Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แฟ้มประเมินครูผู้ช่วย ครั้งที่ 4

แฟ้มประเมินครูผู้ช่วย ครั้งที่ 4

Description: แฟ้มประเมินครูผู้ช่วย ครั้งที่ 4

Search

Read the Text Version

คำนำ ตามท่ี ข้าพเจา้ นางสาวสมฤทยั พงษ์จานงค์ ไดร้ ับคดั เลือกเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย กรณีท่ีมีความจาเป็นหรือมีเหตุพิเศษ สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับคล้อ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตาแหน่งเลขที่ ๑๔๕๒ รับเงินเดือนในอันดับครูผู้ช่วย ขั้น ๑๗,๑๓๐ บาท นั้น ตามหนังสือ สานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๗/ว๑๙ ลงวันท่ี ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๑ เร่ืองหลักเกณฑ์และวิธีการเตรียมความพร้อมและพัฒนา อย่างเข้ม ตาแหน่งครูผู้ช่วย ก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง ครู นั้น ได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ เตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มสาหรับผู้ดารงตาแหน่ง ครูผู้ช่วย ก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง ครู เพ่ือเป็นการเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะและบุคลิกลักษณะในการปฎิบัติวิชาชีพ ท้ังการปฎิบัติงานและปฎิบัติตน ที่เหมาะสมกบั วิชาชีพครู โดยกาหนดให้มีการประเมินการเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้มครูผชู้ ว่ ย ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอทับคลอ้ ได้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว โดยได้แต่งต้ังคณะกรรมการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตามหนังสือ คาสั่งสานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธกิ าร ที่ ๕๒๙/๒๕๖๒ ลงวนั ท่ี ๖ มีนาคม ๒๕๖๒ ซ่ึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการเตรียมความพร้อมและพัฒนา อย่างเข้ม ในการให้คาปรึกษา แนะนาการปฏิบัติตนและปฏิบัติงานให้มีคุณลักษณะในหน้าท่ีความรับผิดชอบ ตามมาตรฐานที่ ก.ค.ศ.กาหนด พร้อมทั้งประเมินผลการปฏิบัติตนและการปฏิบัติงานควบคากันเป็นระยะๆ อย่างตอ่ เนื่องทุก ๖ เดือน รวม ๔ ครง้ั เป็นเวลา ๒ ปี ขา้ พเจา้ จงึ ไดด้ าเนนิ การจัดทาเอกสารเลม่ นข้ี นึ้ มาเพ่อื เปน็ การรวบรวมผลงานและกิจกรรมต่างๆ ระหว่าง ดารงตาแหน่ง ครูผู้ช่วย ซึ่งเป็นการนาเสนอให้เห็นถึงการเพิ่มพูน ความรู้ ทักษะและบุคลิกลักษณะ การปฏิบัติตนและการปฏิบัติงานท่ีเหมาะสมกับวิชาชีพครู ทั้งนี้เพื่อเป็นเอกสารประกอบการประเมินการเตรียม ความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มครูผู้ช่วยและประกอบการพิจารณาในโอกาสอื่นๆ ต่อไปหากมีข้อผิดพลาด หรือบกพรอ่ งประการใด ขอกราบอภัย ไว้ ณ ทน่ี ้ีด้วย นางสาวสมฤทยั พงษ์จานงค์ ครผู ูช้ ่วย

สำรสบำัญรบัญ เรอ่ื ง หนำ้ คานา สารบัญ ๑ ขอ้ มูลประวัติสว่ นตัว ๔ การปฏบิ ัติตน ๓๔ การปฎบิ ตั ิงาน ๕๔ งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย/คาสัง่ ๖๑ สรุปผลงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย ๗๘ การพฒั นาตนเอง ๘๐ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ภาคผนวก ภาพกจิ กรรม คาสั่ง เกียรติบตั ร

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ของครผู ชู้ ่วย ครงั้ ท่ี ๔ วนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอทบั คล้อ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพิจติ ร สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑.ข้อมูลประวัตสิ ว่ นตัว ๑.๑ ช่ือ นางสาวสมฤทยั นามสกุล พงษจ์ านงค์ ๑.๒ เกดิ วนั ท่ี ๑๘ เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๓๓ ๑.๓ ตาแหน่ง ครผู ู้ช่วย สังกดั ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอทับคล้อ ๑.๔ ตาแหน่งเลขที่ ๑๔๕๒ ๑.๕ รับเงนิ เดือนในอันดบั ครผู ้ชู ่วย ข้นั ๑๗,๑๓๐ บาท ๑.๖ ทีอ่ ย่ปู จั จุบัน บา้ นเลขที่ ๑๒๖ หมูท่ ี่ ๒ ตาบลชลี อง อาเภอเมอื ง จงั หวัดชยั ภูมิ ๓๖๐๐๐ ๑.๗ โทรศัพท์ ๐๖๓-๙๓๐๕๔๖๖ ๑.๘ E-mail [email protected] ๑.๙ Line maii-mm ๒. ข้อมลู ประวตั ิการศึกษา วุฒกิ ารศกึ ษา วชิ าเอก/โท/สาขา ปีทส่ี าเร็จการศึกษา สถาบนั การศึกษา ประถมศกึ ษา - ๒๕๔๐ โรงเรียนชุมชนบัวบานสามัคคี อาเภอ จตั ุรัส จงั หวดั ชัยภูมิ มัธยมศึกษาตอนตน้ - ๒๕๔๓ โรงเรียนจัตรุ สั วทิ ยาคาร อาเภอ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิทย์ - คณติ ๒๕๔๖ จัตรุ ัส จงั หวัดชยั ภมู ิ โรงเรียนบาเหน็จณรงคว์ ิทยาคม ปรญิ ญาตรี สาขาเทคโนโลยี ๒๕๕๕ อาเภอบาเหนจ็ ณรงค์ จังหวัดชยั ภมู ิ และส่ือสารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะศกึ ษาศาสตร์ จงั หวดั มหาสารคาม ๑

๓.ประวตั ิการทางาน ตาแหน่ง สถานท่ีทางาน ครูศูนย์การเรยี นชมุ ชน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา วนั -เดอื น-ปี ตามอัธยาศยั อาเภอเนนิ สง่า จงั หวัดชัยภูมิ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ – ครูผชู้ ว่ ย ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ตามอธั ยาศยั อาเภอทับคล้อ จังหวัดพจิ ติ ร ปัจจุบัน ๔. ความรู้ความสามารถพิเศษ ด้านคอมพวิ เตอร์ ๑. ออกแบบงานกราฟิก โดยใชโ้ ปรแกรม - Adobe Photoshop - Adobe Indesign ๒. ตัดตอ่ วดี โี อ โดยใชโ้ ปรแกรม - Adobe Premiere Pro - Movavi video editor plus ๕. งานท่ีได้รับมอบหมาย ๑. การปฎิบตั หิ น้าที่สอน ๑.๑ จดั กระบวนการเรียนการสอน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตาบลทับคล้อ การส่งเสริม การเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จัดอบรมสั่งสอน และจัดกิจกรรม เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ ปฏิบัติงานเก่ียวกับการจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน รับผิดชอบต่อการสอน สอนนักศึกษาให้สามารถมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ โดยสรรหากระบวนการเรียนการสอนให้หลากหลายเพ่ือให้นักศึกษาสามารถ เรยี นรแู้ ละมีความรดู้ ี ทกั ษะเยย่ี ม เปยี่ มดว้ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรมทพี่ ึงประสงค์ ๒

๒. การปฎิบตั ิหน้าทอ่ี น่ื ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ๒.๑ หัวหน้างานการศกึ ษานอกระบบ มหี น้าทร่ี ับผดิ ชอบเก่ียวกับ การศึกษาพืน้ ฐานนอกระบบ ได้แก่ วิธีเรยี นทางไกล วธิ เี รียนพบกลุ่ม จัดทาขอ้ มูลรายบุคคล การจดั ทาเอกสารข้นึ ทะเบียน ลงทะเบยี น การจัดการศกึ ษา ข้นั พ้นื ฐาน การลงขอ้ มลู IT งานโปรแกรม GPA/PR การจัดทาแฟูมทะเบยี นประวัติ นักศกึ ษาทกุ ระดับชนั้ การตรวจสอบวฒุ ินักศึกษา การขอจบหลกั สูตร จัดทาใบระเบียนแสดงผลการเรยี น พร้อมทงั้ สรุปรายงานผล การดาเนินงานเกี่ยวกับ การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน และงานอ่นื ๆ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย ๒.๓ หวั หน้างานทะเบยี นและวัดผล มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ ทาหนา้ ทีเ่ ป็นนายทะเบียน กากับติดตาม ตรวจสอบ จัดทาข้อมูล การลงโปรมแกรม IT งานโปรแกรม GPA/PR ๒.๔ หวั หน้างานประชาสัมพันธ์ มหี นา้ ท่รี บั ผิดชอบ เกี่ยวกับการประชาสัมพนั ธต์ ่าง ๆ ของหนว่ ยงานตนเองและหนว่ ยงาน อน่ื ตามทไ่ี ด้ขอรบั มอบหมาย ๓

ด้านการปฏบิ ตั ติ น ๔

ด้านการปฏบิ ตั ิตน ๑. วินยั และการรักษาวนิ ัย ๑.๑ การแสดงออกทางอารมณ์ กริ ยิ า ทา่ ทาง และพูดสื่อสารได้เหมาะสมกบั กาลเทศะต่อผู้เรียน ๑.๒ การแสดงออกทางอารมณ์ กริ ยิ าทา่ ทาง และพูดส่อื สารไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลอื่น ๑.๓ การมีเจตคตเิ ชงิ บวกกบั ประเทศชาติ ๑.๔ การปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ หลักเกณฑท์ ี่เก่ยี วขอ้ งกบั ความเป็นขา้ ราชการ ๑.๕ การปฏิบัตติ ามกฎ ระเบยี บ หลกั เกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้องกบั ความเปน็ ข้าราชการครู ๑.๖ การปฏิบัติตามกฎหมาย ๕

องค์ประกอบท่ี ๑ การประเมินผลการปฏบิ ัตติ น ๑.วินัยและการรักษาวนิ ัย ๑.๑ การแสดงออกทางอารมณ์ กิรยิ า ทา่ ทาง และพดู ส่ือสารไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะต่อผเู้ รยี น ข้าพเจา้ แสดงออกทางอารมณ์ มีกรยิ า ท่าทาง และการสอ่ื สารเหมาะสมกบั กาลเทศะตอ่ ผู้เรียน เชน่ การพดู จาไพเราะ ประพฤติปฎบิ ตั ติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดแี กล่ ูกศิษย์ มีความเมตตา กรุณาตอ่ ศิษย์ ๖

๑.๒ การแสดงออกทางอารมณ์กริ ิยาท่าทางและพดู สื่อสารได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ ตอ่ ผบู้ งั คบั บัญชา เพื่อนร่วมงานผ้ปู กครองและบคุ คลอนื่ ขา้ พเจา้ มีการแสดงออกทางอารมณ์ มกี รยิ า ทา่ ทาง และการสือ่ สารได้เหมาะสม กบั กาลเทศะ ตอ่ ผู้บงั คับบญั ชา เพือ่ นร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลอืน่ เชน่ พดู จาไพเราะ มีสมั มาคารวะออ่ นนอ้ ม ถ่อมตน เช่อื ฟังและปฏิบัตติ ามคาส่งั ของผู้บังคบั บัญชา ๑.๓ การมเี จตคติเชิงบวกกับประเทศชาติ ขา้ พเจ้าปฏิบตั ติ น เปน็ ผู้มคี ุณธรรม จริยธรรม เพื่อการเปน็ ครูที่ดี ประกอบด้วยคุณงาม ความดี ซ่งึ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของขา้ ราชการ เปน็ พลเมืองท่ดี ีตามหลกั ธรรมาภิบาล เชน่ มคี วามเสยี สละ มีน้าใจ มีความยตุ ิธรรม มจี ติ สานกึ มคี วามรับผิดชอบตอ่ สว่ นรวม มมี ารยาทที่ดี มีความรักและเมตตาตอ่ ศิษยเ์ พือ่ เป็นกาลังในการขบั เคลอื่ นการศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพและพัฒนาประเทศชาตใิ ห้มีความเจรญิ กา้ วหนา้ ๗

๑.๔ การปฏิบัตติ ามกฎ ระเบียบ หลกั เกณฑท์ ่ีเกี่ยวข้องกับความเป็นข้าราชการ ขา้ พเจา้ ปฏิบัติตนตามกฎหมาย ระเบยี บแบบแผน หลักเกณฑ์และวิธกี ารปฏิบตั ริ าชการ โดยเป็น บคุ คลที่เคารพและปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย รกั ษาระเบียบวินัยของทางราชการ กระทาตนเปน็ แบบอย่างที่ดี มีหลกั ในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ขี องครอู ย่างชัดเจนยุตธิ รรม ๑.๕ การปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบยี บ หลักเกณฑ์ทีเ่ กี่ยวข้องกับความเป็นข้าราชการครู ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามกฎหมายและกระทาตนให้เป็นประโยชนต์ อ่ สังคม ปฏบิ ัตหิ นา้ ทท่ี ีไ่ ดร้ ับ มอบหมายจนบรรลเุ ปูาหมายหนา้ ท่ีขา้ ราชการ ในฐานะเปน็ พลเมอื งท่ดี ี เปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีในการรกั ษาวินัย ปฏิบตั หิ นา้ ทีร่ าชการ รักษาผลประโยชน์ สนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีของ พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ดว้ ยความบรสิ ุทธ์ิใจ ๘

๑.๖ การปฏิบัตติ ามกฎหมาย ข้าพเจ้ารักษาวินัยท่ีเป็นข้อห้ามและข้อปฏิบัติอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ ปฎิบัติตนตามกฎหมาย เคารพกฎหมาย รักษาไว้ซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย เพื่อการ อยู่รว่ มกนั ในสังคม ๙

ด้านการปฏบิ ตั ติ น ๒. คุณธรรม จริยธรรม ๒.๑ การปฏิบัตติ นตามหลกั ศาสนาที่นบั ถอื อย่างเครง่ ครัด ๒.๒ การเขา้ ร่วม ส่งเสรมิ สนบั สนุนศาสนากิจของศาสนาทนี่ บั ถอื อย่างสม่าเสมอ ๒.๓ การเห็นความสาคญั เข้ารว่ ม สง่ เสริม สนับสนุน เคารพกิจกรรมทแ่ี สดงถงึ จารีตประเพณี วิฒนธรรม ทอ้ งถิน่ หรือชุมชน ๒.๔ การเหน็ ความสาคญั เข้ารว่ ม สง่ เสรมิ สนับสนุน กจิ กรรมท่แี สดงถงึ จารีต ประเพณี วัฒนธรรมของชาติ ๒.๕ การมีจิตบรกิ าร และจิตสาธารณะ ๒.๖ การตอ่ ตา้ นการกระทาของบคุ คลหรือกลุ่มบคุ คลทส่ี ่งผลต่อความมน่ั คงของชาติหรอื ผลกระทบเชิงลบตอ่ สังคมโดยรวม ๑๐

๒. คุณธรรม จรยิ ธรรม ๒.๑ การปฏบิ ัตติ นตามหลักศาสนาทน่ี บั ถอื อยา่ งเครง่ ครัด ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเปน็ ผู้มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เพอื่ การเปน็ ครทู ี่ดี ประกอบคุณงามความดี ซ่งึ กระทา ด้วยความสานกึ ในจติ ใจ นาหลักธรรมมาปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนา เข้าวัดทาบญุ ตักบาตรสวดมนต์ไหว้พระ หรือวนั สาคัญทางพระพุทธศาสนา ๒.๒ การเขา้ ร่วม สง่ เสริม สนบั สนุน ศาสนกจิ ของศาสนาท่ีนบั ถืออยา่ งสม่าเสมอ ขา้ พเจ้าปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา และปฏบิ ัตติ ามขนบธรรมเนียมประเพณี การบาเพ็ญประโยชน์ พูดจาไพเราะอ่อนหวาน วางตนใหเ้ หมาะสม ๑๑

๒.๓ การเหน็ ความสาคัญ เขา้ ร่วม ส่งเสริม สนับสนุน เคารพกจิ กรรมท่ีแสดงถึง จารีตประเพณี วฒั นธรรมทอ้ งถิ่นหรอื ชุมชน ขา้ พเจา้ เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาและวนั สาคัญตา่ งๆ ทางศาสนา รักษาขนบธรรมเนียมการปฏิบัติ ท่ดี ีงามของไทย สง่ เสรมิ ให้เหน็ คณุ ค่าของประเพณีไทย สง่ เสรมิ ใหใ้ ช้ศิลปวัฒนธรรมเป็นส่อื กลางในการสรา้ ง ความสมั พันธ์ ๒.๔ การเห็นความสาคัญ เข้าร่วม สง่ เสริม สนบั สนนุ กจิ กรรมทแ่ี สดงถงึ จารีต ประเพณี วฒั นธรรมของชาติ ข้าพเจ้ามีความภาคภูมิใจในศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรมของชาติ สบื สานวัฒนธรรม ประเพณีใหค้ งอยู่ อย่างยง่ั ยืน อยูร่ ่วมกนั อยา่ งสมานฉันท์ ๑๒

