ASEAN อาเซยี น
อาเซียน (ASEAN) เป็ นการรวมตวั กนั ของ 10 ประเทศ ในทวปี เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ผ้นู ําอาเซียนได้ร่วม ลงนามในปฎญิ ญาว่าด้วย ความร่วมมืออาเซียนเห็นชอบให้จดั ต้งั ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ เป็ น องค์กรระหว่างประเทศระดบั ภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มีจดุ เริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ ได้ ร่วมกนั จดั ต้งั สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เม่ือเดือน ก.ค.2504 เพ่ือการร่วมมือกนั ทาง เศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม แต่ดาํ เนินการไปได้เพยี ง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงกั ลง เนื่องจากความผกผนั ทางการเมืองระหว่างประเทศ อนิ โดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเม่ือมกี ารฟื้ นฟูสัมพนั ธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ จงึ ได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอกี คร้ัง และสําเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ ตกลงร่นระยะเวลาจดั ต้งั ให้เสร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปี น้ันเองจะมกี ารเปิ ดกว้างให้ประชาชนในแต่ละประเทศ สามารถเข้าไปทํางานในประเทศ อ่ืน ๆ ในประชาคมอาเซียนได้อย่างเสรี เสมือนดังเป็ นประเทศเดยี วกนั
ความเป็ นมาของอาเซียน สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อต้งั ขนึ้ โดยปฏญิ ญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) หรือ ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) เมื่อวนั ท่ี 8 สิงหาคม 2510 โดยมปี ระเทศ สมาชิก 5 ประเทศ ประกอบด้วย อนิ โดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์และไทย เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเมือง เศรษฐกจิ และสังคม ของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ต่อมามปี ระเทศสมาชิกเพมิ่ เตมิ ได้แก่ บรูไนดารุส-ซาลาม เวยี ดนาม ลาว เมยี นมาร์ และกมั พูชา ตามลาํ ดับ จงึ ทาํ ให้ปัจจบุ ันอาเซียน มสี มาชิก 10 ประเทศ “อาเซียน” สู่การเป็ นประชาคมอาเซียน ในปี 2558
ปัจจุบัน บริบททางการเมือง เศรษฐกจิ และสังคม รวมท้งั ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศได้ เปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก ทําให้อาเซียนต้องเผชิญส่ิงท้าทายใหม่ ๆ อาทิ โรคระบาด การก่อการร้าย ยาเสพตดิ การค้ามนุษย์ ส่ิงแวดล้อม ภยั พบิ ัติ อีกท้ัง ยังมคี วามจาํ เป็ นต้องรวมตวั กันเพ่ือเพม่ิ อํานาจต่อรองและขีด ความสามารถทางการแข่งขนั กับประเทศในภมู ิภาคใกล้เคยี ง และในเวทรี ะหว่างประเทศ ผ้นู ําอาเซียนจงึ เห็น พ้องกันว่า อาเซียนควรจะร่วมมือกนั ให้เหนียวแน่น เข้มแขง็ และม่ันคงยง่ิ ขนึ้ จงึ ได้ประกาศ “ปฏิญญาว่าด้วย ความร่วมมือในอาเซียน ฉบบั ท่ี 2” (Declaration of ASEAN Concord II) ซึ่งกําหนดให้มกี ารสร้าง ประชาคมอาเซียนที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลกั
ประชาคมอาเซียนประกอบไปด้วย 3 เสาหลกั - ประชาคมการเมืองและความม่ันคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community - APSC) มุ่ง ให้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสันตสิ ุข แก้ไขปัญหาระหว่างกันโดยสันตวิ ธิ ี มีเสถียรภาพและความมน่ั คงรอบด้าน เพื่อ ความม่นั คงปลอดภยั ของเหล่าประชาชน - ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตวั กันทาง เศรษฐกจิ และความสะดวกในการตดิ ต่อค้าขายระหว่างกนั เพ่ือให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกบั ภูมิภาคอื่น ๆ ได้โดย - ประชาคมสังคมและวฒั นธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community - ASCC) มุ่งหวงั ให้ ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็ นอยู่ทด่ี ี มคี วามมน่ั คงทางสังคม มกี ารพฒั นาในทุก ๆ ด้าน และมสี ังคมแบบเอื้ออาร โดยจะมี แผนงานสร้างความร่วมมือ 6 ด้าน คือ การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวสั ดกิ ารสังคม สิทธิและความยุตธิ รรมทาง สังคม ความยงั่ ยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอตั ลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพฒั นา ซ่ึงต่อมาผ้นู ําอาเซียนได้ตกลงให้มี การจดั ต้งั ประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จเร็วขนึ้ มาเป็ นภายในปี 2558
ประชาคมอาเซียน คือ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ การรวมตวั ของกลุ่มประเทศสมาชิก อาเซียนให้เป็ นชุมชนที่มีความแข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือส่งท้าท้าย ท้งั ด้านการเมืองความ มั่นคง เศรษฐกิจ และภยั คุกคามรูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความเป็ นอยู่ทดี่ ี สามารถ ประกอบกจิ กรรมทางเศรษฐกิจได้อย่างสะดวกมากย่งิ ขึน้ และสมาชิก ในชุมชนมีความรู้สึกเป็ นอันหนงึ่ อนั เดียวกัน
จดุ ประสงค์หลกั ของอาเซียน ปฏญิ ญากรุงเทพฯ ได้ระบุวตั ถุประสงค์สําคญั 7 ประการของการจดั ต้งั อาเซียน ได้แก่ 1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซ่ึงกันและกนั ในทางเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม เทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์ และการบริหาร 2. ส่งเสริมสันตภิ าพและความมัน่ คงส่วนภูมภิ าค 3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพฒั นาการทางวฒั นธรรมในภูมภิ าค 4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็ นอยู่และคุณภาพชีวติ ท่ีดี
5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกนั ในรูปของการฝึ กอบรมและการวจิ ยั และ ส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 6. เพมิ่ ประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจน การปรับปรุงการขนส่ งและการคมนาคม 7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่ง ภูมภิ าคอื่น ๆ และองค์การระหว่างประเทศ
ภาษาอาเซียน ภาษาทางการท่ใี ช้ในการตดิ ต่อประสานงานระหว่างประเทศสมาชิก คือ ภาษาองั กฤษ คาํ ขวญั ของอาเซียน \"หนึ่งวสิ ัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม” (One Vision, One Identity, One Community) อัตลักษณ์อาเซียน อาเซียนจะต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู้สึกเป็ นเจ้าของในหมู่ประชาชนของตน เพ่ือให้ บรรลุชะตา เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกนั ของอาเซียน
เป็ นรูปมดั รวงข้าว สีเหลืองบนพืน้ วงกลม สีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ําเงนิ รวงข้าวสีเหลือง 10 ต้น หมายถงึ ความใฝ่ ฝันของบรรดาสมาชิกในเอเซียตะวนั ออกเฉียงใต้ท้ัง 10 ประเทศ ให้มี อาเซียนที่ผกู พนั กันอย่างมีมติ รภาพและเป็ นหนึ่งเดยี ว วงกลม เป็ นสัญลกั ษณ์แสดงถึงเอกภาพของอาเซียน ตวั อักษรคาํ ว่า asean สีน้ําเงนิ อยู่ใต้ภาพรวงข้าว แสดงถึงความมุ่งม่ันที่จะทาํ งานร่วมกนั เพื่อความมัน่ คง สันตภิ พ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน สีเหลือง : หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดง : หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวตั ิ สีขาว : หมายถงึ ความบริสุทธ์ิ สีน้ําเงนิ : หมายถึง สันตภิ าพและความมน่ั คง
ธงอาเซียน ธงอาเซียนเป็ นธงพืน้ สีนํ้าเงนิ มดี วงตราอาเซียนอยู่ ตรงกลาง แสดงถึงเสถียรภาพ สันตภิ าพ ความสามัคคี และ พลวตั ของอาเซียน สีของธงประกอบด้วย สีน้ําเงนิ สีแดง สี ขาว และสีเหลือง ซ่ึงเป็ นสีหลักในธงชาตขิ องบรรดาประเทศ สมาชิกของอาเซียนท้งั หมด วันอาเซียน ให้วนั ท่ี 8 สิงหาคม ของทุกปี เป็ นวนั อาเซียน เพลงประจําอาเซียน (ASEAN Anthem) คือ เพลง ASEAN WAY
กฎบัตรอาเซียน 1. เคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน และอตั ลักษณ์แห่งชาตขิ องรัฐสมาชิกอาเซียน ท้งั ปวง 2. ผกู พนั และรับผดิ ชอบร่วมกันในการเพมิ่ พนู สันตภิ าพ ความมน่ั คง และความมั่งคง่ั ของภูมภิ าค 3. ไม่รุกรานหรือข่มข่วู ่าจะใช้กาํ ลังหรือการกระทําอ่ืนใดในลกั ษณะท่ีขดั ต่อกฎหมายระหว่างประเทศ 4. ระงบั ข้อพพิ าทโดยสันติ 5. ไม่แทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน 6. เคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธํารงประชาชาตขิ องตนโดยปราศจากการแทรกแซง การบ่อนทาํ ลาย และการบงั คบั จากภายนอก 7. ปรึกษาหารือท่เี พม่ิ พนู ขึน้ ในเร่ืองทม่ี ีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียน 14
8. ยึดมน่ั ต่อหลักนิตธิ รรม ธรรมาภบิ าล หลกั การประชาธิปไตยและรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ 9. เคารพเสรีภาพพื้นฐาน การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธมิ นุษยชน และการส่งเสริมความยุตธิ รรมทางสังคม 10. ยดึ ถือกฎบตั รสหประชาชาตแิ ละกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ที่ รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ 11. ละเว้นจากการมีส่วนร่วมในการคุกคามอธิปไตย บูรณภาพแห่งดนิ แดนหรือเสถยี รภาพทางการเมืองและ เศรษฐกจิ ของรัฐสมาชิกอาเซียน 12. เคารพในวฒั นธรรม ภาษา และศาสนาที่แตกต่างของประชาชนอาเซียน 13. มสี ่วนร่วมกบั อาเซียนในการสร้างความสัมพนั ธ์กบั ภายนอกท้งั ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดย ไม่ปิ ดก้ันและไม่เลือกปฏิบัติ 14. ยึดม่ันในกฎการค้าพหุภาคแี ละระบอบของอาเซียน 15
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: