คำนำ รายงานผลการดำเนินงานหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอทับคล้อเล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อสรุปผลการดำเนินการนำหลักสูตรการต้านทุจริตศึกษา ปลูกฝังและป้องกันการทุจริตให้แก่นักศึกษา โดยใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนที่ตอบสนองนโยบายและกลยุทธ์ เพื่อให้การพัฒนาประเทศบรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น ประเทศที่พัฒนา แล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นการสร้างพลเมืองที่ ซื่อสัตย์สุจริต ให้แกป่ ระเทศชาติปัญหาคอรร์ ัปชัน่ ลดลง และดชั นีภาพลกั ษณค์ อรร์ ัปชั่นของประเทศไทย ในการนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับคล้อ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานผลการดำเนินงานหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องในให้ข้อเสนอแนะ ในการปฏิบัติงาน ร่วมกันพัฒนา การศกึ ษาสู่การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ กศน.อำเภอทับคล้อ ผู้จดั ทำ
สารบญั หนา้ ความเป็นมาของหลักสูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา 1 วตั ถุประสงค์ในการใชค้ มู่ อื การใชห้ ลักสตู รตา้ นทจุ ริตศกึ ษา 7 การนำหลักสตู รไปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ 7 หนว่ ยการเรยี นรใู้ นหลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา 8 แนวทางในการดำเนินการจดั การเรยี นรู้ 10 10 - การลงทะเบียนเรยี น รายวิชาเลือก วชิ าการป้องกนั การทุจรติ 11 - แผนการดำเนนิ งานการนำหลักสตู รการต้านทจุ รติ ศึกษา 13 - การบรู ณาการเรยี นการสอนกับสาระการพฒั นาสงั คม 14 - การจดั ในกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ภาคผนวก
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สตู รต้านทจุ ริตศึกษา ๑ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอทบั คล้อ รายงานผลการดำเนินงาน หลักสตู รตา้ นทุจรติ ศึกษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั คล้อ ******************************************* ความเปน็ มาของหลกั สตู รการต้านทุจรติ ศกึ ษา ปัจจุบันปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่น ถือได้ว่าเป็นปัญหาใหญ่ที่เกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งปัญหานี้ยังไม่มีทีท่าว่าจะหมดไป อีกทั้งยังทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น อย่างต่อเนื่อง แม่ว่าประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ความทันสมัย มีระบบการบริหารราชการสมัยใหม่ มีการรณรงค์จากองค์กรของรัฐ หรือองค์กรอิสระต่าง ๆ ที่เห็นพ้องกันว่า การทุจริตคอร์รัปชั่น เป็นปัญหา ที่นำไปสู่ความยากจน และเป็นอุปสรรคที่ขัดขวางการพัฒนาประเทศอย่างแท้จริง สำหรับประเทศไทยน้ัน เป็นที่ทราบกันว่า ปัญหาเรื่องการทุจริตคอร์รัปชั่น เป็นปัญหาสำคัญอันดับต้น ๆ ที่ส่งผลกระทบ ต่อการพัฒนาประเทศเป็นอย่างมา ปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นมาช้านานจนฝังรากลึก และพบเกือบทุกกลุ่ม อาชีพในสังคมไทยเกี่ยวกับกับวิถีชีวิตของคนไทยมาอย่างยาวนาน หรือกล่าวได้ว่า เป็นส่วนหน่ึง ของวัฒนธรรมไทยแลว้ สาเหตุของปัญหาที่พบ คือ การทุจริตคอร์รัปชั่น เป็นประเพณีนิยมปฎิบัติที่มีมาตั้งแต่สมัยดั้งเดิม ยังคงมีอิทธิพลต่อความคิดของคนในปัจจุบันอยู่ค่อนข้างมาก ฉะนั้น พฤติกรรมการปฎิบัติของข้าราชการ จึงไม่สอดคล้องกับแนวความคิดของการเป็นข้าราชการสมยั ใหม่ การฉ้อราษฎร์บังหลวงของข้าราชการดว้ ย ความไมร่ ูห้ รอื ด้วยความบริสทุ ธิใ์ จ จึงยังคงเป็นปรากฎอยคู่ อ่ นขา้ งมาก นอกจากนี้ การทจุ ริตคอร์รัปชั่นของ ขา้ ราชการอยทู่ ีต่ วั ข้าราชการ ปญั หาที่เกดิ จากความคดิ ความไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพของตวั ระบบและปัญหาของ ตัวข้าราชการไม่ว่าจะเป็นรองของรายได้ สวัสดิการ จริยธรรมในการทำงาน ความคาดหวังหรือโอกาสใน ชีวิตของตัวข้าราชการ การบริหารราชการแผ่นดินเป็นสาเหตุที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งของการเกิดทุจริต คอร์รัปชั่นในวงราชการ อันนำไปสู่การสูญเสียเงินรายได้ของรัฐบาล ความไม่เสมอภาคในการบริการของ ข้าราชการแกผ่ ูม้ าตดิ ตอ่ ประชาชนผู้เสยี ภาษไี มไ่ ด้รบั บริการทม่ี ีคณุ ภาพ จากการวัดดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ปี 2557 และ ปี 2558 ประเทศไทยได้คะแนนการประเมิน 38 คะแนน ในปี 2559 ประเทศไทยได้คะแนน การประเมิน 35 คะแนน และในปี 2560 ประเทศไทยไดค้ ะแนนการประเมิน 37 คะแนน ซ่ึงแสดงให้เหน็ วา่ ประเทศไทย ยังมีการทุจริตคอร์รัปชั่นอยู่ในระดับสูง ซึ่งสมควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ดังนั้น คณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จึงได้หาแนวทางในการแก้ไขปัญหา
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรต้านทุจรติ ศกึ ษา ๒ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอทับคลอ้ ดังกล่าวมาโดยตลอด เริ่มตั้งแต่การกำหนดยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การป้องกันและปราบปราม การทุจริต ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2551 – 2555) และได้รับการถ่ายทอด สู่ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทจุ ริตภาครฐั (พ.ศ. 2552 – 2555) และเมอื่ วนั ท่ี 27 พฤศจกิ ายน 2551 นายกรัฐมนตรี ได้สั่งการให้ หน่วยงานภาครัฐจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ให้สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ (พ.ศ. 2552 – 2555) นอกจากน้ัน ยงั มกี ลไกทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. แต่งตั้งในรูปคณะอนุกรรมการ เพอื่ นำยุทธศาสตร์ชาตวิ า่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตไปสู่การปฏิบัติในภาคส่วนต่าง ๆ อาทิ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม เป็นต้น เนื่องจากตระหนักถึงความสำคัญของการบูรณาการความร่วมมือและสนับสนุนจากภาคีทุกภาคส่วน จากนั้น คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้จัดทำยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556 – 2560) ต่อเนื่อง เพื่อเป็นกรอบให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องแปลงยุทธศาสตร์ แนวทาง และมาตรการปูองกันและปราบปรามการทุจริตไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และส่งเสริม ให้ประชาชนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตอย่างจริงจงั โดยในส่วนของภาครฐั น้ัน คณะรัฐมนตรีมีมติ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เห็นชอบให้แปลงแนวทางและมาตรการตามยทุ ธศาสตร์ ชาติว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556 – 2560) ไปสู่การปฏิบัติ โดยให้กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และ แผนปฏิบัติราชการประจำปี รวมถึงการสนับสนุน ของกระทรวงมหาดไทย โดยสั่งการให้มีการตั้งคณะกรรมการร่วมเพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระดับจังหวัดที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานขึ้นในทุกจังหวัด ซึ่งถือเป็นกลไกสำคัญที่มีบทบาท ในการนำยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะ ที่ 2 (พ.ศ. 2556 – 2560) ไปสู่การปฏิบัติระดับจังหวัด ในลักษณะบูรณาการในช่วงระยะเวลาของการใช้ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556 – 2560) ทุกภาคส่วน ของสังคมไทย และได้ตระหนักถึงภัยคุกคามของปัญหาการทุจริตที่ฝังรากลึกอย่างยาวนาน มีการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองที่สำคัญ ส่งผลให้รัฐบาลที่เข้ามาบริหารประเทศ ต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาการทุจริต อยา่ ง เรง่ ดว่ น ต้งั แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 เปน็ ตน้ มา นอกจากนี้ สำนักงาน ป.ป.ช. ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลให้เป็นหน่วยงานเจ้าภาพหลัก ในการจัดทำแผนงบประมาณลักษณะบูรณาการ เรื่องการป้องกันปราบปรามการทุจริต และประพฤติ มิชอบ แผนงบประมาณดังกล่าว จึงเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญของการบูรณาการการปูองกัน ปราบปราม การทุจริต และประพฤติมิชอบของประเทศไทย กระทั่ง เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2559 คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติ เห็นชอบให้ยกเลิกยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 พ.ศ. 2560 และให้ปรับระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 เป็นปี พ.ศ. 2560 – 2564 โดยยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต มีความสอดคล้องกับเป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และเชื่อมโยง ไปสู่ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีที่ สำคัญจะตอบสนองกับสภาพปัญหาและสถานการณ์การดำเนินงาน ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบัน และความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ในอนาคตด้วยองค์ความรู้ และนวัตกรรมการต่อต้านการทุจริตที่ทันสมัย แผนงบประมาณในลักษณะ
รายงานผลการดำเนินงานหลักสูตรตา้ นทุจรติ ศกึ ษา ๓ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอทับคล้อ บูรณาการ เรื่องการป้องกันปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ จึงได้รับการทบทวนเป้าหมาย แผนงานบูรณาการแนวทางและตัวชี้วัดของแผนงานบูรณาการ ให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกับร่างกรอบ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ความพยายามบูรณาการการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ให้ต่อเนื่องและเป็นทิศทางเดียวกันทั้งประเทศ เพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายของการเป็นประเทศ ที่มีมาตรฐานความโปร่งใส เทียบเท่าระดับสากล จำเป็นต้องดำเนินการจัดทำแผนแม่บทบูรณาการ การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ให้กระทรวง และ ทุกหน่วยงานร่วมกันกำหนดอนาคต และแก้ปัญหาการทุจริตของประเทศไทย ในลักษณะประสาน เชอื่ มโยง แบบเครอื ข่ายทีน่ ำไปสู่การบรรลจุ ดุ ม่งุ หมายในแต่ละชว่ งเวลาอยา่ งบูรณาการ วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีของประเทศไทยว่าด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง หรอื เป็นคติพจน์ประจำชาติวา่ “ม่ันคง ม่งั คัง่ ยงั่ ยืน” และแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐการป้องกันการทุจริต ประพฤติ มิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทยว่าด้วยการขาดธรรมาภิบาลในสังคมไทยทำให้มีการทุจริต ประพฤติมิชอบ ยังเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ ในช่วง 5 ปี จึงจำเป็นที่ต้องเร่งปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ทั้งการบริหาร จัดการภาครัฐให้โปร่งใส มีประสิทธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม มีการกระจายอำนาจ และแบ่งภารกิจรับผิดชอบที่เหมาะสมระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น และวางพื้นฐาน เพื่อให้บรรลุตามกรอบเปูาหมายอนาคตในปี 2579 ดังน้ี 1) เพื่อให้ภาครัฐมีขนาดเล็ก มีการบริหารจัดการที่ดี และได้มาตรฐาน 2) เพื่อให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีการบริหารจัดการ และให้บริการแก่ประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และโปร่งใส ตรวจสอบได้ 3) เพื่อลดปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบของประเทศ 4) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการ ทางกฎหมาย ใหส้ ามารถอำนวยความสะดวกดว้ ยความรวดเร็ว และเป็นธรรมแก่ประชาชน ตามแนวทางการพัฒนาการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพื่อให้สังคมไทย มีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต และยุติธรรม รวมทั้งสร้างความเข้มแข็ง เป็นภูมิคุ้มกัน ของสงั คมไทยใหค้ รอบคลมุ ภาครัฐ ภาคเอกชน องคก์ รพฒั นาเอกชนและภาคประชาชน พร้อมท้งั สรา้ งพลัง การขับเคลอ่ื นค่านิยม ต่อต้านการทุจริต ใหด้ ำเนินการโดย 1. ปลูกฝังให้คนไทยไม่โกง ภาครัฐดำเนินการส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วน มุ่งสร้าง จิตสำนึก ในการรักษาประโยชน์สาธารณะ ทัศนคติเชิงบวก รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรม และ หลักปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียงให้กับทุกกลุ่มในสังคม ผ่านกลไกครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สื่อมวลชน และเครือข่ายทางสังคม ควบคู่กับการปลูกจิตสำนึกความซื่อสัตย์สุจริต ค่านิยมที่ถูกต้อง สร้างความตระหนักถึง ภัยร้ายแรงของการทุจริตและการรู้เท่าทันการทุจริต ของสังคมไทย โดยอาศัยกลไก ทางสงั คมเปน็ มาตรการใน การลงโทษผกู้ ระทำผิด หรอื ผกู้ ระทำการทจุ ริต และประพฤตมิ ชิ อบ
รายงานผลการดำเนนิ งานหลักสูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา ๔ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอทบั คลอ้ 2. การปอ้ งกนั การทจุ รติ ภาครฐั ไดด้ ำเนนิ การ ดังนี้ 1) ปฏิรูปกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ให้มีระบบ ที่ โปร่งใสตรวจสอบได้ และมีประสิทธิภาพต่อการจัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง การจัดซื้อ จัดจ้างและการทำสัญญาอื่น ๆ ที่ภาคเอกชนทำสัญญากับรัฐ ให้มีกฎหมายห้ามมิให้ นำงบประมาณแผน่ ดิน ไปใช้ประชาสัมพันธ์ตนเองในเชิงหาเสียง ไม่ให้มีการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม ในขณะดำรงตำแหน่งที่สามารถใช้อำนาจรัฐได้ และปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร สาธารณะ รวมทั้งการลดการใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รัฐ โดยให้มีการกำหนดขั้นตอน การดำเนินงานกระบวนการ และแนวทางการตัดสินใจ ระยะเวลาแล้วเสร็จ และเอกสารที่ใช้ ในการขออนุญาต หรืออนุมัติจากทางราชการให้ระบบงานทั้งระบบโปร่งใสตรวจสอบได้โดยเฉพาะ โครงการทมี่ คี วามเส่ยี งต่อการทจุ รติ ใหม้ ี การจดั ทำสญั ญาคณุ ธรรม และเพ่มิ บทลงโทษภาคเอกชนด้วย 2) จัดตั้งกองทุนสนับสนุนการต่อต้านการทุจริต การคุ้มครองพยานในคดีทุจริตและ ประพฤติ มิชอบ และเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับรูปแบบกลไกการทุจริตและวิธีการเฝ้าระวังการทุจริต รวมถึง แ น ว ท า ง ก า ร ส น ั บ ส น ุ น ก า ร ส ร ้ า ง ก ิ จ ก ร ร ม ก า ร ป้ อ ง ก ั น ก า ร ท ุ จ ร ิ ต ข อ ง ภ า ค ป ร ะ ช า ช น อ ย ่ า ง ต ่ อ เน ื ่ อ ง ตลอดจน พิจารณารูปแบบการจัดสรรงบประมาณด้านการปูองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติ มชิ อบ ให้มคี วามเหมาะสมและเพยี งพอกับการปฏิบัตงิ านและสถานการณ์การคลังของประเทศ 3) เร่งรัดหน่วยงานภาครัฐให้มีการดำเนินงานในการกำหนดมาตรการปูองกันและ แก้ไข ปัญหา การทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเคร่งครัด โดยติดตามผลการด าเนินงานตามมาตรการ ป้ องกัน และ แกไ้ ขปัญหาการทุจริตและประพฤติมชิ อบของหนว่ ยงานของรัฐอย่างตอ่ เน่อื ง 4) เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งให้แก่ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ให้สามารถเป็น หน่วยงานหลักของภาครัฐในการเฝ้าระวัง ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบที่บูรณา การการทำงานรว่ มกันอยา่ งมีกลยทุ ธ์ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) เป็นห้วงเวลาเดียวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560– 2564) และเม่ือวนั ที่ 30 สงิ หาคม พ.ศ.2559 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีมติเห็นชอบยทุ ธศาสตรว์ ่าด้วย การป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560 – 2564) ฉบับสมบูรณ์ ที่กำหนด วิสัยทัศน์ “ประเทศไทย ใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต ” (Zero Tolerance and Clean Thailand) กำหนดพันธกิจหลักเพื่อสร้าง วัฒนธรรมการต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ทุกภาคส่วน และปฏิรูปกระบวน การป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐานเทียบเท่า สากลผ่านยทุ ธศาสตร์ 6 ดา้ น ได้แก่ 1) สร้าง สงั คมท่ไี มท่ นตอ่ การทุจริต 2) ยกระดับ เจตจำนงทางการเมือง ในการต่อต้านการทุจริต 3) สกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบาย 4) พัฒนาระบบปูองกันการทุจริตเชิงรุก 5) ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต และ 6) ยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต ของประเทศไทย โดยเปูาประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 คือ ประเทศไทยมีค่าดัชนีการรับรู้ การทุจริต (CPI) สูงกว่าร้อยละ 50 เพื่อให้เป็นมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ จากทั้งภายใน และต่างประเทศ รวมทั้งมีการกำหนดแนวทางและกลไกในการดำเนินงานที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
รายงานผลการดำเนนิ งานหลักสตู รตา้ นทุจริตศึกษา ๕ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอทบั คล้อ และตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริตได้อย่างทันท่วงที สำหรับ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชา สังคม รวมถึงภาคส่วนอื่น ๆ ในประเทศไทยสามารถนำไป ปรับใช้ในงานการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต เพื่อให้ประเทศไทยของเราสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างสง่างามท่ามกลางกระแส โลกในปัจจุบัน ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การปูองกันและปราบปราม การทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ในการประชมุ เมอื่ วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559 และเห็นชอบให้ หน่วยงานภาครัฐแปลงแนวทางและมาตรการ ตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการปูองกันและปราบปราม การทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) สู่การปฏิบัติ โดยกำหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี รวมทั้ง สนับสนุนงบประมาณตามแผนงานบูรณาการการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 เป็นต้นไป โดยให้หน่วยงาน ภาครัฐดำเนินการสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ ด้วย ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ ที่ 1 “สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต” ได้มุ่งเน้นให้ความสำคัญกระบวนการปรับสภาพสังคมให้เกิดภาวะ ท่ี “ไม่ทนต่อการทุจริต” โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทุกระดับช่วงวัย (ตั้งแต่ปฐมวัย ถึงระดับอุดมศึกษา) เพื่อสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตและปลูกฝังความพอเพียง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจรติ และมีจิตสาธารณะ ซึ่งเป็นคุณธรรมจริยธรรมปูองกันการทุจริต ยึดประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ประโยชน์ส่วนตน เป็นการดำเนินการผ่านสถาบัน หรือกลุ่มตัวแทน ที่ทำหน้าที่ในการกล่อมเกลาสังคม ให้มีความเป็นพลเมืองที่ดี มีจิตสาธารณะ เสียสละเพื่อส่วนรวมและเสริมสร้างให้ ทุกภาคส่วนมีพฤติกรรม ที่ไม่ยอมรับและต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบ และได้กำหนดกลยุทธ์ 4 กลยุทธ์กล่าวคือ กลยุทธ์ที่ 1 ปรับฐาน ความคิดทกุ ช่วงวยั ตงั้ แต่ปฐมวยั ให้สามารถแยกแยะระหว่าง ผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต กลยุทธ์ที่ 3 ประยุกต์หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือ ต้านทุจริต และกลยุทธ์ที่ 4 เสริมพลังการ มสี ว่ นร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพ่อื ต่อต้านการทุจรติ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงได้มีคำสั่ง ที่ 646/2560 สั่ง ณ วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2560 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกัน การทุจริต ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานด้านการศึกษา และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอน จากทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิจากองค์กร ภาคเอกชน เพื่อดำเนินการจัดทำหลักสูตร หรือชุดการเรียนรู้ และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน นักศึกษาในทุกระดับชั้น ทั้งในส่วนของการศึกษา ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งอาชีวศึกษา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยแต่ละระดับ การศึกษาจัดทำหลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายวิชาเพิ่มเติม การปูองกันการทุจริต) 2. หลักสูตรอุดมศึกษา (วัยใส ใจสะอาด “Youngster with good heart”) 3. หลักสูตรตามแนวทาง รับราชการกลุ่มทหารและตำรวจ 4. หลักสูตรสร้างวิทยากร ผู้น าการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทน ต่อการทจุ รติ และ 5. หลักสูตรโค้ชเพื่อการรูค้ ดิ ต้านทุจริต
รายงานผลการดำเนินงานหลกั สตู รต้านทจุ ริตศึกษา ๖ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทบั คล้อ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัดทำหนังสือเรียน รายวิชาเลือก วิชาการป้องกันการทุจริต หลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 สอดคล้องกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) หลักสูตรที่ 1 หลักสตู รการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (รายวิชาเพมิ่ เติม การป้องกันการทจุ รติ ) สำนักงานงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สำนักงาน ป.ป.ช.) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ดำเนินการจัดทำเป็นสื่อหนังสือเรียน โดยแยกเป็น 3 ระดับชั้น ได้แก่ ระดับประถมศึกษา จำนวน 40 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 80 ชั่วโมง และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 120 ชั่วโมง จัดทำเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนให้แตกต่างกันตามความเหมาะสม และการเรียนรู้ในแต่ละช่วงวัย ซึ่งในหนังสือเรียนแต่ละระดับชั้น จะประกอบด้วย โครงสร้างของรายวิชา โครงสร้างของบทเรียน เนื้อหา และ กิจกรรมเรียงลำดับตามบทเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรม การเรียนรู้ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เฉลย/แนวคำตอบกิจกรรม เรียงตามบทเรียน เพ่ือให้ครูและผู้เรียน การศึกษานอกระบบนำไปปรับใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งมีเนื้อหา ท่ีสำคัญตามโครงสร้างหลกั สตู ร ๔ เรอ่ื ง ได้แก่ ๑) การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๒) ความละอายและความ ไม่ทนตอ่ การทจุ ริต ๓) STRONG : จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจรติ ๔) พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่งนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อปลูกฝังและปูองกันการทุจริต ให้แก่นักเรียน นักศึกษาการศกึ ษานอกระบบทุกระดับ โดยใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน ที่ตอบสนองนโยบายและกลยุทธ์เพื่อให้การพัฒนาประเทศบรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น ประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นการสร้างพลเมืองที่ ซื่อสัตย์สุจริตให้แก่ประเทศชาติปัญหาคอร์รัปชั่นลดลง และดัชนีภาพลักษณ์ คอร์รัปชั่นของประเทศไทย มีค่าคะแนนสูงขึ้น บรรลุตามเปูาประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564)
รายงานผลการดำเนินงานหลกั สตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา ๗ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอทับคลอ้ วตั ถุประสงคใ์ นการใชค้ มู่ อื การใชห้ ลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา 1. เพอื่ ใหผ้ ู้บริหารสถานศกึ ษา สามารถบริหารจัดการหลักสตู รตา้ นทุจรติ ศึกษา (Anti-Corruption Education) ในสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 2. เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา และครู มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) 3. เพื่อให้ครูสามารถนำหลักสูตรต้านทุจรติศึกษา (Anti-Corruption Education) ไปใช้ในการ จดั การเรยี นรูใ้ ห้กับผูเ้ รียน ซ่งึ เป็นการปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม เพอ่ื ป้องกันการทุจรติ ให้แก่ผู้เรยี น 4. เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้ ความเข้าในเกี่ยวกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) การนำหลกั สตู รไปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ หลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา รายวชิ าเลือก วชิ าการปอ้ งกนั การทุจริต สค22022 สาระการพัฒนาสงั คม การนำหลักสูตรไปใช้และการบูรณาการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาในการจัดการเรียนการสอน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ให้ใช้หนังสือเรียนรายวิชาการป้องกันการทุจริต รายวิชาเลือก เป็นสื่อหนังสือเรียน โดยแยกเป็น 3 ระดับชั้น ได้แก่ ระดับประถมศึกษา จำนวน 40 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 80 ชั่วโมง และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 120 ชั่วโมง มีเนื้อหาและกิจกรรมการเรียน การสอนในแต่ละระดับ แตกต่างกันตามความเหมาะสมและการเรียนรู้ในแต่ละช่วงวัย ซึ่งในหนังสือเรียน แต่ละระดับชั้น ประกอบด้วย โครงสร้างของรายวิชา โครงสร้างของบทเรียน เนื้อหา และกิจกรรมเรียง ลำดับตามบทเรียน แบบทดสอบก่อน เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียน เฉลย/แนวคำตอบ กิจกรรมเรียงตามบทเรียน เพื่อให้ครูและผู้เรียนการศึกษา นอกระบบ นำไปปรับใช้ในการเรียนการสอนซึ่งมีเนื้อหาที่สำคัญตามโครงสร้างหลักสูตร 4 เรื่อง ได้แก่ 1) การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม 2) ความละอายและความไม่ทน ต่อการทุจริต 3) STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต และ 4) พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่งนำไปใช้ในการจัดการเรียน การสอน เพื่อปลูกฝังและปูองกันการทุจริต ให้แก่นักเรียนนักศึกษาการศึกษานอกระบบทุกระดับ ให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ กระบวนการ มีสมรรถนะที่สำคัญ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอน ที่ตอบสนองนโยบายและกลยุทธ์เพื่อให้การพัฒนาประเทศบรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง
รายงานผลการดำเนนิ งานหลักสูตรต้านทุจรติ ศึกษา ๘ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอทับคล้อ มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นการสรา้ งพลเมืองทซี่ อ่ื สัตย์สจุ รติ ใหแ้ กป่ ระเทศชาติ หน่วยการเรียนรู้ในหลักสูตรตา้ นทุจริตศกึ ษา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวกับระบบคิดฐานสิบ ระบบคิดฐานสอง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม การคิดแยกแยะ การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในชุมชน สังคม ประเทศชาติ และโลก ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต ผลประโยชน์ทับซ้อน รูปแบบ ของผลประโยชนท์ บั ซ้อน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวกับ ความหมาย ของความละอาย ความไม่ทนต่อการทุจริต และพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความละอาย และความไม่ทนตอ่ การทุจริต หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวกับ STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ ริต ซ่งึ ประกอบด้วย S (Sufficient) : ความพอเพียง หมายถึง ผู้เรียนน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มาประยุกต์เป็นหลักในการทำงาน การดำรงชีวิต การพัฒนาตนเองและส่วนรวม รวมถึงการป้องกันการทุจริต อย่างยั่งยืน ความพอเพียงต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งของมนุษย์ แม้ว่าจะแตกต่างกัน ตามพื้นฐาน แต่การตัดสินใจว่า ความพอเพียงของตนเองต้องตั้งอยู่บนความมีเหตุมีผล รวมทั้ง ต้องไม่เบียดเบียนตนเอง ผู้อื่น และส่วนรวมความพอเพียงจึงเป็นภมู ิคุ้มกนั ให้บุคคลนัน้ ไม่กระทำการทุจรติ ซึง่ ต้องให้ความรคู้ วามเข้าใจและปลกุ ใหต้ ่นื รู้ T (Transparent) : ความโปร่งใส หมายถึง ผู้เรียนต้องปฏิบัติงานบนฐานของ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ จึงต้องมีและปฏิบัติตามหลักปฏิบัติ ระเบียบ ข้อปฏิบัติกฎหมาย ความโปร่งใส ซ่ึงตอ้ งใหค้ วามรู้ ความเข้าใจและปลกุ ให้ต่ืนรู้ R (Realize) : ความต่นื รู้หมายถึง ผ้เู รียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจและตระหนักรู้ ถึงรากเหงา้ ของปัญหา และภัยร้ายแรงของการทุจริตประพฤติมิชอบภายในชุมชน และประเทศ ความตื่นรู้จะบังเกิด เมื่อได้พบเห็นสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อการทุจริต ย่อมจะมีปฏิกิริยาเฝ้าระวังและ ไม่ยินยอมต่อการทุจริต ในที่สุดซึ่งต้อง ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์การทุจริต ที่เกิดขึ้น ความร้ายแรงและผลกระทบ ตอ่ ระดับบคุ คลและสว่ นรวม O (Onward) : มุ่งไปข้างหน้า หมายถึง ผู้เรียนมุ่งพัฒนาและปรับเปลี่ยนตนเอง และ ส่วนรวมให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน บนฐานความโปร่งใส ความพอเพียงและร่วมสร้าง วัฒนธรรมสุจรติ ใหเ้ กิดขนึ้ อย่างไมย่ ่อท้อ ซึง่ ตอ้ งมคี วามรู้ความเขา้ ใจในประเดน็ ดังกล่าว
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรตา้ นทุจริตศกึ ษา ๙ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอทับคลอ้ N (Knowledge) : ความรู้หมายถึง ผู้เรียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถ นำความรู้ ไปใช้วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินได้อย่างถ่องแท้ ในเรื่องสถานการณ์การทุจริต ผลกระทบ ที่มีต่อตนเอง และส่วนรวม ความพอเพียงต้านทุจริต การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม ที่มีความสำคัญ ยิ่งต่อการลดการทุจริตในระยะยาว รวมทั้งความละอาย ไม่กล้าทำทุจริต และความไม่ทน เมอ่ื พบเห็นว่า มกี ารทจุ ริตเกดิ ข้ึน เพอื่ สร้างสงั คมไมท่ นตอ่ การทุจรติ G (Generosity) : ความเอื้ออาทร หมายถึง ผู้เรียนมีความเอื้ออาทร มีเมตตา มีน้ำใจ ต่อกันบนฐานของจิตพอเพียงต้านทุจรติ ไม่เอื้อต่อการรับหรือการใหผ้ ลประโยชนห์ รอื ต่อพวกพ้อง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวกับ หน้าที่ ของพลเมือง ความรับผิดชอบของพลเมือง ต่อตนเอง ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และโลก การเคารพสิทธิ หน้าที่ของตนเอง และผู้อื่น การปฏิบัติตนตามระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย และการปฏิบัติตนเป็นพลเมือง ทีด่ ใี นการป้องกนั การทจุ รติ ตารางชวั่ โมงการจดั การเรียนการสอน รายวชิ าเลือก วชิ าการปอ้ งกนั การทจุ ริต สาระการพัฒนาสังคม ประกอบดว้ ย ๔ หนว่ ยการเรยี นรู้ ดังนี้ 1. การคดิ แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม 2. ความไมท่ นและความอายต่อการทจุ รติ 3. STRONG : จิตพอเพยี งต้านทจุ รติ 4. พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม โดยกำหนดชวั่ โมงการจดั การเรยี นการสอน ดงั น้ี
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา ๑๐ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั คล้อ แนวทางในการดำเนนิ การจดั การเรียนรู้ 1. การลงทะเบยี นเรยี นรายวิชาเลอื ก รายวิชาการป้องกันการทจุ ริต สค22022 สาระการพฒั นาสังคม สถานศกึ ษานำรายวชิ าเลือก รายวิชาปอ้ งกนั การทจุ รติ สูก่ ารปฏิบัติโดยให้ผเู้ รียนลงทะเบียนได้ ตามข้ันตอน ดงั น้ี 1.1 ศกึ ษาหลกั สตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา รายวชิ าเลอื ก รายวชิ าการปอ้ งกนั การทุจรติ สค22022 1.2 ศกึ ษาคู่มือการใชห้ ลกั สูตรตา้ นทจุ รติ ศึกษา รายวิชาเลือก รายวิชาการป้องกันการทจุ รติ สค22022 1.3 วเิ คราะหเ์ นื้อหา ความยากง่าย กำหนดกจิ กรรมการเรียนการสอน ครูจดั ทำแผนการจัด การเรยี นรู้ 1.4 ครูนำแผนการจัดการเรยี นรู้ สู่การจดั การเรียนการสอนในการพบกลมุ่ แต่ละครง้ั 1.5 สถานศึกษาดำเนนิ การวดั และประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 1.6 ตดั สนิ ผลการเรียนแลว้ รายงานผลตอ่ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา 1.7 สถานศึกษาสรปุ ผลการประเมนิ เป็นภาพรวมของสถานศึกษาและรายงานผล ต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา ๑๑ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั คล้อ แผนการดำเนนิ งานการนำหลกั สตู รการตา้ นการทจุ ริตศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั คลอ้ ท่ี กิจกรรม/โครงการ กลุม่ เป้าหมาย วนั ท่ดี ำเนนิ การ ผ้รู ับผดิ ชอบ หมาย เหตุ 1 การจดั การเรียนการสอน นกั ศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 1.นางสาวสมฤทยั หลกั สูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 พงษ์จำนงค์ ครู คศ.1 รายวชิ าเลือก วชิ าการป้องกนั การทจุ รติ สาระการพัฒนาสงั คม ตอนตน้ 2.นายพชิ ชากร จนั ทรม์ ี ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 10 คน ครผู ้ชู ่วย 3.นางสาวดรุณี คงวชิ า 2 การบรู ณาการกับกจิ กรรม นักศึกษา กศน. ครู ศรช. การเรยี นกรสอนและการแสดง อำเภอทบั คลอ้ ภาคเรยี นท่ี 1 ครู กศน.อำเภอทับคลอ้ สญั ลกั ษณต์ ่อตา้ นการทจุ รติ ปกี ารศึกษา 2565 นกั ศึกษา กศน. 3 การบรู ณาการกบั กิจกรรม จำนวน 50 คน ภาคเรียนที่ 1 ครู กศน.อำเภอทับคล้อ พฒั นาผ้เู รียน ดังน้ี ปกี ารศึกษา 2565 - โครงการเสริมสรา้ ง นักศกึ ษา กศน. ภูมคิ ุม้ กนั ยาเสพตดิ จำนวน 120 คน ภาคเรยี นท่ี 1 ครู กศน.อำเภอทบั คล้อ และการค้ามนษุ ย์ ปีการศึกษา 2565 บรรณารักษ์ - โครงการศาสตรพ์ ระราชา นกั ศึกษา กศน. สคู่ วามพอเพียง จำนวน 100 คน ภาคเรียนที่ 1 นักศกึ ษา กศน. ปีการศึกษา 2565 4 การจดั นทิ รรศการและสอ่ื จำนวน 140 คน เพอื่ การเรียนรู้การตา้ นทจุ รติ นักศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 1 1.นางสาวสมฤทัย - ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ จำนวน 10 คน ปีการศกึ ษา 2565 พงษจ์ ำนงค์ ครู คศ.1 ทบั คล้อ - ห้องสมดุ ประชาชน 2.นายพิชชากร จันทรม์ ี “เฉลิมราชกมุ ารี” อำเภอทับคลอ้ ครูผ้ชู ่วย 3.นางสาวดรณุ ี คงวชิ า 5 การประเมินคุณธรรมผูเ้ รยี น ครู ศรช.
รายงานผลการดำเนินงานหลักสูตรต้านทุจรติ ศกึ ษา ๑๒ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอทับคลอ้ 6 การนิเทศ ตดิ ตามผล นกั ศกึ ษา กศน. ภาคเรียนที่ 1 นางสาวนภสั วรรณ อฤุ ทธิ์ การดำเนินงาน อำเภอทบั คลอ้ ปกี ารศกึ ษา 2565 ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอ หลักสตู รตา้ นทจุ ริตศึกษา ทับคล้อ 7 การสรปุ ผล รายงานผล ภาคเรยี นที่ 1 นางสาวสมฤทยั พงษจ์ ำนงค์ การดำเนินงานหลักสูตร ปกี ารศึกษา 2565 ครู คศ.1 ต้านทจุ รติ ศกึ ษา 2. การบรู ณาการการเรยี นสอนกบั สาระการพฒั นาสังคม สถานศึกษาสามารถนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาป้องกันการทุจริต สค22022 สาระการพฒั นาสังคม สกู่ ารปฏิบัติโดยนำ เนือ้ หาบรู ณาการกับสาระการพัฒนาสังคม ดังนี้ 2.1 ศกึ ษาหลกั สตู รต้านทุจรติ ศึกษา 2.2 ศึกษาคู่มือการนำไปใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวชิ าป้องกนั การทุจริต 2.3 ประชุม วางแผนการบรู ณาการร่วมกบั ครูผ้สู อน สาระการพฒั นาสังคม โดยครูผสู้ อน วิเคราะห์ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และเนื้อหา ในกลุ่มสาระการพัฒนาสังคม ที่สอดคล้องกับหลักสูตรต้านทุจริต ศกึ ษาในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรูใ้ นแต่ละระดบั 2.4 กำหนดสาระการเรียนรู้และตัวชี้วัด ที่จะบูรณาการกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชา ป้องกันการทุจรติ สค22022 สาระการพฒั นาสังคม 2.5 ครูผู้สอนศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาป้องกัน การทจุ ริต ในแต่ละระดบั ชั้นทจ่ี ะนำไปบรู ณาการในการจัดการเรยี นการสอน กับกลุ่มสาระการพัฒนาสงั คม 2.6 นำแผนการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาป้ องกันการทุจริต สู่การบูรณาการเขา้ กับเนื้อหาทีจ่ ะสอนในสาระการพฒั นาสังคม 2.7 ครูบูรณาการแผนการจดั การเรียนรู้ สกู่ ารสอนในการพบกลุ่ม 2.8 ครวู ดั และประเมนิ ผลผูเ้ รียนเป็นรายบุคคล 2.9 สรปุ ผลการวดั และประเมินผลผู้เรียนเปน็ รายระดบั และรายงานผลต่อผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา ๑๓ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั คลอ้ 3. การจดั ในกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น สถานศกึ ษานำหลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา สู่การปฏิบัติในกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน สามารถดำเนินการ ตามขนั้ ตอน ดังนี้ 3.1 ศกึ ษาคมู่ ือหลักสตู รตา้ นทุจรติ ศึกษา ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจ 3.2 สถานศึกษาจัดประชุมครูเพื่อชี้แจง สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ตา้ นทุจรติ ศึกษา 3.3 วางแผนการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปจัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งสามารถออกแบบ กิจกรรมที่สามารถนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปจัดให้สอดคล้องและเกิดผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร 3.3.1 กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ค่ี วรนำไปจดั กจิ กรรมการเรยี น ไดแ้ ก่ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทุจริต หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 พลเมืองกบั ความรับผิดชอบต่อสังคม 3.3.2 กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยการเรียนรู้ที่ควรนำไป จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 STRONG : จติ พอเพียงต้านทจุ ริต หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสงั คม 3.3.3 กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมอาสายุวกาชาด หน่วยการเรียนรู้ที่ควรนำไปจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ได้แก่ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ รติ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบตอ่ สังคม 3.3.4 กิจกรรมจิตอาสา “เราทำความดีด้วยหัวใจ” หน่วยการเรียนรู้ที่ควรนำไปจัดกิจกรรม การเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4 พลเมืองกับความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรตา้ นทุจริตศึกษา ๑๔ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทับคล้อ 3.3.5 กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาอาชีพ หน่วยการเรียนรู้ที่ควรนำไปจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ไดแ้ ก่ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 พลเมอื งกับความรับผิดชอบตอ่ สงั คม 3.3.6 กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ควรนำไปจัด กิจกรรมการเรียน การสอน ได้แก่ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจรติ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม 3.3.7 กิจกรรมการเรียนรู้ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและกฎหมาย ท่ีเกีย่ วขอ้ งในชีวิตประจำวัน หน่วยการเรียนรทู้ ค่ี วรนำไปจัดกิจกรรมการเรยี น ได้แก่ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ รติ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 พลเมืองกับความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม การนำหลกั สตู รตา้ นทจุ ริตศึกษาไปใชใ้ นกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น หลักสูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา โครงการเสรมิ สรา้ งภูมคิ มุ้ กันยาเสพตดิ และการคา้ มนุษย์ หน่วยที่ 4 พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม เนื้อหา โครงการเรียนร้ศู าสตร์พระราชาสคู่ วามพอเพียง - ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย - แนวทางการปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองท่ดี ี หนว่ ยที่ 3 STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต เนือ้ หา - ความพอเพียง - ความตน่ื รู้และความรู้ - ความเอ้อื อาทร
รายงานผลการดำเนนิ งานหลักสตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา ๑๕ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอทับคล้อ แผนการนเิ ทศการจดั การเรียนการสอนหลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา และการแสดงสญั ลักษณต์ อ่ ตา้ นการทจุ รติ ท่ี วนั ท่ี กศน.ตำบล สถานท่ี เวลา หมายเหตุ 1 14 มิถุนายน 2565 กศน.ตำบลเขาเจด็ ลกู กศน.ตำบลเขาเจ็ดลูก 10.30 น. 2 14 มิถุนายน 2565 กศน.ตำบลทบั คลอ้ กศน.ตำบลทับคลอ้ 11.00 น. 3 15 มิถนุ ายน 2565 กศน.ตำบลทา้ ยทุ่ง กศน.ตำบลทา้ ยทุ่ง 10.00 น. 4 15 มิถุนายน 2565 กศน.ตำบลเขาทราย กศน.ตำบลเขาทราย 11.00 น.
รายงานผลการดำเนินงานหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา ๑๖ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทับคล้อ ภาพกิจกรรม ดา้ นการกำหนดนโยบายการบรหิ ารการจัดการสถานศกึ ษา นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ได้ประชุมบุคลากร กศน.อำเภอทับคล้อ เพือ่ วางแผนการนำหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษาไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้
รายงานผลการดำเนินงานหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา ๑๗ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทับคล้อ ภาพกิจกรรม ดา้ นการกำหนดนโยบายการบรหิ ารการจัดการสถานศกึ ษา นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ได้ประชุมบุคลากร กศน.อำเภอทับคล้อ เพือ่ วางแผนการนำหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษาไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้
รายงานผลการดำเนินงานหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา ๑๘ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทับคล้อ ภาพกิจกรรม ดา้ นการกำหนดนโยบายการบรหิ ารการจัดการสถานศกึ ษา นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ได้ประชุมบุคลากร กศน.อำเภอทับคล้อ เพือ่ วางแผนการนำหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษาไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้
รายงานผลการดำเนนิ งานหลักสูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา ๑๙ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอทบั คลอ้ แตง่ ต้ังคณะกรรมการดำเนินงานขับเคล่อื นหลักสูตรตา้ นทุจริตศึกษา นางสาวนภสั วรรณ อุฤทธ์ิ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอทับคลอ้ ประชมุ บุคลากร กศน.อำเภอทับคล้อ ตามคำสั่งที่ 77/2565 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับคล้อ เร่ือง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ งานขบั เคล่อื นหลักสูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา ประชมุ ชี้แจงแผนการนิเทศการดำเนนิ งานหลักสูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ประชุมชี้แจงบุคลากร กศน.อำเภอ ทับคล้อ แจ้งนโยบายการนิเทศติดตามผลการดำเนินงานหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เพื่อวางแผน การปฏบิ ัติงานและรับทราบปัญหาอุปสรรคในการดำเนนิ งาน
รายงานผลการดำเนินงานหลกั สูตรตา้ นทุจริตศึกษา ๒๐ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั คลอ้ ภาพกิจกรรม ด้านการวางแผนจดั การเรยี นรู้การนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ได้มอบหมายให้คณะครูวางแผน การจดั กระบวนการเรยี นรู้
รายงานผลการดำเนนิ งานหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ๒๑ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทบั คล้อ ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอนหลกั สตู รตา้ นการทุจริตศึกษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับคล้อ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ได้มอบหมายให้ครูผู้สอน จัดการเรียนการสอนหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาการป้องกันการทุจริต สค22022 สาระการพัฒนา สังคม และบรู ณาการกบั รายวิชาอืน่ ๆ
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรต้านทุจริตศึกษา ๒๒ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทบั คล้อ ภาพกิจกรรมการเรยี นการสอนหลกั สูตรตา้ นการทุจรติ ศึกษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทับคลอ้ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ได้มอบหมายให้ครูผู้สอน จัดการเรียนการสอนหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาการป้องกันการทุจริต สค22022 สาระการพัฒนา สังคม
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรต้านทุจริตศึกษา ๒๓ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทบั คล้อ ภาพกิจกรรมการเรยี นการสอนหลกั สูตรตา้ นการทุจรติ ศึกษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทับคลอ้ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ได้มอบหมายให้ครูผู้สอน จัดการเรียนการสอนหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาการป้องกันการทุจริต สค22022 สาระการพัฒนา สังคม
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรต้านทุจริตศึกษา ๒๔ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทบั คล้อ ภาพกิจกรรมการเรยี นการสอนหลกั สูตรตา้ นการทุจรติ ศึกษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทับคลอ้ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ได้มอบหมายให้ครูผู้สอน จัดการเรียนการสอนหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาการป้องกันการทุจริต สค22022 สาระการพัฒนา สังคม
รายงานผลการดำเนินงานหลักสตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา ๒๕ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอทับคลอ้ ภาพกจิ กรรมการนิเทศและติดตามผลการบูรณาการ กับกจิ กรรมการเรียนการสอนและการแสดงสัญลักษณ์ต่อต้านการทจุ รติ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั คลอ้ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ลงพื้นที่ นิเทศ และติดตามผล การบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอน และการแสดงสัญลักษณ์ต่อต้านการทุจริต ในวันที่ 14 มิถุนายน 2565 ณ กศน.ตำบลทับคลอ้ อำเภอทับคล้อ จังหวัดพจิ ิตร
รายงานผลการดำเนินงานหลักสูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา ๒๖ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอทับคลอ้ ภาพกิจกรรมการนิเทศและติดตามผลการบูรณาการ กับกิจกรรมการเรียนการสอนและการแสดงสญั ลกั ษณต์ ่อตา้ นการทจุ รติ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทับคล้อ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ลงพื้นที่ นิเทศ และติดตามผล การบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอน และการแสดงสัญลักษณ์ต่อต้านการทุจริต ในวันที่ 14 มิถุนายน 2565 ณ กศน.ตำบลเขาเจด็ ลกู อำเภอทบั คลอ้ จงั หวดั พิจิตร
รายงานผลการดำเนนิ งานหลักสูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา ๒๗ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอทับคลอ้ ภาพกิจกรรมการนิเทศและติดตามผลการบรู ณาการ กับกจิ กรรมการเรยี นการสอนและการแสดงสญั ลกั ษณ์ตอ่ ต้านการทุจรติ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั คลอ้ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ลงพื้นที่ นิเทศ และติดตามผล การบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอน และการแสดงสัญลักษณ์ต่อต้านการทุจริต ในวันที่ 15 มิถุนายน 2565 ณ กศน.ตำบลเขาทราย อำเภอทบั คล้อ จังหวดั พิจิตร
รายงานผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา ๒๘ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอทับคลอ้ ภาพกิจกรรมการนเิ ทศและตดิ ตามผลการบรู ณาการ กบั กจิ กรรมการเรียนการสอนและการแสดงสญั ลกั ษณ์ตอ่ ต้านการทจุ รติ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทบั คล้อ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ ลงพื้นที่ นิเทศ และติดตามผล การบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอน และการแสดงสัญลักษณ์ต่อต้านการทุจริต ในวันที่ 15 มิถุนายน 2565 ณ กศน.ตำบลทา้ ยท่งุ อำเภอทบั คลอ้ จงั หวัดพิจิตร
รายงานผลการดำเนินงานหลักสูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา ๒๙ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทับคลอ้ ภาพกจิ กรรมการนิเทศและติดตามผลการบรู ณาการ กบั กิจกรรมการเรียนการสอนและการแสดงสัญลกั ษณ์ตอ่ ต้านการทจุ รติ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับคล้อ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ บรรยายพิเศษบูรณาการหลักสูตร ต้านทุจริตศึกษา เรื่องพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม (หน่วยที่ 4) และการแสดงสัญลักษณ์ ต่อต้านการทุจริต ในวันที่ 16 มิถุนายน 2565 ณ หอประชุม พ.อ.หญิง ดร.สมสมัย อำเภอทับคล้อ จังหวดั พิจิตร
รายงานผลการดำเนินงานหลักสูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา ๓๐ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอทบั คลอ้ สรุปและรายงานผลการนเิ ทศดำเนินงานหลักสูตรต้านทจุ ริตศึกษา นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ และคณะนิเทศ ประชุมบุคลากร กศน.อำเภอทบั คลอ้ ตดิ ตามผลการดำเนินงานและสรปุ ผลการนเิ ทศการนำหลกั สตู รการต้านทจุ รติ ศึกษา
รายงานผลการดำเนินงานหลักสตู รตา้ นทจุ ริตศกึ ษา ๓๑ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอทับคล้อ คณะผูจ้ ดั ทำ ทปี่ รึกษา/วิชาการ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอทบั คลอ้ นางสาวนภสั วรรณ อฤุ ทธิ์ คณะผู้จดั ทำ ครู คศ.1 นางสาวสมฤทัย พงษจ์ ำนงค์ ครผู ู้ช่วย นายพิชชากร จนั ทรม์ ี ครอู าสาสมัครฯ นางสาวอจั ฉราวรรณ์ หมอกขุนทศ ครูอาสาสมัครฯ นางสาวปภากาญจน์ จันทรจ์ นิ ดา ครู กศน.ตำบล นายเจตนส์ ฤษฎ์ิพงศ์ รัตนบวรกรกลู ครู กศน.ตำบล นางสาวนภสร ออ่ นละมยั ครู กศน.ตำบล นางเกศกัญญา ทาสดี า ครู กศน.ตำบล นายยทุ ธภูมิ ทองสรวง ครู ศรช. นางสาวดรุณี คงวชิ า ครู คศ.1 ผูพ้ ิมพ์ตน้ ฉบบั /รปู เลม่ นางสาวสมฤทัย พงษ์จำนงค์
รายงานผลการดำเนินงานหลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา ๓๒ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั คลอ้ ภาคผนวก
รายงานผลกา การนำหลักสูตรต้านทุจริ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึ
ารดำเนินงาน ริตศึกษาไปใช้จัดกิจกรรม ศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับคล้อ
วัตถุปร 1. เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา สามา (Anti-Corruption Education) ในสถ 2. เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา และค หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Co 3. เพื่อให้ครูสามารถนำหลักสูตรต้าน ไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรีย เพื่อป้องกันการทุจริตให้แก่ผู้เรียน 4. เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้ ความเข้ (Anti-Corruption Education)
ระสงค์ ารถบริหารจัดการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครู มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ orruption Education) นทุจรติศึกษา (Anti-Corruption Education) ยน ซึ่งเป็นการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ข้าในเกี่ยวกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา
ด้านการกำหนดนโยบายการบ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำ ได้ประชุมบุคลากร กศน.อำเภอทับคล้อ เพื่อวางแผนการ
บริหารการจัดการสถานศึกษา อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ รนำหลักสูตรต้านทุจริตศึ กษาไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้
ด้านการกำหนดนโยบายการบ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำ ได้ประชุมบุคลากร กศน.อำเภอทับคล้อ เพื่อวางแผนการ
บริหารการจัดการสถานศึกษา อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ รนำหลักสูตรต้านทุจริตศึ กษาไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้
ด้านการกำหนดนโยบายการบ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำ ได้ประชุมบุคลากร กศน.อำเภอทับคล้อ เพื่อวางแผนการ
บริหารการจัดการสถานศึกษา อำนวยการ กศน.อำเภอทับคล้อ รนำหลักสูตรต้านทุจริตศึ กษาไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้
แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานขั นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำ ตามคำสั่งที่ 77/2565 ของศูนย์การศึกษานอก เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงา
ขับเคลื่อนหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา อำเภอทับคล้อ ประชุมบุคลากร กศน.อำเภอทับคล้อ กระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับคล้อ านขับเคลื่อนหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา
ประชุมชี้แจงแผนการนิเทศการดำ นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภ แจ้งนโยบายการนิเทศติดตามผลการดำเนิน การปฏิบัติงานและรับทราบปั
ดำเนินงานหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ภอทับคล้อ ประชุมชี้แจงบุคลากร กศน.อำเภอทับคล้อ นงานหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เพื่อวางแผน ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน
การวางแผนจัดการเรียนรู้การนำหลักสูต นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ วางแผนการจัดกร
Search