๒.๕ การมจี ติ บริการและจิตสาธารณะ ข้าพเจา้ มีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผอู้ ่นื กระตอื รอื รน้ ที่จะมสี ่วนรว่ มในสังคมดว้ ยความเต็มใจ มองผูอ้ นื่ ในแงด่ ี มีจิตอาสาในการรว่ มงานกบั ส่วนรวม ๒.๖ การตอ่ ต้านการกระทาของบคุ คลหรือกลุม่ บคุ คลทีส่ ง่ ผลตอ่ ความม่ันคงของชาติหรือ ผลกระทบเชิงลบต่อสังคมโดยรวม ขา้ พเจ้ายดึ มน่ั ในหลักธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา เปน็ แบบอยา่ งที่ดใี หแ้ กศ่ ิษย์ เพ่อื นร่วมงาน และบุคคลอ่นื ๆ อดทน เสียสละเพ่ือสว่ นรวม ดารงชวี ติ ตามทางสายกลาง ๑๓

ด้านการปฏบิ ัติตน ๓. จรรยาบรรณวิชาชีพ ๓.๑ การพัฒนาวชิ าชพี และบุคลิกภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๓.๒ การมวี สิ ัยทัศน์ รแู้ ละเขา้ ใจสนใจ ตดิ ตามความเปล่ยี นแปลงดา้ นวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง ของไทย และนานาชาติในปจั จบุ ัน ๓.๓ การไมอ่ าศยั วิชาชีพแสวงหาผลประโยชน์ที่ไม่ถกู ต้อง ๓.๔ การมุ่งม่นั ต่อการพฒั นาความร้คู วามสามารถของผ้เู รยี น ๓.๕ การให้ความสาคัญตอ่ การเข้ารว่ มส่งเสรมิ สนบั สนนุ กจิ กรรมท่เี กย่ี วขอ้ งกบั วิชาชีพครอู ย่างสม่าเสมอ ๓.๖ รัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลอื ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้บริการผู้เรยี นทุกคน ดว้ ยความเสมอภาค ๓.๗ การประพฤตปิ ฎบิ ัตติ นเปน็ ท่ยี อมรับของผเู้ รยี น ผบู้ รหิ าร เพือ่ นร่วมงาน ผู้ปกครอง และชมุ ชน ๓.๘ การไมป่ ฏบิ ัติตนทส่ี ง่ ผลเชงิ ลบตอ่ กายและใจของผเู้ รียน ๓.๙ การทางานกับผอู้ ื่นได้โดยยึดหลักความสามัคคี เก้อื กูลซ่ึงกนั และกัน ๓.๑๐ การใชค้ วามรู้ความสามารถที่มอี ยู่ นาให้เกิดความเปล่ยี นแปลงในทางพฒั นาใหก้ ับผูเ้ รยี น โรงเรียน หรือชุมชนในดา้ นใดด้านหนง่ึ (ดา้ นการอนรุ กั ษศ์ ลิ ปวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญา และส่ิงแวดลอ้ ม) ๓.๑๑ การยึดม่นั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข ๑๔

๓. จรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓.๑ การพฒั นาวิชาชพี และบุคลกิ ภาพอย่างต่อเนอื่ ง ขา้ พเจา้ ปฏิบตั ิตนเหมาะสมกับความเปน็ ครู มบี คุ ลิกภาพทด่ี ี มีคุณธรรม ลกั ษณะของครทู ี่ดีและ มเี จตคติทดี่ กี ับนกั เรยี นตามจรรยาบรรณ วชิ าชพี ครูและมีการพัฒนาตนเองให้เป็นทย่ี อมรับในสถานศึกษา วา่ เป็นผูม้ ีประพฤตปิ ฎิบตั ิตนตามจรรยาบรรณวิชาชพี ๓.๒ การมวี สิ ัยทัศน์ รูแ้ ละเข้าใจ สนใจ ติดตามความเปลยี่ นแปลงดา้ นวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คม การเมืองของไทย และนานาชาติในปัจจุบนั ขา้ พเจ้ามกี ารกาหนดเปูาหมายในการปฏบิ ตั ิงาน โดยการติดตามขา่ วการเคลอ่ื นไหวทางการศกึ ษา ในเร่ืองของความก้าวหน้าในวชิ าชีพอยูเ่ สมอ เพอ่ื จะได้นามาวางแผนและปรับตวั เพ่ือความกา้ วหนา้ ใน วิชาชีพ ๑๕

๓.๓ การไมอ่ าศัยวิชาชีพแสวงหาผลประโยชน์ที่ไม่ถกู ต้อง ขา้ พเจ้าเห็นคุณค่าและความสาคญั ของการเปน็ ครทู ีด่ ีปฏิบัติหนา้ ท่รี าชการด้วยความซื่อสตั ย์สุจรติ และเที่ยงธรรม ปฏบิ ัติหน้าท่ีใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ตงั้ ใจปฏบิ ัติหน้าท่ีราชการ รกั ษาผลประโยชนข์ องทาง ราชการ ๓.๔ การมุง่ มน่ั ตอ่ การพัฒนาความร้คู วามสามารถของผู้เรียน ขา้ พเจา้ มีความมุ่งมัน่ ในการทางาน โดยไมม่ คี วามย่อทอ้ ตอ่ อปุ สรรค เพือ่ ใหบ้ รรลเุ ปาู หมายท่ี กาหนดไว้ ทมุ่ เทการสอนอย่างเตม็ เวลา และเตม็ ความสามารถ ศึกษาหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง และผู้เรียน อยเู่ สมอ เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรียนรูอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๑๖

๓.๕ การใหค้ วามสาคัญตอ่ การเขา้ ร่วม สง่ เสริม สนับสนนุ กจิ กรรมทีเ่ กย่ี วข้องกบั วิชาชพี ครู อยา่ งสมา่ เสมอ ข้าพเจา้ เขา้ ร่วมประชุม/อบรม ศึกษาหาความร้ทู ่ีเก่ียวขอ้ งกับการศกึ ษาอยเู่ สมอ เม่อื เสรจ็ สิ้นการ จัดกจิ กรรม ขา้ พเจ้าทาการบันทึกและสรปุ ผลการเขา้ ร่วมกิจกรรม นาความรู้ท่ไี ด้รับมาพัฒนาตนเองและ ผ้เู รยี น และรายงานผลให้ผู้บริหารรบั ทราบอยู่เสมอ ๓.๖ รัก เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กิจกรรมทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับวชิ าชีพอยู่เสมอ ข้าพเจ้ามีความรกั และศรทั ธาในวชิ าชีพครู เป็นแบบอย่างที่ดีต่อศิษย์ สง่ เสริม สนับสนุน ชว่ ยเหลือ ศิษยด์ ว้ ยความเตม็ ใจ ๑๗

๓.๗ การประพฤติปฏบิ ัติตนเปน็ ที่ยอมรับของผูเ้ รียน ผบู้ รหิ ารเพื่อนรว่ มงาน ผ้ปู กครองและชุมชน ข้าพเจ้าประพฤตติ นดว้ ยความสุภาพออ่ นน้อม ถ่อมตน มจี ติ ใจเอ้ือเฟอื้ เผือ่ แผ่ พูดจาไพเราะออ่ นหวาน แต่งกายสะอาด เรยี บรอ้ ย และถกู กาลเทศะปฏบิ ัตติ นใหม้ สี ขุ ภาพ และบุคลิกภาพที่ดอี ย่เู สมอ ๓.๘ การไม่ปฏิบตั ิตนทส่ี ง่ ผลเชงิ ลบตอ่ กายและใจของผูเ้ รยี น ขา้ พเจ้ายกย่อง ชมเชย ให้กาลังใจต่อผูเ้ รยี น มีความรัก ความเมตตาต่อผู้เรียนอยเู่ สมอรว่ มทา กิจกรรมกบั ผู้เรียนตามความเหมาะสม ๑๘

๓.๙ การทางานกับผอู้ ืน่ ได้โดยยดึ หลักความสามัคคี เกื้อกลู ซึ่งกนั และกนั ข้าพเจา้ ปฏิบตั งิ านต่างๆ โดยให้ความรว่ มมอื และช่วยเหลือเกอ้ื กลู เพ่ือนครู ในการทากจิ กรรมตา่ งๆ ดว้ ยความเต็มใจ ๓.๑๐ การใช้ความรคู้ วามสามารถที่มอี ยู่ นาให้เกดิ ความเปลยี่ นแปลงในทางพัฒนาใหก้ ับผูเ้ รียน โรงเรยี นหรอื ชุมชนในดา้ นใดด้านหน่งึ (ด้านการอนุรกั ษ์ศิลปวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญา สิ่งแวดลอ้ ม) ขา้ พเจ้าต้ังใจปฏิบัติหน้าที่ เข้ารว่ มกิจกรรมในชุมชนรว่ มอนรุ ักษ/์ เผยแพร่ วัฒนธรรมของชุมชน ส่งเสรมิ สนับสนนุ ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ติดตามขา่ วสาร และเขา้ อบรมเทคนคิ ใหมๆ่ นามาชว่ ยพฒั นาผู้เรยี น เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนเป็นผู้มีความรู้ ทักษะทันต่อเหตุการณ์ สามารถนาความรู้ทไ่ี ดไ้ ปพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น ๑๙

๓.๑๑ การยดึ ม่นั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ขา้ พเจา้ มีความจงรกั ภักดีตอ่ สถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษตั ริย์ ยึดมนั่ ในการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมขุ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทดี่ ว้ ยความถกู ตอ้ ง เทยี่ งธรรม และเปน็ กลาง ทางการเมอื ง และปฏบิ ตั ิตามกฎหมายอย่างเคร่งครดั ๒๐

ด้านการปฏบิ ัติตน ๔. การดารงชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๒ มีการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรับประยุกต์ใช้กบั การจดั การเรยี นร้ใู นห้องเรียน ๔.๓ มกี ารทาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ประยกุ ตใ์ ช้กบั ภารกิจทไี่ ด้รบั มอบหมายอื่น ๔.๔ มกี ารนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรบั ประยุกตใ์ ช้กับการดารงชวี ิตของตนเอง ๔.๕ เปน็ แบบอย่างในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรบั ประยุกตใ์ ชก้ บั ภารกิจต่างๆ หรอื การดารงชวี ิตของตน ๒๑

๔.การดารงชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ขา้ พเจา้ ประพฤติ ปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง นอ้ มนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในชวี ติ ประจาวนั ๔.๒ มกี ารนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ประยกุ ต์ใชก้ ับการจัดการเรียนรู้ ในหอ้ งเรยี น ขา้ พเจ้าจัดกจิ กรรมให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรแู้ ละสามารถดาเนินชวี ติ สรา้ งจิตสานึก ตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ผู้เรยี นนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ ๒๒

๔.๓ มกี ารนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรับประยกุ ต์ใช้กับภารกิจทีไ่ ด้รับมอบหมายอื่น ขา้ พเจ้าดาเนนิ ชีวิตโดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สจุ รติ ใชส้ ง่ิ ของอย่างคมุ้ คา่ ทางาน ดว้ ยความถูกต้อง และมปี ระสิทธภิ าพ ๔.๔ มีการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้กับการดารงชีวิตของตนเอง ข้าพเจ้าดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการวางแผนการใช้จ่ายอย่างเป็น ระบบ รู้จักพ่งึ พาตนเองมคี วามประหยดั อดออม เชน่ การทาบัญชรี ายรับจ่ายเป็นประจา สมุดบัญชีเงินฝาก ๒๓

๔.๕ เป็นแบบอย่างในการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรบั ประยกุ ต์ใช้กบั ภารกจิ ต่างๆ หรอื การดารงชีวติ ของตน ขา้ พเจ้าปฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างทีด่ ีแก่ศิษย์ใช้ชีวิตบนทางสายกลาง ยึดปลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวติ ใฝรุ ู้ ใฝุเรียน และพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๒๔

ดา้ นการปฏบิ ตั ิตน ๕.จติ วญิ ญาณความเป็นครู ๕.๑ การเขา้ สอนตรงเวลาและสอนเตม็ เวลา ๕.๒ การตระหนกั ในความรู้และทกั ษะทีถ่ กู ต้องรวมถงึ สง่ิ ทด่ี ๆี ใหก้ ับผ้เู รียน ๕.๓ การสร้างความเสมอภาคเปน็ ธรรมกับผู้เรียนทกุ คน ๕.๔ การรู้จกั ใหอ้ ภัย ปราศจากอคติชว่ ยเหลือ สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหผ้ ู้เรียนประสบความสาเร็จ ตามศกั ยภาพ ความสนใจ หรอื ความต้ังใจ ๕.๕ การเป็นท่ีพ่งึ ใหก้ บั ผูเ้ รยี นไดต้ ลอดเวลา ๕.๖ การจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การใฝรุ ู้ คน้ หา สร้างสรรค์ ถา่ ยทอด ปลูกฝงั และเป็นแบบอย่างทีด่ ขี องผู้เรยี น ๕.๗ การทมุ่ เท เสียสละในการจดั การเรียนรู้ให้กับผเู้ รียน ๒๕

๕. จิตวญิ ญาณความเป็นครู ๕.๑ การเขา้ สอนตรงเวลาและสอนเตม็ เวลา ขา้ พเจ้าปฏิบัติหนา้ ที่ทไี่ ด้รบั มอบหมาย อย่างเต็มความสามารถ เตม็ เวลา เอาใจใส่ตอ่ การปฏบิ ตั ิ หน้าที่อย่างสมา่ เสมอ โดยมกี ารวางแผนล่วงหน้า จดั กจิ กรรมท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนได้ เรียนรอู้ ย่างเตม็ ความสามารถ ๕.๒ การตระหนกั ในความรแู้ ละทักษะท่ีถูกตอ้ งรวมถงึ สิ่งที่ดๆี ให้กบั ผู้เรียน ขา้ พเจา้ ตระหนกั ในหน้าท่ขี องครูมกี ารเตรยี มการสอน วางแผนการสอน ใชว้ ิธีการสอน ที่หลากหลาย เหมาะสมกบั สภาพผู้เรยี น เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้กลา้ แสดงออกอย่างเตม็ ความสามารถ ๒๖

๕.๓ การสรา้ งความเสมอภาคเป็นธรรมใหก้ บั ผ้เู รยี นทุกคน ข้าพเจ้าศึกษาผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล เพื่อที่จะได้ทราบความต้องการ สภาพสังคม เศรษฐกจิ ของผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล นาผลทีไ่ ดร้ ับการจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรยี น ทาให้ผเู้ รยี นมีผลสมั ฤทธิ์ท่ดี ขี น้ึ ๕.๔ การรูจ้ ักให้อภัย ปราศจากอคติ ช่วยเหลือ ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ เู้ รยี นประสบความสาเร็จ ตามศกั ยภาพความสนใจหรอื ความต้งั ใจ ข้าพเจา้ ตงั้ ใจปฎบิ ตั ิหน้าท่ีในการถ่ายทอดความรู้ใหแ้ กผ่ เู้ รยี น เพอื่ ให้ผ้เู รยี นประสบความสาเร็จ ๒๗

๕.๕ การเปน็ ที่พึง่ ใหก้ บั ผู้เรียน ข้าพเจา้ มีความมงุ่ ม่ัน เสยี สละเวลา คอยชว่ ยเหลอื เปน็ ท่ีปรกึ ษาเกี่ยวกับปญั หาของผู้เรียน ในด้านตา่ งๆ เป็นกาลงั ใจแก่ผเู้ รยี น ๕.๖ การจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การใฝ่รู้ ค้นหา สร้างสรรค์ ถ่ายทอด ปลกู ฝงั และเป็นแบบอยา่ งที่ดี ของผเู้ รียน ข้าพเจ้าปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความเต็มใจ ทาให้เกดิ ความรกั ศรัทธาและยดึ มั่นในอุดมการณแ์ ห่งวชิ าชีพ มุง่ มน่ั ทุม่ เทในการทางาน ประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี เอาใจใส่ ดูแลและหวังดตี อ่ ผเู้ รียน ๒๘

๕.๗ การทุ่มเทเสียสละในการจดั การเรียนร้ใู ห้กับผู้เรียน ข้าพเจ้าอุทิศเวลาให้กับราชการสอนเตม็ เวลา เอาใจใส่ผเู้ รียน เพือ่ ให้ผเู้ รยี นมีความรู้อย่างเต็มเป่ยี ม และพัฒนาตนเองอยา่ งเตม็ ความสามารถ ๒๙

ดา้ นการปฏบิ ัติตน ๖.จิตสานกึ ความรับผิดชอบในวชิ าชพี ครู ๖.๑ การเี จตคตเิ ชงิ บวกกบั วชิ าชีพครู ๖.๒ การมุง่ มั่น ทุม่ เทในการสร้างสรรคน์ วตั กรรมใหม่ๆ เพ่อื ให้เกิดการพฒั นาวิชาชพี และใหส้ งั คมยอมรบั ๖.๓ ประพฤตปิ ฎิบัตติ นในการรกั ษาภาพลักษณใ์ นวิชาชีพ ๖.๔ การปกปูอง ปูองกนั มิให้ผ้รู ว่ มวชิ าชพี ประพฤตปิ ฎิบตั ใิ นทางที่จะเกดิ ภาพลกั ษณ์เชิงลบตอ่ วิชาชพี ๖.๕ การจัดกิจกรรมสง่ เสริมการใฝุรู้ คน้ หาสร้างสรรค์ ถา่ ยทอดปลกู ฝังและเป็นแบบอยา่ งที่ดขี องเพ่ือน ร่วมงานและสังคม ๓๐

๖. จิตสานกึ ความรับผิดชอบในวิชาชพี ครู ๖.๑ การมเี จตคติเชงิ บวกกับวชิ าชีพครู ขา้ พเจ้ามีความรกั และศรัทธาในวิชาชพี ครู ปฏิบตั ิหน้าทด่ี ว้ ยความทมุ่ เท เสยี สละ เตม็ ท่ี เตม็ เวลา เพื่อพฒั นาศกั ยภาพการเรียนรู้ของผเู้ รียน และผลประโยชน์ของทางราชการ มคี วามจงรักภกั ดตี อ่ ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็น ประมุข และวางแผนพฒั นาตนเองและพฒั นางานอยู่เสมอ ๓๑

๖.๒ การมงุ่ มั่น ทุ่มเทในการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมใหมๆ่ เพือ่ ใหเ้ กิดการพฒั นาวชิ าชพี และให้สงั คมยอมรับ ขา้ พเจ้าศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ จากแหลง่ เรยี นร้ตู ่างๆ เช่น หนังสือ ส่ือสิ่งพมิ พ์ โทรทศั น์ อนิ เตอรเ์ น็ต และเขา้ รว่ มอบรม ประชุม เพอ่ื นาความรู้มาพฒั นาวชิ าชีพครูอย่างต่อเนือ่ ง ๖.๓ ประพฤติปฎบิ ตั ิตนในการรกั ษาภาพลักษณใ์ นวชิ าชีพ ขา้ พเจ้าประพฤตติ นเปน็ สมาชิกที่ดีของสงั คมและมจี ติ สาธารณะ มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ช่วยเหลอื เพ่ือนร่วมงานโดยไม่หวงั ผลประโยชนต์ อบแทน ยึดหลกั คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ เปน็ สมาชิกองค์กรวิชาชพี ครูทด่ี ี ปกปอู งเกยี รติภมู ขิ องครูและองค์กรวชิ าชีพครู ๓๒

๖.๔ การปกปอ้ ง ป้องกันมใิ ห้ผู้รว่ มวิชาชพี ประพฤติปฏบิ ัติตนในทางทจี่ ะเกดิ ภาพลักษณเ์ ชิงลบ ต่อวิชาชพี ข้าพเจ้าให้คาปรกึ ษา แนะนาผรู้ ว่ มวิชาชพี ให้ประพฤติปฎิบตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีและยึดมน่ั ปฎิบตั ิ ตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครอู ยา่ งเคร่งครัด ๖.๕ การจัดกิจกรรมสง่ เสริมการใฝร่ ู้ คน้ หาสรา้ งสรรค์ ถ่ายทอดปลกู ฝงั และเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี ของเพ่ือนร่วมงานและสงั คม ขา้ พเจา้ ปฏิบตั หิ นา้ ที่ดว้ ยความรัก ศรทั ธาและยดึ มนั่ ในอุดมการณแ์ หง่ วิชาชีพ มงุ่ มนั่ ทมุ่ เท เสยี สละ ในการทางาน ประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งที่ดี ยอมรับฟังความคิดเห็นของเพ่ือนร่วมงานและสังคมอยา่ งเตม็ ความสามารถ ปฏบิ ัติตามคาสัง่ ของผูบ้ งั คับบญั ชาอยา่ งเคร่งครดั ๓๓

ด้านการปฏบิ ัตงิ าน ๓๔

ดา้ นการปฏบิ ัติงาน ๑. การจดั การเรียนการสอน ๑.๑ การนาผลการวิเคราะหห์ ลักสูตร มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชี้วัด หรอื ผลการเรยี นรู้ มาใช้ในการจดั ทา รายวชิ าและออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ ๑.๒ การออกแบบการจดั การเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั เพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ ประจาวชิ า คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และสมรรถนะท่สี าคญั ตามหลักสูตร ๑.๓ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ อานวยความสะดวกในการเรียนร้แู ละสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ด้วยวธิ กี ารที่ หลากหลาย โดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ๑.๔ การเลือกและใช้สื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรยี นรู้ ที่สอดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑.๕ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดว้ ยวธิ ีการที่หลากหลายเหมาะสม และสอดคล้องกบั ตวั ชี้วัดและ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑.๖ คณุ ภาพผู้เรียน ได้แก่ ๑. ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรียน ๒. คุณลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน ๓๕

องค์ประกอบที่ ๒ การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน ๑. การจดั การเรียนการสอน ๑.๑ การนาผลการวิเคราะหห์ ลกั สูตร มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวดั หรอื ผลการเรียนรู้ มาใช้ในการจดั ทารายวิชาและออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ ขา้ พเจ้าได้ดาเนนิ การจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ หแ้ กผ่ ู้เรยี นโดยดาเนินการตามขน้ั ตอน วเิ คราะห์ มาตรฐานการเรียนรู้ ศกึ ษาคาอธบิ ายรายวิชา จัดทาหน่วยการเรยี นรู้ จัดทาแผนการเรยี นรู้ และจัดทา บันทึกหลังสอน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนท่ดี ขี ้ึน โดยมงุ่ เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ๓๖

๑.๒ การออกแบบการจัดการเรยี นรโู้ ดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญเพอื่ ให้ผเู้ รียน มคี วามรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะ ประจาวชิ า คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และสมรรถนะท่ีสาคัญตามหลักสตู ร ข้าพเจ้าออกแบบ การจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการคิดและแสดงออก นาเทคโนโลยีและนวัตกรรม มาใช้ในการเรียนการสอนพัฒนาและปรับปรุงเพ่ือให้ผู้เรียนมีผลการเรียน ทีส่ ูงข้นึ ๑.๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ และส่งเสริมการเรียนรู้ ดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลายโดยเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ขา้ พเจา้ ได้จัดการเรยี นการสอนออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ได้อย่างหลากหลาย (ใช้วิธีสอน/เทคนิค การสอน/รูปแบบการสอนทหี่ ลากหลาย) สง่ ผลให้ผู้เรยี น ได้รบั การพฒั นาผลการเรียนรู้ที่ ต้องการให้เกิดข้ึน มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์สงั เคราะห์ ประยุกต์ รเิ รม่ิ ได้เหมาะสมตามวัยและตรงตามความต้องการ ของผู้เรียน และชมุ ชน ๓๗

๑.๔ การเลือกและใช้ส่อื เทคโนโลยแี ละแหล่งเรยี นรู้ ท่สี อดคล้องกับกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้าพเจ้า ไดน้ าเทคโนโลยีทางการศึกษามาใชใ้ นการเรียนการสอน ทาให้ผู้เรยี นมีโอกาสใช้ ความสามารถของตนเองเรียนรู้อยา่ งเต็มท่ี ทาใหก้ ระบวนการเรยี นรู้งา่ ยขนึ้ ผู้เรยี นสามารถเรยี นรู้ไดท้ กุ เวลา ทกุ สถานที่ ฝึกให้ผู้เรยี นร้จู กั คิดเป็นและสามารถแกป้ ญั หาได้ดว้ ยตนเอง ๑.๕ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลายเหมาะสมและสอดคล้อง กับตวั ชวี้ ัดและจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ข้าพเจ้ามกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เพอื่ นามาปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี น การสอน ๓๘

๑.๖ คุณภาพผู้เรยี น ได้แก่ ๑) ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รยี น ๒) คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รียน การเรยี นรขู้ องผูเ้ รียนทแ่ี สดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และมีพฒั นาการตามวยั มีสมรรถนะท่ีสาคัญ มคี ุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ ๓๙

ด้านการปฏิบตั ิงาน ๒. การบริหารจัดการช้ันเรยี น ๒.๑ การจัดบรรยากาศทส่ี ่งเสริมการเรยี นรู้ กระบวนการคิด ทักษะชีวติ และพฒั นาผ้เู รียน ๒.๒ การดาเนินการตามระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น โดยมกี ารศึกษาและรวบรวมข้อมูลผู้เรยี นรายบุคคลเพ่อื แกป้ ญั หาและพฒั นาผูเ้ รยี น ๒.๓ การอบรมบม่ นิสยั ให้ผู้เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์และคา่ นิยมที่ดีงาม ๔๐

๒. การบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี น ๒.๑ การจดั บรรยากาศท่สี ง่ เสรมิ การเรียนรู้ กระบวนการคิด ทักษะชวี ติ และพฒั นาผเู้ รียน ข้าพเจา้ สร้างบรรยากาศท่เี ป็นกนั เองตอ่ ผเู้ รียน ทาให้เกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้ ทงั้ ทางรา่ งกาย อารมณ์ สังคมและสิตปญั ญาของผูเ้ รียน ผูเ้ รยี นกล้าแสดงออกทางความคิด มีความคดิ สรา้ งสรรค์ ๔๑

๒.๒ การดาเนนิ การตามระบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รยี น โดยมกี ารศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มูลผเู้ รียน รายบคุ คลเพือ่ แก้ปัญหาและพฒั นาผเู้ รียน ขา้ พเจา้ จัดกิจกรรมดูแลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รยี นแนะแนว ใหค้ าปรกึ ษา ชว่ ยเหลือ แก้ปัญหา ดว้ ยความ เตม็ ใจ โดยการออกเย่ียมบ้านผ้เู รยี นและช่วยเหลือตามสภาพจริง ๔๒

๒.๓ การอบรมบ่มนสิ ัยใหผ้ เู้ รียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์และค่านิยม ทดี่ ีงาม ข้าพเจ้าได้มีการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมที่ดี ให้กับผู้เรียน โดยมีการจัดส่งเสริมธรรม ในสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักธรรม มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม ท่ีพึงประสงคแ์ ละนาหลกั ธรรมไปปฏิบตั ใิ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ๔๓

ดา้ นการปฏบิ ตั ิงาน ๓. การพฒั นาตนเอง ๓.๑ การพัฒนาตนเองเพอ่ื ใหม้ ีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะด้วยวธิ กี ารต่างๆ อย่างเหมาะสม ๓.๒ การมีสว่ นร่วมในชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ ๔๔

๓. การพัฒนาตนเอง ๓.๑ การพัฒนาตนเองเพอื่ ใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ ทักษะ ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆอยา่ งเหมาะสม ข้าพเจา้ ประพฤตติ นเหมาะสมตามหลักจรรยาบรรณวชิ าชีพ ศกึ ษาหาความรู้ และพัฒนาตนเอง อยา่ งต่อเนือ่ ง ๔๕

๓.๒ การมสี ว่ นร่วมในชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชพี ข้าพเจ้าเขา้ ร่วมกจิ กรรมของชุมชน แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ส่งเสริมสนบั สนนุ ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ๔๖

ด้านการปฏิบตั ิงาน ๔. การทางานเปน็ ทมี ๑.๑ หลกั การทางานเปน็ ทมี ๑.๒ การพัฒนาทีมงาน ๔๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook