แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาภาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ จัดทำโดย นางสาวธนั ยวรี ์ สงวนพนั ธ์ เลขท่ี ๑๘ เสนอ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พชั รภี รณ์ บางเขยี ว
ก คำนำ หนังสือเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย(ท๑๖๑๐๑) การศึกษาวรรณคดีไทย เพื่อให้ได้ ศึกษาหาความรู้ในเรื่องราวของวรรณคดีไทย โดยได้ศึกษาผ่านแหล่งความรู้ต่างๆ อาทิเช่น ตำรา หนังสือ หนังสือพิมพ์ วารสาร ห้องสมุด และแหลง่ ความรูจ้ ากเว็บไซตต์ า่ ง ๆ โดยรายงานเลม่ นีต้ อ้ งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายของวรรณคดี ประเภทของวรรณคดีและ ความสำคญั ของวรรณคดีตอ่ วัฒนธรรมไทย ผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาวรรณ คดีไทยเป็น อยา่ งดี ธนั ยวีร์ สงวนพนั ธ์
สารบัญ ข เรอ่ื ง หน้า คำนำ ก สารบญั ข โครงสรา้ งรายวชิ า 1 แผนการเรียนรู้รายหนว่ ยท่ี 1 เร่ือง การอา่ นวัน เดอื น ปีแบบไทย 6 แผนการจดั การเรียนรู้ตามมาตรฐาน 7 ตัวอย่างการดแู ละการใช้ 13 ใบงานการเรยี นรู้ 15 แผนการเรียนรู้รายหน่วยที่ 2 เร่ือง เสภาเร่ือง ขุนชา้ งขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม 17 แผนการจัดการเรยี นรู้ตามมาตรฐาน 18 ใบงานการเรียนรู้ 24 แผนการเรียนรูร้ ายหนว่ ยท่ี 3 เรือ่ ง พทิ กั ษ์ส่ิงแวดล้อม 27 แผนการจดั การเรียนรู้ตามมาตรฐาน 28 ใบงานการเรยี นรู้ 32
1 โครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๖๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ จำนวน ๑๖๐ ชวั่ โมง / ๔.๐หน่วยกติ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ มาตรฐาน เวลา(ช่วั โมง) มุ่งลิขิตคิดเหตุผล การเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด ๑ ๑๖ ๑.๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง ท๑.๑ป๖/๑ ๒ ๑ ๑.๒ ความหมายของคำประโยคและข้อความที่เปน็ โวหาร ท๑.๑ป๖/๒ ๑ ๓ ๑.๓ เรือ่ งสัน้ ท๑.๑ป๖/๓ ๑ ๒ ๑.๔ แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจากเร่ืองท่ีอา่ น ท๑.๑ป๖/๔ ๒ ๑.๕ ขอ้ มูลแผนผงั แผนที่ แผนภูมิและกราฟ ท๑.๑ป๖/๕ ๒ ๒ ๑.๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคาส่งั ขอ้ แนะนาและปฏิบตั ิตาม ท๑.๑ป๖/๖ ๑๖ ๒ ๑.๗ อธิบายความหมายของขอ้ มลู จากการอ่านแผนผงั แผนที่ แผนภมู ิ และ ท๑.๑ป๖/๗ ๒ ๒ กราฟ ๒ ๑.๘ อา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ และอธบิ ายคุณคา่ ทไ่ี ดร้ ับ ท๑.๑ป๖/๘ ๒ ๒ ๑.๙ มีมารยาทในการอ่าน ท๑.๑ป๖/๙ ๒ ๒ ๒ อา่ นคิดเขียนเรียนนาใช้ ๑๖ ๒ ๒.๑ คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั และครึง่ บรรทัด ท๒.๑ป๖/๑ ๒.๒ เขียนสอ่ื สารโดยใชค้ ำไดถ้ กู ตอ้ งชัดเจนและเหมาะสม ท๒.๑ป๖/๒ ๒.๓ เขยี นแผนภาพโครงเรอื่ งและแผนภาพ ท๒.๑ป๖/๓ ความคิดเพ่อื ใชพ้ ัฒนางานเขียน ๒.๔ เขยี นเรียงความ ท๒.๑ป๖/๔ ๒.๕ เขียนย่อความจากเร่ืองที่อา่ น ท๒.๑ป๖/๕ ๒.๖ เขียนจดหมายส่วนตวั ท๒.๑ป๖/๖ ๒.๗ กรอกแบบรายการตา่ งๆ ท๒.๑ป๖/๗ ๒.๘ เขยี นเรอื่ งตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์ ท๒.๑ป๖/๘ ๓ สญั ลกั ษณ์ แผนผงั แผนภูมิ แผนที่ ๓.๑ พูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจ ท๓.๑ป๖/๑ จุดประสงค์ของเรื่องทฟ่ี งั และดู
2 หนว่ ยท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา(ช่วั โมง) การเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด ๓.๒ ตัง้ คำถามและตอบคำถามเชิงเหตผุ ลจากเร่อื งท่ฟี ังและดู ท๓.๑ป๖/๒ ๓ ๓.๓ วเิ คราะหค์ วามน่าเชอื่ ถือจากการฟงั ท๓.๑ป๖/๓ ๓ และดูส่อื โฆษณาอยา่ งมีเหตุผล ๓.๔ พูดรายงานเรือ่ งหรอื ประเดน็ ที่ศึกษาคน้ ควา้ จากการฟังการดู และการ ท๓.๑ป๖/๔ ๒ สนทนา ๓.๕ พูดโนม้ นา้ วอยา่ งมเี หตผุ ลและน่าเช่อื ถือ ท๓.๑ป๖/๕ ๓ ๓.๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู ท๓.๑ป๖/๖ ๓ ๔ วจีน้นั สาคญั นกั ๑๖ ๔.๑ รวบรวมและบอกความหมายของ ท๔.๑ป๖/๑ ๖ คำภาษาตา่ งประเทศทีใ่ ช้ในภาษาไทย ๔.๒ ระบุลกั ษณะของประโยค ท๔.๑ป๖/๒ ๔ ๔.๓ วเิ คราะห์และเปรยี บเทยี บสำนวนท่เี ปน็ ท๔.๑ป๖/๓ ๖ คำพงั เพยและสุภาษติ ๕ เรียนรู้คาประพนั ธ์ ๑๖ ๕.๑ แสดงความคดิ เห็นจากคำประพนั ธ์ท่อี า่ น ท๕.๑ป๖/๑ ๔ ๕.๒ เลา่ นิทานพ้ืนบา้ นท้องถ่นิ ตนเองและนิทานพน้ื บา้ นของท้องถ่ินอ่ืน ท๕.๑ป๖/๒ ๔ ๔ ๕.๓ อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี า่ นและนำไป ท๕.๑ป๖/๓ ๔ ประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ ๑๐ ๕.๔ ท่องจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อยกรองที่มคี ณุ ค่าตามความ ท๕.๑ป๖/๔ สนใจ ๖ สอ่ื ประเด็นหลักภาษา ๖.๑ ประโยคซับซอ้ น ท๖.๑ป๖/๑ ๔ ๖.๒ ระดบั ภาษา -ภาษาระดบั พธิ ีการ -ภาษาระดับทางการ ท๖.๑ป๖/๒ ๖ -ภาษาระดบั กึง่ ทางการ -ภาษาระดับไมเ่ ป็นทางการ -ภาษาระดบั กนั เอง สอบกลางภาค ๑
3 หน่วยที่ ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา(ช่วั โมง) การเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ัด สอบปลายภาค ๑ รวม ๖๐ ๑ ตามรอยเจา้ ฟ้านกั อา่ น ๒๐ ๑.๑ การวิเคราะห์เร่อื งทอ่ี ่านโดยใช้กลวิธกี ารเปรยี บเทยี บ ท๑.๑ป๖/๑ ๒ -วรรณคดเี ร่อื งอิศรญาณภาษิต ๑.๒ การวเิ คราะหเ์ รอื่ งทีอ่ า่ นโดยใชก้ ลวิธกี ารเปรยี บเทยี บ ท๑.๑ป๖/๒ ๒ -วรรณคดเี รอ่ื งอิศรญาณภาษติ ๑.๓ การวเิ คราะห์เรอ่ื งทอ่ี า่ นโดยใชก้ ลวธิ กี ารเปรยี บเทยี บ ท๑.๑ป๖/๓ ๒ -วรรณคดเี ร่อื งอิศรญาณภาษิต ๑.๔ การประเมนิ ความถูกต้องของขอ้ มลู ทใ่ี ชส้ นบั สนนุ เร่ืองท่อี ่าน ๓ -ข่าวและเหตุการณ์สำคญั ท๑.๑ป๖/๔ -สารคดเี ชิงประวตั ิ -งานเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ ๑.๕ การวจิ ารณค์ วามสมเหตุสมผล การลำดับความ และความเปน็ ไปไดข้ อง ท๑.๑ป๖/๕ ๓ เรือ่ ง -บันเทิงคดี ๑.๖ การวเิ คราะห์เพ่ือแสดงความคิดเหน็ โตแ้ ยง้ เก่ียวกบั เร่ืองทีอ่ ่าน -บทความ -ตำนาน ท๑.๑ป๖/๖ ๔ -เรื่องราวจากบทเรยี นในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการ เรยี นรูอ้ นื่ ๑.๗ การตีความและประเมินคณุ คา่ และแนวคดิ ที่ไดจ้ ากงานเขียนอยา่ ง หลากหลาย -หนงั สอื อา่ นนอกเวลา ท๑.๑ป๖/๗ ๔ -หนังสืออ่านตามความสนใจและตามวัยของนกั เรียน -หนงั สอื อา่ นท่ีครแู ละนักเรียนรว่ มกนั กำหนด ๒ ภาษาไทยภาษาถ่ิน ๑๓ ๒.๑ การเขยี นอัตชีวประวตั หิ รือชวี ประวัติ ท๒.๑ป๖/๑ ๒ ๒.๒ การเขยี นย่อความ ท๒.๑ป๖/๒ ๒
4 หน่วยท่ี ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา(ช่วั โมง) การเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ัด -วรรณกรรมเรื่อง พระบรมราโชวาท ๒.๓ การเขียนอธบิ ายชแี้ จง แสดงความคิดเหน็ และโตแ้ ยง้ ในเรอ่ื งตา่ งๆ ท๒.๑ป๖/๓ ๒ ๒.๔ การเขียนวจิ ารณ์จากเร่ืองตา่ งๆ ท๒.๑ป๖/๔ ๒ ๒.๕ การเขยี นวจิ ารณจ์ ากเรือ่ งต่างๆ ท๒.๑ป๖/๕ ๒ ๒.๖ การเขียนแสดงความรู้ ความคดิ เหน็ หรือโต้แย้งจากเร่อื งต่างๆ ท๒.๑ป๖/๖ ๓ ๓ อ่านคิดเขียนเรียนนาใช้ ๙ ๓.๑ หลักการพูดในโอกาสตา่ งๆ -การพูดโตว้ าที ท๓.๑ป๖/๑ ๖ -การอภิปราย -การพดู ยอวาที ๓.๒ การพูดโน้มนา้ ว ท๓.๑ป๖/๒ ๓ ๔ วจีน้นั สาคญั นกั ๑๒ ๔.๑ คำทมี่ าจากภาษาตา่ งประเทศ -คำยมื ภาษาจีน -คำยืมภาษาอังกฤษ ท๔.๑ป๖/๑ ๖ -คำยมื ภาษาบาลแี ละภาษาสันสกฤต -คำยืมภาษาเขมร ๔.๒ คำทับศัพท์ ท๔.๑ป๖/๒ ๒ ๔.๓ ศพั ท์บญั ญัติ ท๔.๑ป๖/๓ ๒ ๔.๔ คำศัพทท์ างวชิ าการและวชิ าชีพ ท๔.๑ป๖/๔ ๒ ๕ ลำ้ คุณคา่ วรรณกรรมไทย ๑๖ ๕.๑ วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิน่ เกยี่ วกบั ศาสนาประเพณี ท๕.๑ป๖/๑ ๖ ๖ พิธกี รรมสุภาษิตคำสอนเหตุการณ์ในประวัตศิ าสตร์ บนั เทิงคดี ๔ ๑ ๕.๒ การวเิ คราะห์วิถีไทยและคุณคา่ จากวรรณคดีและวรรณกรรม ท๕.๑ป๖/๒ -วรรณคดเี รือ่ ง พระอภยั มณี ตอนพระอภัยมณหี นีนางผีเสอื้ สมุทร ๕.๓ การสรปุ ความรู้และขอ้ คิดจากการอ่าน ท๕.๑ป๖/๓ -บทละครพูดเรื่องเหน็ แก่ลกู สอบกลางภาค
5 หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา(ช่วั โมง) การเรียนร้/ู ตัวชีว้ ดั สอบปลายภาค ๑ รวม ๖๐
6 แผนการเรียนร้รู ายหน่วย หน่วยท่ี 1 เรอื่ ง การอา่ นวนั เดอื น ปแี บบไทย
7 แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง การอา่ นวัน เดือน ปแี บบไทย เวลา ๒ ช่วั โมง 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มใี ช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอื่ นำไปใช้ตัดสนิ ใจ และแก้ปญั หาในการดำเนินชวี ิต อกี ทั้งมี นิสัยรักการอา่ น 2. ตัวชี้วดั ป.6/1. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ บทรอ้ ยกรอง เปน็ ทำนองเสนาะได้ถกู ตอ้ ง ป.6/ 2. อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค ขอ้ ความทเี่ ป็นโวหารและจบั ใจความสำคัญของเรอ่ื งทอี่ า่ น ป.6/4 แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเหน็ จากเรอ่ื งที่อา่ น ป.6/5. อธิบายการนำความรู้ ความคิด จากเรอ่ื งทีอ่ า่ นไปตดั สินใจแกป้ ญั หาในการดำเนนิ ชวี ิต ป.6/6. ปฏบิ ตั ิตามคู่มือแนะนำวธิ กี ารใช้งานของเครื่องมือหรือเคร่ืองใช้ ป.6/ 8. อา่ นหนังสือตามความสนใจและอธบิ าย คณุ ค่าทไี่ ดร้ ับ ป.6/ 9. มีมารยาทในการอ่าน 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ชั่วโมงที่ 1-2 จะเป็นการอ่านออกเสียง และการบอกความหมายของบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ประกอบไป ดว้ ย วัน เดือน ปี แบบไทย 4. สาระสำคญั การอา่ นวนั เดอื น ปี แบบไทย จะตอ้ งเขา้ ใจความหมายของการใช้ตวั เลขแทนวัน เดือน และชอ่ื ปนี ักษัตร จึงจะ เข้าใจความหมายและสามารถสือ่ สารได้ตรงกนั 5. สาระการเรียนรู้ 1.มกี ารวิเคราะหว์ จิ ารณ์ประเมินเรื่องทอี่ า่ นจากการเปรียบเทยี บ
8 2.การประเมนิ ความถูกต้องเร่อื งท่ีอ่าน 3.การจดั ลำดบั เหตกุ ารณ์จากเรื่อง 4.การแสดงความคดิ เหน็ จากเรอ่ื ง 6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน (เฉพาะท่ีเกดิ ในหน่วยการเรยี นรนู้ ี)้ ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ทกั ษะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 (3R 8C + 2L) (จดุ เนน้ สกู่ ารพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน) ทกั ษะการอ่าน (Reading) ทักษะการ เขียน (Writing) ทักษะการ คดิ คำนวณ (Arithmetic) ทักษะดา้ นการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา (Critical thinking and problem solving) ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทักษะดา้ นความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผ้นู ำ (Collaboration , teamwork and leadership) ทกั ษะด้านความเข้าใจตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural understanding) ทกั ษะดา้ น การสอ่ื สาร สารสนเทศ และรู้เทา่ ทนั สอ่ื (Communication information and media literacy) ทกั ษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing) ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทกั ษะการเปลยี่ นแปลง (Change) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ภาวะผ้นู ำ (Leadership) 7. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน ( หลักฐาน / ร่องรอยแสดงความรู้ )
9 - ใบงาน - ศึกษาเอกสาร และใบความรู้ - อา่ นแผนผังปีนกั ษตั รโดยนำบัตรภาพจบั คู่ - ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 8. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 เรื่อง การอา่ นวนั เดือน ปแี บบไทย (เป็นความเรียง) ชัว่ โมงท่ี ๑-๒ (ใชร้ ูปแบบการเรียนรู้แบบ MACRO) ขนั้ ที่ 1 M-motivation ๑. ครูให้นักเรียนสังเกตการเรียงลำดับวัน แล้วอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การเรียงลำดับวันของคนไทยจะเริ่มต้น ดว้ ยการนับวันอาทิตย์เป็นวนั แรก และวันเสาร์เป็นวันสุดทา้ ย ซงึ่ จะแตกตา่ งจากการนบั วนั แบบสากลท่ีจะเร่ิมนับจากวัน จันทร์ ซึง่ ถอื ว่าเปน็ วันเริม่ ตน้ ทำงานเปน็ วันแรก และนบั วันอาทิตยเ์ ปน็ วันสุดท้าย ๒. ครูถามนกั เรยี นวา่ นักเรยี นได้ยนิ ผ้ใู หญพ่ ูดคุยกนั เกี่ยวกบั ช่ือเดือนตา่ ง ๆ หรือไม่ เช่น เดือนอ้าย เดือนยี่ เดือน สิบ แล้วนักเรียนคิดว่ามีลักษณะที่แตกตา่ งจากเดือนสากลที่นักเรียนรู้จักหรือไม่ อย่างไร ครูอธิบายว่า การอ่านวัน เดือน ปี แบบไทย เป็นเอกลักษณ์ของไทย ซงึ่ นักเรียนควรจะศึกษาและทำความเข้าใจเพอ่ื ใหส้ ามารถสอ่ื สารไดอ้ ย่างเขา้ ใจ ขนั้ ท่ี 2 A-active learning ๓. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง การอ่านวัน เดือน ปี แบบไทย จากหนังสือเรียน และใบความรู้ เรื่อง การ อ่านวัน เดือน ปี แบบไทย ครูเขียนวันและเดือนแบบไทยเรียงตามลำดับ แล้วอธิบายวิธีการอ่านวันและเดือนแบบไทย พรอ้ มกบั อา่ นให้นักเรยี นฟัง จากนั้น ยกตวั อย่างวันและเดอื นแบบไทยเพือ่ ใหน้ กั เรยี นฝึกอ่านเพิ่มเตมิ ข้ันที่ 3 C-conclusion ๔. ครูนำแผนผังปีนักษัตร มาแสดงที่หน้าชั้นเรียน แล้วชี้ที่รูปนักษัตร ทีละรูปแล้วอ่านออกเสียงให้นักเรียนฟัง ครูให้นักเรียนเขียนวัน เดือน ปี เกิด ของตนเองลงในกระดาษแผ่นเล็ก แล้วเขียนชื่อกำกับด้านหลังจากนั้นให้สลับ สบั เปลี่ยนกับเพอ่ื น แล้วให้เขียนคำอา่ นวนั เดือน ปีเกิดของเพอ่ื นให้ถกู ต้องจากน้นั นำส่งคนื เจา้ ของกระดาษ และร่วมกัน ตรวจสอบความถกู ต้อง ขั้นท่ี 4 R-reporting
10 ๕. ครูเน้นย้ำให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการอ่านวัน เดือน ปี แบบไทย และศึกษาความรู้เกี่ยวกับ ความเปน็ มาของการเขียน วัน เดอื น ปี แบบไทย แลว้ บนั ทึกลงในแบบบนั ทกึ การอา่ น ข้นั ที่ 5 O-obtain ๖. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับหลักในการอ่านวัน เดือน ปี แบบไทย ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนา เก่ียวกบั การใช้ประโยชน์ของ การเรยี นรู้วิธีการอา่ นวัน เดือน ปแี บบไทย 9. สือ่ การสอน 1) หนงั สือเรียนภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ป.6 2) แบบฝึกหัด ภาษาไทย ป.6 3)ใบความรู้ เรอ่ื ง การอ่านวนั เดือน ปี แบบไทย 4)แผนผงั ปนี ักษตั ร 5)ใบงานเรื่อง การอา่ นวนั เดือน ปี แบบไทย 10. แหล่งเรียนรู้ในหรอื นอกสถานที่ แหล่งเรียนรู้ในห้องสมุดที่โรงเรียน จะสามารถใช้สมาธิได้มาก เพราะบรรยากาศเงียบ เเละทำให้สมองของเด็ก ได้รับความรู้มากเทา่ ทีพ่ อจะรับได้ สภาพแวดลอ้ มกท็ ำให้เด็กไมว่ อกแวกและเด็กมีความตัง้ ใจในการเรยี นมากขึน้
11 11. การวดั และประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธีวดั เครือ่ งมอื วัด เกณฑ์การให้ เกณฑ์การประเมนิ คะแนน หรือสง่ิ ทตี่ อ้ งการจะวดั และ 5 ผ่านเกณฑก์ าร ประเมินผล ประเมิน 60% หรอื ผา่ นระดบั 2 1ดา้ นความรู้ ประเมินพฤติกรรม -แบบประเมนิ ขนึ้ ไป การบอกความหมายของบทรอ้ ย - แบบประเมิน 10 ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 60% แกว้ และบทรอ้ ยกรอง พฤตกิ รรม หรือผา่ นระดบั 2 ประกอบด้วยวนั เดอื นปี แบบไทย ข้นึ ไป 2ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประเมนิ แบบประเมิน 10 ผ่านเกณฑก์ าร ประสงค์ คุณลกั ษณะ คณุ ลักษณะ ประเมิน 60% - หรือผ่านระดับ 2 ขน้ึ ไป 3 ด้านทักษะ/กระบวนการ ประเมินการ เกมจบั คแู่ ละตอบ การอา่ นออกเสียง ทดสอบกอ่ นเรยี น- คำถามกอ่ นเรยี น- 12. กิจกรรมเสนอแนะ หลังเรยี น ทำใบงาน หลัง เรียน การประกวดการอา่ นทำนองเสนาะ และการเรยี นความเกย่ี วกบั บทกลอน 13. บันทึกผลหลงั การสอน - สรปุ ผลการเรยี นการสอน - นกั เรียนทงั้ หมดจำนวน ๓๐ คน จุดประสงค์การเรียนร้ขู ้อ จำนวนนักเรียนท่ผี า่ น จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน ที่ จำนวนคน รอ้ ยละ จำนวนคน ร้อยละ 1 5 25% 25 5% 2 10 20% 20 10% 3 15 15% 15 15%
12 15. ปญั หา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข ปัญหา/อปุ สรรค เดก็ มีความพัฒนาช้าในเรื่องของการใชค้ วามคดิ การอา่ นและการทำงานรว่ มกันในงานกลุ่ม แนวทางแกไ้ ข ใหเ้ ดก็ ไดอ้ ่านและใชค้ วามคิดเพมิ่ ขน้ึ และจบั กลุ่มการทำงานรว่ มกับผอู้ ื่นให้มากข้ึนในแตล่ ะชั่วโมง ของการเรยี นการสอน 16. ขอ้ เสนอแนะ - ตวั อย่างการดแู ละการใช้ วัน เดอื น ปี แบบไทย วัน เดือน ปี แบบไทย เปน็ การนบั เวลาตามปฏทิ นิ จันทรคติ เพอื่ ดวู นั ข้างข้ึน ขา้ งแรม ในวนั สำคัญทาง พระพุทธศาสนา มีการใชต้ ัวเลขแสดงวนั เดอื น ข้างขึ้น ข้างแรม และปี โดยมีเคร่ืองหมาย ฯ ค่นั แยกตวั เลขออกจากกนั วนั เดอื น ปี แบบไทย การนับวนั ทางจันทรคติ ประกอบดว้ ยเลข ๓ ตำแหนง่ ดงั นี้ ตำแหน่ง ท๑ี่ หมายถงึ วนั มี ๗ เลข คอื วัน ๗ ฯ ๙ ๑๑ วันทน่ี ับแบบไทย ๑ วนั อาทิตย์ ๒ วนั จนั ทร์ ๓ วันองั คาร ๔ วนั พธุ ๕ วันพฤหสั บดี ๖ วนั ศุกร์ ๗ วนั เสาร์
13 วันเดือน ปี แบบไทย ตำแหน่งที่ ๒ หมายถึง ขา้ งขึ้น เขียนไวบ้ น เครื่องหมาย ฯ สว่ น ข้างแรม เขียนไวใ้ ต้ เคร่ืองหมาย ฯ มเี ลข ๑-๑๕ ขา้ งข้ึน ๑๑ ๗ฯ๙ ข้างแรม ๗ฯ๙ ๑๑ ตัวเลขดา้ นบนของ ขา้ งแรม เครื่องหมาย ฯ บอกช่วงเวลา ข้างขน้ึ ตอ้ ง ขน้ึ ๑ คา่ ตัวเลขดา้ นลา่ งของ ไปจนถึง ขึ้น ๑๕ ค่า เครื่องหมาย ฯ บอกชว่ งเวลา ข้างแรม ตั้งขา้ งแรม ๑ คา่ ไปจนถึงแรม ๑๕ ค่า ๓ ๑ฯ๒ ๑ฯ๒ ๓ วัน เดือน ปี แบบไทย ตำแหน่งท่ี ๓ หมายถงึ เดือน ทางจนั ทรคติ มเี ลขตง้ั แต่ ๑-๑๒
14 ๗ ฯ ๙ เดือน ๑๑ เดือนทนี่ ับ แบบไทย ๑ เดอื นอา้ ย มกราคม ๒ เดือนยี่ กุมภาพันธ์ ๓ เดือนสาม มนี าคม ๔ เดอื นสี่ เมษายน ๕ เดือนหา้ พฤษภาคม ๖ เดอื นหก มถิ นุ ายน ๗ เดอื นเจด็ กรกฎาคม ๘ เดอื นแปด สิงหาคม ๙ เดือนเก้า กันยายน ๑๐ เดือนสบิ ตุลาคม ๑๑ เดอื นสบิ เอด็ พฤศจกิ ายน ๑๒ เดือนสบิ สอง ธนั วาคม
15 ใบงานการเรยี นรู้ ใบงานที่1 ชื่อ…………………………………….…. สกลุ .………………………………… เลขท…่ี ………….. ชน้ั ……….…... คําชี้แจง จงเขยี นวนั เดือน ปี แบบไทย และเขียนคําอา่ นด้วย การเขียนแบบไทย คำอา่ น ตย. วนั พฤหสั บดี เดอื นสิบ แรม ๑๒ คำ่ ๕ ฯ ๑๐ ๑๒ ๒ฯ๙ ๑๓ ๕ ฯ ๑๐ ๓ ๓ ฯ ๑๐ ๔ ๖ฯ๖ ๖
16 ลงชอ่ื ........................................................................ () ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ....................................... ลงช่อื ................................................................ หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ () ลงชอ่ื .......................................................... รองผูอ้ ำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ (………………………………………..) ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา ไดท้ ำการตรวจแผนการเรยี นรู้ของ....................................................แลว้ มีความคิดเห็นดงั น้ี 1. เป็นแผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ลงชื่อ............................................................................................... ( ………………………………………………… ) ผู้อำนวยการโรงเรยี น…………………………………………………………..
17 แผนการเรยี นรู้รายหน่วย หนว่ ยท่ี 2 เร่ือง เสภาเรื่อง ขุนช้างขนุ แผน ตอน กำเนดิ พลายงาม
18 แผนการจดั การเรยี นรู้ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรื่อง เสภาเรือ่ ง ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนดิ พลายงาม เวลา ๒ ชวั่ โมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ เสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน เป็นวรรณคดีมรดกที่มีคุณค่าทั้งทางด้านภาษา ปัญญา และอารมณ์ สะท้อนให้เห็นวิถี ชีวิตและวัฒนธรรมของคนไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นอย่างเด่นชัด การศึกษาเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน จะทำให้มี ความรู้เกี่ยวกบั ตวั ละคร ได้ความรเู้ ร่อื งประเพณีตา่ ง ๆ ของไทย และยงั ไดค้ วามสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ อกี ด้วย ตัวชี้วดั ชนั้ ปี 1.อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง ท 1.1 (ป. 6/1) 2.อธิบายความหมายของคำ ประโยค และข้อความทีเ่ ป็นโวหาร ท 1.1 (ป. 6/2) 3.แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเรื่องทีอ่ า่ น ท ๑.๑ (ป. 6/4) 4.อธิบายการนำความรแู้ ละความคิดจากเรื่องที่อา่ นไปตดั สินใจแก้ปญั หาในการดำเนนิ ชวี ติ ท 1.1 (ป. 6/5) 1.อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำส่งั ขอ้ แนะนำ และปฏิบตั ติ าม ท 1.1 (ป. 6/6) 2.คดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดและครึ่งบรรทัด ท 2.1 (ป. 6/1) 3.เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ เพื่อใช้พฒั นางานเขยี น ท 2.1 (ป. 6/3) 4.พดู แสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงคข์ องเรือ่ งท่ฟี งั และดู ท 3.1 (ป. 6/1) 5.ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผลจากเร่ืองที่ฟังและดู ท 3.1 (ป. 6/2) 6.พดู รายงานเรอ่ื งหรอื ประเดน็ ทศ่ี ึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา ท 3.1 (ป. 6/4) 1.1. ใชค้ ำไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ท 4.1 (ป. 6/2) 1.2. แต่งบทร้อยกรอง ท 4.1 (ป. 6/5) 1.3. วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บสำนวนท่ีเป็นคำพังเพยและสภุ าษติ ท 4.1 (ป. 6/6) 1.4. แสดงความคดิ เห็นจากวรรณคดหี รอื วรรณกรรมทอ่ี า่ น ท 5.1 (ป. 6/1)
19 1.5. เล่านิทานพ้ืนบ้านทอ้ งถิ่นของตนเองและนิทานพน้ื บ้านของท้องถ่ินอื่น ท 5.1 (ป. 6/2) 1.6. อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ า่ นและนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั ท 5.1 (ป. 6/3) 1.7. ทอ่ งจำบทอาขยานตามทีก่ ำหนด และบทร้อยกรองท่มี ีคณุ ค่าตามความสนใจ ท 5.1 (ป. 6/4) ผังมโนทศั นเ์ ป้าหมายการเรยี นรแู้ ละขอบขา่ ยภาระงาน ความรู้ 1.การอา่ นเสภาเรื่อง ขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอนกาเนิดพลาย งาม 2.การอา่ นคาท่มี ีตวั การนั ต์ 3.การอา่ นเคร่ืองหมายวรรคตอน 4.กลอนเสภาการอา่ นสรุปความ ภาระงาน/ชิน้ งาน ทกั ษะและกระบวนการ 1.ทาแบบทดสอบ 1.กระบวนการฟังและการดู 2.อา่ นจบั ใจความสาคญั เสภาเรื่อง ขุนช้าง 2.กระบวนการพดู 3.อา่ นคาท่ีมตี วั การนั ต์ ขุนแผน ตอน 3.กระบวนการอา่ น 4.อา่ นขอ้ ความท่ีมีเครอื่ งหมาย 4.กระบวนการเขียน วรรคตอน กาเนิดพลายงาม 5.กระบวนการคิดวิเคราะห์ 5.ขบั เสภา 6.กระบวนการกลมุ่ 6.เขียนแผนผงั กลอนเสภา 7. อา่ นสรุปความ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม 8.ทาใบงาน 7.มมี ารยาทการฟัง การดู และการพดู 8.มีมารยาทในการอา่ นและมนี ิสยั รกั การอา่ น 9.มมี ารยาทในการเขียนและมีนิสยั รกั การเขียน 10.เหน็ คณุ คา่ ความสาคญั และซาบซงึ้ ในวรรณคดีไทย
ขน้ั ที่ 3 แผนการจดั การเรยี นรู้ 20 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การอ่านเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน เวลา 2 ช่วั โมง เวลา 2 ตอน กำเนดิ พลายงาม เวลา 2 เวลา 2 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 การอ่านคำที่มีตัวการันต์ เวลา 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การอ่านเครื่องหมายวรรคตอน ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลอนเสภา ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 10 การอ่านสรปุ ความ ชว่ั โมง 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P) และค่านิยม (A) 1. สงั เกตการตอบคำถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการ 1. ประเมินทักษะการอ่านออก และแสดงความคิดเหน็ ทำงาน เสียง 2. ตรวจผลการทำกจิ กรรม เป็นรายบุคคลในด้านความ ร้อยกรอง 3. ตรวจแบบทดสอบ สนใจ 2. ประเมินทักษะการอ่านสรุป ก่อนเรียน แ ล ะ ต ั ้ ง ใ จ เ ร ี ย น ค ว า ม ความ รับผดิ ชอบ 3. ประเมินทักษะการแสวงหา ในการทำกิจกรรม ความมี ความรู้ ระเบียบวินยั ในการทำงาน ฯลฯ 4. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการคดิ
21 2. ประเมนิ เจตคตทิ ี่ดีต่อการเรียน 5. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ภาษาไทย 5. สาระการเรยี นรู้ การอ่านเสภาเรือ่ ง ขนุ ช้างขนุ แผน ตอน กำเนดิ พลายงาม 6. แนวทางบรู ณาการ คณติ ศาสตร์ เขยี นแผนภาพความสัมพนั ธ์ของตัวละคร/เขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง สังคมศกึ ษาฯ หาขนบธรรมเนียม ประเพณี และความเชอ่ื ท่ปี รากฏในเนอ้ื เรอ่ื ง ศลิ ปะ แสดงบทบาทสมมุติ 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขน้ั ที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1 นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. นกั เรียนดวู ิดิทัศนเ์ รือ่ ง ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม แล้วร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั เนอ้ื เร่ือง 3. ครถู ามนักเรยี นว่ารู้จกั ตัวละครทีไ่ ดด้ หู รือไม่ มาจากวรรณคดีเรอ่ื งใด ขนั้ ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูเล่าความเป็นมาของเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ว่าเป็นนิทานพื้นบ้านที่เล่าสืบต่อกันมาของจังหวัดสุพรรณบุรี และเล่าเรื่องย่อเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ก่อนถึงตอน กำเนิดพลายงาม ให้นักเรียนฟัง โดยใช้ภาพตัวละครประกอบการเล่า แลว้ ใหน้ กั เรียนเขยี นแผนภาพความสัมพันธ์ของตวั ละครที่ปรากฏในเรือ่ ง 2. แบ่งนักเรยี นออกเป็น 5 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มอ่านเรือ่ ง ขุนช้างขนุ แผน ตอน กำเนิดพลายงามในหนังสือเรียน/สอ่ื การเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แล้วคัดลอกคำศัพท์ที่ไม่รู้ความหมายลงในสมุด และช่วยกัน เปิดพจนานกุ รมหาความหมาย 3. ครูเปิดแถบบันทึกเสียงการอ่านเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม เป็นทำนองเสนาะให้ นักเรียนฟงั และให้นกั เรียนฝึกอ่านตามจนคลอ่ ง
22 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม ตามความเข้าใจของกลุม่ ตน แลว้ นำเสนอหน้าช้ันเรยี น และรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้อง 5. นักเรียนช่วยกันบอกว่าเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม ปรากฏขนบธรรมเนียมประเพณี หรือ ความเชือ่ ของไทยเรื่องใดบ้าง และอยูใ่ นข้อความตอนใด ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ งและอธบิ ายเพม่ิ เติม ข้นั ท่ี 3 ฝึกฝนผ้เู รยี น 1. นกั เรียนทำกิจกรรมท่ีเก่ยี วกบั เสภาเรอื่ ง ขนุ ช้างขนุ แผน ตอน กำเนดิ พลายงาม แล้วชว่ ยกนั เฉลยคำตอบ 2. แบ่งนกั เรียนออกเปน็ 3 กลมุ่ ให้แต่ละกลุม่ ศึกษาตามหัวขอ้ ท่กี ำหนดแลว้ พูดนำเสนอ แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น กลมุ่ ที่ 1 วเิ คราะห์ลักษณะนิสัยของตวั ละครในเรื่อง พร้อมบอกเหตุผล กลุ่มท่ี 2 หาสำนวน สภุ าษติ หรือคำพังเพยท่สี ัมพนั ธก์ ับเนอื้ เรอ่ื ง พร้อมบอกเหตผุ ล กลมุ่ ที่ 3 ความเช่ือทปี่ รากฏอย่ใู นเรอ่ื ง 3. แบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านแสดงอารมณ์ โดยครูแจกแผ่นป้ายบทร้อยกรองที่ปรากฏ ในเรื่องกลุ่มละ 1 แผ่นป้าย ซึ่งมีข้อความไม่เหมือนกัน ให้แต่ละกลุ่มอ่านแสดงอารมณ์จากบทร้อยกรองที่ครูแจก แล้วให้ เพ่อื น ๆ ชว่ ยกันพิจารณาว่าแสดงอารมณ์ไดเ้ หมาะสมกับบทรอ้ ยกรองหรือไม่ กลุ่มใดได้คะแนนเสียงจากเพอ่ื นมากทส่ี ดุ จะได้ รางวัลจากครู แลว้ ฝกึ ท่องจำบทรอ้ ยกรองท่อี ่าน 4. นกั เรยี นฝึกตั้งคำถาม–คำตอบ จากเนื้อเร่อื ง 5. นักเรียนหาคำราชาศพั ทจ์ ากเน้อื หา แล้วหาความหมายจากพจนานุกรม คดั ลงในสมดุ ขน้ั ที่ 4 นำไปใช้ 1. นกั เรียนเลา่ เรือ่ ง ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม ใหผ้ ้อู นื่ ฟัง 2. นกั เรยี นให้เหตผุ ลและแสดงความคดิ เห็นอยา่ งเหมาะสม ขน้ั ท่ี 5 สรุป ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สนทนาสรุปเสภาเร่อื ง ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม
23 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรยี นแสดงบทบาทสมมุตเิ ร่ืองขุนชา้ งขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม 2. ครใู ห้นักเรียนดูวีดทิ ศั นเ์ ก่ียวกบั การขบั เสภา แล้วให้นักเรยี นฝึกขบั เสภา 3. นักเรยี นศึกษาเพ่มิ เตมิ เก่ียวกบั นทิ านหรือตำนานพืน้ บ้านเร่อื ง ขนุ ชา้ งขุนแผน 9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน 2. วดิ ทิ ศั นเ์ รอื่ ง ขนุ ชา้ งขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม 3. ภาพตวั ละครในเรื่อง ขุนชา้ งขนุ แผน 4. แถบบนั ทกึ เสยี งการขับเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม 5. แผน่ ปา้ ยบทร้อยกรอง 6. สือ่ การเรียนรู้ ภาษาไทย สมบรู ณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ เล่ม ๑ บริษทั สำนกั พมิ พ์ วัฒนาพานชิ จำกดั 7. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ บรษิ ัท สำนักพิมพ์ วฒั นาพานชิ จำกดั 8. แบบฝึกหดั รายวชิ าพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ บริษัท สำนักพมิ พ์ วัฒนาพานิช จำกัด
24 ใบงาน/ แบบฝึกหดั ตา่ งๆ ชอ่ื ……………………………………..สกลุ ………………………………..ชนั้ ……………เลขท…ี่ ………. คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นอา่ น วรรณคดลี ำนำ เรอ่ื ง การเดนิ ทางของพลายน้อย แล้วตอบคำถาม 1) มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น พ่อจึงบอกสาหร่ายว่า \"ความเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องปกติธรรมดา\" เนื่องจากอีกไม่นาน บริเวณทุ่งนาท่ีกว้างสุดลูกหูลูกตาจะกลายเป็นที่ตั้งของโรงงานอตุ สาหกรรม เพราะชาวนาจะขายที่ดินให้แก่นายทุนและ ไมท่ ำนาอีกตอ่ ไป ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………… 2) ขุนช้างทำร้ายพลายน้อยเพราะเหตุใด และใครคือผู้ที่เข้าไปช่วยเหลือพลายน้อยขุนช้างทำร้ายพลายน้อย เพราะ พลายนอ้ ยเป็นลูกของขนุ แผนผทู้ เ่ี ข้าไปช่วยเหลือพลายนอ้ ย คอื ผพี ราย ลูกน้องของขุนแผน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………… 3) นกั เรียนชอบเร่ืองที่อ่านตอนใดมากที่สดุ ยกตวั อย่างขอ้ ความและ บอกเหตุผลประกอบขอ้ นี้แล้วแตน่ อ้ ง ๆ เลยนะจะ๊ ส่วนเค้าน่ะเหรอ..เน่ืองจากผา่ นวันแมม่ าหมาดๆ ตอ้ ง บทนี้เลย แมร่ กั ลูกลกู กร็ ู้อย่วู ่ารกั คนอ่ืนสักหมน่ื แสนไมแ่ มน้ เหมอื น จะกนิ นอนวอนวา่ เมตตาเตอื น จะจากเรอื นรา้ งแมไ่ ปแตต่ ัว ที่ชอบเพราะเป็นบทที่บ่งบอกถึงความรกั ของผู้เป็นแม่ ในโลกนี้มีแต่แม่ที่รักลกู มากที่สุด แม้ว่าตัวจะไกลกัน แต่ความรกั และความห่วงใยท่มี ใี ห้กย็ ังคงเดมิ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
25 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………… 4) ถ้านักเรียนเป็นพลายน้อย จะรู้สึกอย่างไรบ้างกับสิ่งที่เกิดขึ้นครั้งนี้กลัวขุนช้าง ระแวง น้อยใจ เสียใจ โกรธ และ ผิดหวัง เนื่องจากเปน็ การกระทำอันมาจากคนในครอบครัวท่ไี วใ้ จ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………
26 ลงชอื่ ........................................................................ () ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ....................................... ลงชอื่ ................................................................ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ () ลงช่ือ.......................................................... รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ (………………………………………..) ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศึกษา ไดท้ ำการตรวจแผนการเรยี นรู้ของ....................................................แลว้ มคี วามคิดเหน็ ดังนี้ 4. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ 5. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาตอ่ ไป 6. ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ลงชอ่ื ............................................................................................... ( ………………………………………………… ) ผู้อำนวยการโรงเรียน…………………………………………………………..
27 แผนการเรียนรรู้ ายหนว่ ย หนว่ ยท่ี 3 เร่อื ง พทิ กั ษส์ ่ิงแวดล้อม
28 แผนการจัดการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่อื ง พทิ กั ษ์ส่งิ แวดลอ้ ม เวลา 2 ชวั่ โมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั มาตรฐานการเรียนรู้ การอา่ นเรอื่ งราวต่าง ๆ จะตอ้ งจบั ใจความสำคัญ วิเคราะห์เรอื่ ง แสดงความคิดเห็น บอกขอ้ คิดของเรอ่ื งทอ่ี า่ น และสามารถนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในการเรียนวิชาอ่ืนหรือการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั ได้ 2. ตัวชี้วัดชัน้ ปี 1. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ ง ท 1.1 (ป. 6/1) 2. อา่ นเรอื่ งสนั้ ๆ อยา่ งหลากหลายโดยจบั เวลาแล้วถามเกย่ี วกับเรือ่ งอ่าน ท 1.1 (ป. 6/3) 3. อธบิ ายการนำความรู้และความคดิ จากเรอ่ื งทอี่ า่ นไปตดั สินใจแก้ปญั หาในการดำเนนิ ชีวิต ท 1.1 (ป. 6/5) 4. อา่ นงานเขยี นเชงิ อธบิ าย คำส่งั ขอ้ แนะนำ และปฏบิ ตั ิตาม ท 1.1 (ป. 6/6) 5. มีมารยาทในการอา่ น ท 1.1 (ป. 6/9) 6. เขียนสอื่ สารโดยใชค้ ำถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม ท 2.1 (ป. 6/2) 7. เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ เพอื่ พฒั นางานเขยี น ท 2.1 (ป. 6/3) 8. พดู โนม้ นา้ วอย่างมเี หตผุ ลและนา่ เช่ือถอื ท 3.1 (ป. 6/5) 9. แสดงความคดิ เห็นจากวรรณคดหี รือวรรณกรรมท่ีอ่าน ท 5.1 (ป. 6/1) 10. อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ นแลว้ นำไปประยกุ ต์ใช้ใน ชวี ิตประจำวัน ท 5.1 (ป. 6/3)
29 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อ่านออกเสยี งคำหรือข้อความถกู ตอ้ ง (P) 2. สรปุ ใจความสำคญั และวิเคราะห์เร่ืองท่ีอา่ น ฟัง หรอื ดู ได้อย่างมเี หตุผล (K) 3. ปฏบิ ตั ิตามคำสง่ั และข้อแนะนำตา่ ง ๆ ได้ (P) 4. พดู หรอื เขยี นสอื่ สารไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ (P) 5. เขียนแผนภาพความคิดจากเร่ืองได้ (P) 6. มมี ารยาทในการอา่ น (A) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยม ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (P) (A) 1. สงั เกตการตอบคำถาม 1. ประเมินพฤตกิ รรมในการทำงาน 1. ประเมนิ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความ และการแสดงความ เปน็ รายบุคคลในดา้ นความสนใจ 2. ประเมินทักษะการอ่านออกเสียง คิดเหน็ และตัง้ ใจเรยี น ความรับผดิ ชอบ ร้อยแกว้ 2. ตรวจผลการทำกิจกรรม ในการทำกจิ กรรม ความมี 3. ตรวจแบบทดสอบ ระเบยี บวนิ ยั ในการทำงาน ฯลฯ 3. ประเมินทักษะการเขียน 2. ประเมนิ มารยาทในการอา่ นและ 4. ประเมินทกั ษะการฟั และการดู ก่อนเรียน 5. ประเมินทกั ษะการพดู นสิ ัยรักการอ่าน 6. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการคดิ 7. ประเมินทักษะกระบวนการกล่มุ
30 5. สาระการเรียนรู้ - การคัดลายมอื 6. แนวทางบรู ณาการ คณิตศาสตร์ เขยี นแผนภาพความคิดเกี่ยวกบั หลักการคดั ลายมือ ภาษาตา่ งประเทศ คัดคำศพั ท์หรอื บทความภาษาอังกฤษ 7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี 1 นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ครูนำตัวอยา่ งการคัดลายมอื ทั้งทถี่ ูกต้องสวยงาม และไม่ถูกตอ้ งสวยงามหลาย ๆ ตวั อย่าง ให้นักเรียนดู แลว้ รว่ มสนทนาเกย่ี วกบั การคดั ลายมือ 2. ครใู หน้ กั เรยี นตอบวา่ นกั เรียนอยากมลี ายมือแบบใด ขั้นที่ 2 กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนชว่ ยกนั บอกวา่ การมลี ายมือทอี่ า่ นงา่ ยและสวยงามมีประโยชน์อย่างไร 2. นักเรยี นศกึ ษาเรอ่ื ง การคดั ลายมือ ในหนงั สือเรยี น/สอ่ื การเรยี นรู้ ภาษาไทย สมบรู ณแ์ บบช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 6 แล้วชว่ ยกันสรปุ หลกั การคดั ลายมือเป็นแผนภาพความคดิ 3. นกั เรียนคัดลายมอื ด้วยตวั บรรจงครึง่ บรรทดั และตัวหวัดแกมบรรจงอย่างละ 1 จบ จากบทร้อยกรองท่คี รู กำหนดให้ 4. ครูและนักเรียนชว่ ยกนั คดั เลือกผลงานที่ดตี ิดป้ายแสดงผลงานในชน้ั เรียน 5. นกั เรียนอ่านบทร้อยกรองท่คี รูใหค้ ัดลายมือจนคลอ่ ง และอ่านออกเสยี งพรอ้ มกนั ขน้ั ท่ี 3 ฝึกฝนผเู้ รยี น 1. นักเรยี นทำกิจกรรมเกย่ี วกบั การคัดลายมอื แลว้ ร่วมกันตรวจสอบความถกู ต้อง 2. นักเรียนเลอื กบทร้อยกรองและบทร้อยแกว้ อย่างละ 1 ตัวอยา่ งทช่ี อบนำมาคัดลายมือโดยคัดบทรอ้ ยกรอง ดว้ ยตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั และคดั รอ้ ยแกว้ ดว้ ยตวั หวดั แกมบรรจงครง่ึ บรรทดั อยา่ งละ 1 จบ แล้วอ่านใหเ้ พอ่ื นฟงั หนา้ ชนั้ เรยี น
31 ขน้ั ที่ 4 นำไปใช้ 1. นกั เรียนเขยี นหนังสือคลอ่ ง อ่านงา่ ย และสวยงาม 2. นกั เรยี นแนะนำวธิ ีคดั ลายมอื ทีถ่ ูกต้องใหผ้ ู้อื่นปฏิบตั ไิ ด้ ขั้นที่ 5 สรุป 1. นกั เรียนชว่ ยกันสรปุ เร่อื ง การคัดลายมอื และประโยชน์จากการมลี ายมอื ที่สวยงาม อ่านงา่ ยแลว้ บนั ทึกลงสมดุ 2. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน แลว้ ชว่ ยกันเฉลยคำตอบ 8. กิจกรรมเสนอแนะ นกั เรียนคัดคำศพั ทห์ รอื บทความสั้น ๆ ทีเ่ ปน็ ภาษาองั กฤษ ตามหลักการคัดลายมือท่ไี ดศ้ ึกษา 9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน 2. ตัวอย่างการคดั ลายมอื 3. บทร้อยกรองท่ีครูกำหนดใหค้ ดั ลายมอื 4. คำศัพท์หรอื บทความภาษาองั กฤษ 5. สือ่ การเรยี นรู้ ภาษาไทย สมบรู ณแ์ บบ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 เลม่ 1 บริษัท สำนกั พมิ พ์วฒั นาพานชิ จำกดั 6. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 บริษัท สำนักพิมพ์วฒั นาพานชิ จำกดั 7. แบบฝึกหดั รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 บรษิ ทั สำนกั พิมพ์วัฒนาพานชิ จำกัด
32 ใบงาน/ แบบฝึกหดั ตา่ งๆ ชือ่ ……………………………………..สกลุ ………………………………..ชัน้ ……………เลขท…่ี ………. คำชแ้ี จง จงตอบคำถามตอ่ ไปนีใ้ หถ้ กู ตอ้ งและสมบรู ณ์ทส่ี ดุ 1.ส่งิ แวดลอ้ มมคี วามสำคญั ต่อส่งิ มีชีวติ อยา่ งไร (5ข้อ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………… 2.นกั เรยี นจะมวี ิธีการในการรกั ษาส่ิงแวดล้อมอยา่ งไร (3ข้อ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………… 3.ให้นกั เรยี นบอกวธิ กี ารดแู ลรกั ษานำ้ (5ขอ้ ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………… 4.ถา้ หากนักเรยี นเจอเหตกุ ารณไ์ ฟไหมป้ า่ นกั เรียนจะมวี ธิ ีแก้มอื อย่างไร (5ข้อ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
33 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………… 5.การที่ปา่ ไมร้ กั ษาตน้ น้ำลำธารไดเ้ กดิ จากอะไร จงอธบิ าย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………
34 ลงชอ่ื ........................................................................ () ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ....................................... ลงชื่อ................................................................ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ () ลงช่อื .......................................................... รองผ้อู ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ (………………………………………..) ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา ได้ทำการตรวจแผนการเรยี นรขู้ อง....................................................แลว้ มีความคิดเหน็ ดังนี้ 7. เป็นแผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ 8. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 9. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ลงชื่อ............................................................................................... ( ………………………………………………… ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น…………………………………………………………..
35
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: