทใี่ช้ ภาษาในการขบั ร้องเป็นภาษาเขมร การเลน่ แบบนไ้ีด้รบั การถ่ายทอดมาจากขอม

หนงั ตะลุงภาคใต้ ได้รบั อทิ ธพิ ลจากชวาและ มลายู ทปี่ รากฏอยู่ในเผา่ ชนชวาและมลายูโบราณซง่ึ เรยี กว่า “วายงั ” และ “วายงั กุลติ ”

ขนมจนี ได้รบั อทิ ธพิ ลมาจากมอญ โดยที่ ชาวมอญจะเรยี กอาหารชนดิ นว้ี ่า “คนอมจนิ ” และเรยี ก เพย้ี นมาเป็น \"ขนมจนี \" อยา่ งในปจั จุบนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook