Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเนื้อหารายวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

สรุปเนื้อหารายวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Description: สรุปเนื้อหารายวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรุปเนอ้ื หาทีต่ องรู รายวิชาภาษาไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน รหัส พท21001 หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ หามจาํ หนาย หนังสอื เรยี นน้จี ดั พิมพด วยเงนิ งบประมาณแผนดินเพือ่ การศึกษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลขิ สิทธิ์เปนของ สํานกั งาน กศน.สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

3

สารบัญ 4 คํานํา หนา คาํ แนะนําการใชเอกสารสรปุ เน้ือหาทีต่ อ งรู บทที่ 1 การฟง การดู 1 2 เร่ืองที่ 1 หลักเบอื้ งตนของการฟง และการดู 3 เรื่องท่ี 2 หลักการฟงเพือ่ จบั ใจความสาํ คญั 3 เรอ่ื งที่ 3 หลกั การฟง การดู อยางมีวิจารณญาณ 5 เรอ่ื งที่ 4 มารยาทในการฟง การดู กิจกรรมทายบท 6 บทที่ 2 การพดู 7 เรอ่ื งท่ี 1 สรุปความ จับประเดน็ สาํ คญั ของเร่อื งทพี่ ูด 12 เรอ่ื งที่ 2 การพดู ในโอกาสตาง ๆ 13 เรื่องท่ี 3 มารยาทในการพูด กจิ กรรมทายบท 14 บทท่ี 3 การอาน 14 เรื่องท่ี 1 การอา นในใจ 27 เรื่องท่ี 2 การอา นออกเสยี ง 29 เร่อื งที่ 3 การอานจบั ใจความสาํ คัญ 31 เรื่องท่ี 4 มารยาทในการอา นและนสิ ยั รกั การอา น กจิ กรรมทายบท 33 บทที่ 4 การเขียน 34 เรอ่ื งที่ 1 หลกั การเขยี นและการใชภาษาเขียน 39 เรอื่ งท่ี 2 หลักการเขยี นแผนภาพความคิด 41 เรอ่ื งท่ี 3 การแตงรอ ยกรอง 43 เรอ่ื งที่ 4 การเขียนส่ือสาร 44 เรอ่ื งที่ 5 การเขียนรายงานคน ควา และอางอิงความรู เรอ่ื งท่ี 6 การกรอกแบบรายงาน

สารบัญ (ตอ) 5 ห น า เร่ืองท่ี 7 มารยาทในการเขียนและนสิ ัยรกั การเขียน 49 กจิ กรรมทายบท 50 บทที่ 5 หลกั การใชภ าษา เรือ่ งที่ 1 ความหมายของพยางค คาํ วลี และประโยค 51 เร่ืองท่ี 2 ชนิดและหนา ท่ขี องประโยค 54 เรอ่ื งที่ 3 การใชเคร่ืองหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ 59 เรอ่ื งท่ี 4 คาํ ราชาศัพท 67 เรอ่ื งท่ี 5 ภาษาพดู และภาษาเขียน 71 เรื่องที่ 6 การใชสาํ นวน สุภาษติ คําพงั เพย 73 กิจกรรมทายบท 76 บทท่ี 6 วรรณคดีและวรรณกรรม เรื่องที่ 1 ความหมายวรรณคดแี ละวรรณกรรม 77 เรื่องท่ี 2 วรรณกรรมปจ จุบนั 78 เรื่องที่ 3 วรรณกรรมทอ งถิน่ 79 เรอ่ื งที่ 4 หลกั การและแนวทางการพจิ ารณาวรรณคดี 80 เรอ่ื งท่ี 5 เพลงพื้นบาน เพลงกลอ มเดก็ 83 กิจกรรมทายบท 85 บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชีพ เรอื่ งท่ี 1 อาชีพทใ่ี ชท ักษะการพดู เปนชอ งทางการประกอบอาชพี 86 เรื่องที่ 2 อาชพี ที่ใชทักษะการเขียนเปน ชอ งทางการประกอบอาชพี 87 เรือ่ งที่ 3 การเพิ่มพนู ความรแู ละประสบการณดานภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชพี 88 กจิ กรรมทา ยบท 93 เฉลยกจิ กรรมทายบท 94 บรรณานกุ รม 105 คณะผูจ ัดทาํ 106

6 คําแนะนาํ การใชเอกสารสรุปเนือ้ หาทีต่ อ งรู เอกสารสรุปเน้ือหาที่ตองรูรายวิชาภาษาไทยเลมน้ี เปนการสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียน สาระความรูพน้ื ฐาน รายวิชาภาษาไทย พท21001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน หลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2544) เพ่ือให ผูเรียน กศน. ไดศึกษาทําความเขาใจและเรียนรูในเน้ือหาสาระของรายวิชาภาษาไทยที่สําคัญ ๆ ไดสะดวกและสามารถทําความเขาใจของเนอ้ื หาไดด ยี ง่ิ ขึ้น ในการศกึ ษาเอกสารสรปุ เนื้อหาทตี่ อ งรูร ายวิชาภาษาไทยเลม นี้ ผูเรยี นควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จากหนังสือเรียนสาระ ความรูพ้ืนฐาน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) ใหเขาใจกอ น 2. ศึกษาเน้ือหาสาระของเอกสารสรุปเนื้อหาท่ีตองรูรายวิชาภาษาไทยใหเขาใจอยาง ละเอียดทลี ะบทจนครบ 7 บท 3. หากตองการศึกษารายละเอียดเน้ือหาสาระรายวิชาภาษาไทยเพ่ือเพ่ิมเติมความรู ผเู รียน กศน. สามารถศึกษาคนควาไดจากส่อื อน่ื ๆ หองสมุด อนิ เทอรเน็ต หรอื ครผู ูสอน

1 บทท่ี 1 การฟง การดู เรือ่ งท่ี 1 หลกั เบ้ืองตนของการฟง และการดู ความหมายของการฟงและการดู การฟงและการดู หมายถึง การรับรูเร่ืองราวตาง ๆ จากแหลงของเสียงหรือภาพ หรือ เหตุการณ ซึ่งเปนการฟงจากผูพูดโดยตรง หรือฟงและดูผานอุปกรณ หรือสิ่งตาง ๆ แลวเกิด การรบั รแู ละนาํ ไปใชประโยชน โดยตอ งศกึ ษาจนเกดิ ความถกู ตอ ง วอ งไว ไดประสทิ ธภิ าพ หลักการฟงและการดูที่ดี 1. ตอ งรจู ุดมงุ หมายของการฟงและการดู และตองจดบนั ทึกเพ่ือเตือนความจํา 2. ตอ งฟงและดโู ดยปราศจากอคติ เพ่อื การวิเคราะหวจิ ารณท่ตี รงประเดน็ 3. ใหความรว มมือในการฟงและการดู ดว ยการรว มกิจกรรม จดุ มงุ หมายของการฟง และการดู การฟง มีจุดมุง หมายทสี่ ําคัญดังน้ี 1. ฟงเพ่อื จับใจความสาํ คญั ไดวาเรื่องที่ฟงน้ันเปนเร่ืองเกี่ยวกับอะไร เกิดข้ึนที่ไหน เมื่อไหร หรอื ใครทาํ อะไร ท่ไี หน เมื่อไหร 2. ฟงเพื่อจับใจความโดยละเอียด ผูฟงตองมีสมาธิในการฟง และอาจตองมีการ บันทึกยอเพ่ือชว ยความจํา 3. ฟงเพ่ือหาเหตุผลมาโตแยงหรือคลอยตาม ผูฟงตองต้ังใจฟงเปนพิเศษ และตอง ใชวิจารณญาณพิจารณาวาเรื่องท่ีฟงน้ันมีอะไรเปนขอเท็จจริง อะไรเปนขอคิดเห็น และมีความ ถูกตอ ง มเี หตผุ ลนาเช่ือถอื มากนอยเพียงใด ซ่งึ ผูฟง ควรพจิ ารณาเรือ่ งราวทฟี่ งดวยใจเปน ธรรม 4. ฟงเพอ่ื เกิดความเพลิดเพลิน และซาบซ้ึง ในคุณคาของวรรณคดี คติธรรม และ ดนตรี ผูฟงตองมีความรูในเรื่องที่ฟง เขาใจคําศัพท สัญลักษณตาง ๆ และมีความสามารถในการ ตคี วาม เพ่ือใหเ กิดความไพเราะซาบซ้งึ ในรสของภาษา 5. ฟงเพื่อสงเสริมจินตนาการ และความคิดสรางสรรค เปนความคิดที่เกิดข้ึน ขณะท่ฟี ง หรอื หลังจากการฟง ซึง่ อาจจะออกมาในรปู ของงานประพันธ งานศลิ ปะ หรอื การพูด

2 การดมู จี ุดมุงหมายท่สี ําคัญดงั น้ี 1. ดเู พื่อใหรู เปนการดเู พอ่ื ใหเปนคนทนั โลกทนั เหตุการณ 2. ดูเพ่ือศึกษาหาความรู เปนการดูท่ีชวยสงเสริมการอาน หรือการเรียนใหมี ความรูม ากขึ้น หรอื มคี วามชัดเจนลุมลกึ ขนึ้ 3. ดเู พอ่ื ความเพลิดเพลิน เชน ละคร เกมโชว มวิ สิควิดโี อ 4. ดูเพอื่ ยกระดับจิตใจ เปน การดทู จี่ ะทาํ ใหจิตใจเบิกบานและละเอยี ดออ น เขาถงึ ธรรมชาติ และสจั ธรรม ไดแ ก การชมธรรมชาติ การชมโขน ละคร การดูรายการเก่ียวกับ ธรรมะ การดูกีฬา เรื่องท่ี 2 หลักการฟงเพ่อื จับใจความสําคัญ การฟงเพ่ือจับใจความสําคัญ เปนการฟงเพ่ือความรู ผูฟงตองต้ังใจฟงและพยายามสรุป เน้อื หา โดยมีหลักการสาํ คัญดังนี้ 1. มสี มาธิดี ตั้งใจฟง ตดิ ตามเรอ่ื ง 2. ฟง ใหเ ขาใจและลาํ ดบั เหตุการณใหด ีวา เรื่องทฟ่ี งเปนเรื่องของอะไร ใครทําอะไร ที่ไหน อยางไร 3. แยกใหอ อกวา ตอนใดเปน ใจความสําคัญ ตอนใดเปน สว นขยาย 4. บนั ทึกขอ ความสาํ คัญจากเรื่องท่ีฟง การฟง เพื่อจับใจความสาํ คัญ 1. จับใจความสาํ คญั จากบทรอยแกว รอ ยแกว คือ ความเรยี งท่ีสละสลวยไพเราะเหมาะเจาะดวยเสยี งและความหมาย แตไมกาํ หนดระเบยี บบญั ญัติแหง ฉนั ทลักษณ คือ ไมจ ํากัดครุ ลหุ ไมก าํ หนดสัมผัส 2. จบั ใจความสาํ คัญจากบทรอยกรอง รอยกรอง คือ ถอยคําท่ีเรียบเรียงใหเปนระเบียบตามบัญญัติแหงฉันทลักษณ คือ ตาํ ราวา ดวยการประพนั ธ เชน โคลง ฉนั ท กาพย กลอน 3. จับใจความสาํ คญั จากบทความ บทความ คือ ขอเขียนซ่ึงอาจจะเปนรายงาน หรือการแสดงความคิดเห็น มักตีพิมพ ในหนังสือพิมพ วารสาร สารานุกรม เปนตน 4. จับใจความสาํ คัญจากขา ว ขาว คือ คําบอกเลาเร่อื งราว ซ่งึ โดยปกติมักเปนเรื่องเกดิ ใหมห รอื เปนท่นี าสนใจ

3 เรอ่ื งท่ี 3 หลักการฟง การดู อยา งมีวจิ ารณญาณ ผูที่สามารถจะฟงและดูไดอยางมีวิจารณญาณ จะตองมีความเขาใจและสามารถปฏิบัติ ดงั นีไ้ ด 1. การวิเคราะห คือ ความสามารถในการแยกขอเท็จจริงออกจากขอคิดเห็นรูวาอะไร เปนอะไร อะไรเปน เหตุ อะไรเปน ผล 2. การตคี วาม คือ ตองรูความหมายที่แฝงไวในใจเรื่องหรือภาพนัน้ ๆ 3. การประเมินคา เปนทักษะท่ีตอเนื่องมาจากการวิเคราะหการตีความ การประเมินคา สิ่งใด ๆ จะตองพิจารณาใหรอบดาน เชน จุดประสงค รูปแบบ ประเภทของสาร เชน ถาจะประเมินคุณคาของวรรณคดีตองดูในเรื่องคุณคาวรรณศิลป ดานสังคม เนื้อหาและ นาํ ไปใชในชวี ิตประจําวัน 4. การตัดสินใจ คือ การวินิจฉัยเพ่ือประเมินคาอันนําไปสูการตัดสินใจที่ถูกตองวา สิง่ ใดควรเช่ือไมค วรเชือ่ ซ่ึงการตัดสินใจท่ีถกู ตอ งเปนเร่ืองสาํ คญั มากในชีวิตประจําวัน 5. การนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ทักษะนี้จะตองใชศิลปะและประสบการณ ของแตละคนมาชวยดว ย ซง่ึ การฟง และการดูมากก็จะชวยใหตัดสินใจไมผ ิดพลาด มารยาทในการแสดงความคดิ เหน็ 1. ภาษาในการแสดงความคดิ เหน็ ตอ งชัดเจน เขา ใจงาย เลือกใชถอยคาํ ใหม ี ความหมายตรงตามที่คิด มคี วามสมเหตุสมผล ตรงประเด็น ไมอ อกนอกเร่อื ง 2. ขอ มูลหลักฐานท่นี ํามาใชป ระกอบความคิดเห็นตองเปน เรื่องจริง ไมใชขอ มลู เท็จหรอื มจี ดุ ประสงคเ พอื่ หลอกลวง 3. ไมแสดงความคดิ เห็นสวนตวั ในลักษณะการใชอารมณค วามรูสึกท้ังหมด โดยปราศจากเหตผุ ลหรือขอเทจ็ จริง 4. ใชภ าษาสภุ าพ ไมกา วราว หยาบคาย หลีกเล่ียงการใชคําคะนอง เรอื่ งท่ี 4 มารยาทในการฟง การดู มารยาทในการฟง และการดู การฟงและการดูเปนกิจกรรมในการดําเนินชีวิตที่ทุกคนในสังคมมักจะตองเขาไปมี สวนรวมเกือบทุกวันการเปนผูมีมารยาทในการฟงท่ีดี นอกจากเปนการสรางบุคลิกภาพท่ีดี ใหกับตนเองแลวยังเปนส่ิงแสดงใหเห็นวาเปนผูไดรับการอบรมฝกฝนมาอยางดี เปนผูมีมารยาท ในสงั คม การทท่ี ุกคนมีมารยาทที่ดีในการฟงและการดู ยังเปนการสรางระเบียบในการอยูรวมกัน

4 ในสังคม ชวยลดปญหาการขัดแยง และชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการฟงอีกดวย ผูมีมารยาท ในการฟง และการดู ควรปฏิบัตติ นดังน้ี 1. เมือ่ ฟงอยูเฉพาะหนา ผใู หญ ควรฟงโดยสาํ รวมกริ ิยามารยาท 2. การฟงในที่ประชุม ควรเขาไปนั่งกอนผูพูดเริ่มพูด โดยนั่งท่ีดานหนาใหเต็มเสียกอน และควรตั้งใจฟง จนจบเร่อื ง 3. ฟงดวยใบหนายิ้มแยมแจมใสเปนกันเองกับผูพูด ปรบมือเมื่อมีการแนะนําตัวผูพูด และเม่อื ผพู ดู พูดจบ 4. เมื่อฟงในท่ีประชุม ตองตั้งใจฟงและจดบันทึกขอความท่ีสนใจ หรือขอความท่ีสําคัญ หากมีขอสงสยั เก็บไวถ ามเม่อื มโี อกาสและถามดว ยกริ ยิ าสภุ าพ 5. เมื่อไปดูละคร ภาพยนตร หรือฟงดนตรี ไมควรสรางความรําคาญใหบุคคลอ่ืน ควรรกั ษามารยาทและสํารวมกริ ิยา

5 กจิ กรรมทายบทท่ี 1 การอานบทความ (10 คะแนน) ใหผ เู รียนอา นบทความขา งลางน้ี และสรุปเน้ือหาใจความสําคัญของเร่ือง และบอกประโยชนที่ได จากบทความน้ี ปจ จุบนั เปอรเ ซ็นตการเจ็บปวยดวยโรคตาง ๆ ของคน ไทยในรอบสามปที่ผานมา ไมวาจะเปนโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดัน หรอื เสนเลือดตีบ มีจํานวนเพิ่มมากข้ึนทําใหผูคนหัน มาดูแลใสใจสุขภาพ และรักษาสุขภาพมากกวาเดิม แตมีอยู หนึง่ โรคท่ีทุกคนยังคงมองขามและละเลย บางคนไมทราบดวย ซ้ําวาโคนี้เปนโรครายแรงติดอันดับหนึ่งในสิบที่ทําใหคนไทย เสยี ชวี ติ มากทสี่ ดุ น่ันคอื “โรคกระดูกพรุน” โรครายใกลตัวท่ี กัดกินรางกายคุณไปอยางชา ๆ โดยท่ีเจาของรางกายไม สามารถรตู วั ไดเ ลยหากไมระมัดระวังใหดี เพราะโรคนี้เปนโรค ที่ไมแสดงอาการใด ๆ ออกมา เมื่อคุณทราบอีกทีก็อาจจะสาย เกนิ แกไปเสยี แลว

6 บทที่ 2 การพดู เร่ืองที่ 1 สรปุ ความ จบั ประเด็นสาํ คญั ของเรอื่ งทพ่ี ดู การพูดเปนทักษะหนึ่งของการส่ือสาร การพูดคือการเปลงเสียงออกมาเปนถอยคํา หรือ ขอความตาง ๆ เพ่ือติดตอส่ือสารใหผูพูดและผูฟงเขาใจเรื่องราวตาง ๆ การพูดเปนการสื่อ ความหมายโดยใชภาษาเสียง กิริยาทาทางตาง ๆ เพื่อถายทอดความรูและความรูสึก รวมท้ัง ความคดิ เห็นของผพู ูด ใหผูฟง ไดรบั รู และเขา ใจตามความมงุ หมายของผฟู งเปน เกณฑ องคป ระกอบของการพูดประกอบดวย 1. ผูพูด คือ ผูท่ีมีจุดมุงหมายสําคัญท่ีจะเสนอความรูความคิดเห็น เพ่ือใหผูฟงไดรับรู และเขา ใจ โดยใชศ ิลปะการพดู อยางมหี ลักเกณฑ และฝก ปฏบิ ัตอิ ยเู ปนประจาํ 2. เนื้อเร่ือง คือ เรื่องราวที่ผูพูดนําเสนอเปนความรูหรือความคิดเห็น ใหผูฟงไดรับรู อยา งเหมาะสม 3. ผูฟง คือ ผรู ับฟงเร่อื งราวตาง ๆ ที่ผูพูดนําเสนอ ซ่ึงผูฟงตองมีหลักเกณฑและมารยาท ในการฟง การพูดท่ีดี คือ การสื่อความหมายท่ีดีน้ันยอมสื่อความเขาใจกับใคร ๆ ไดตรงตาม วัตถุประสงคของผูพูด การที่ผูฟงฟงแลวพึงพอใจ สนใจ เกิดความศรัทธาเล่ือมใส เรียกวาผูพูด ผนู ั้นมีศิลปะในการพูด ลกั ษณะการพูดทด่ี ี มดี งั น้ี 1. มีบุคลิกภาพที่ดี การฟงคนอ่ืนพูดนั้นเราไมไดฟงแตเพียงเสียงพูด แตเราจะตองดู การพูด ดูบุคลิกภาพของเขาดวย บุคลิกภาพของผูพูดมีสวนที่จะทําใหผูฟงสนใจ ศรัทธาตัวผูพูด บุคลิกภาพ ไดแก รูปราง หนาตา ทาทาง การยืน การนั่ง การเดิน ใบหนาท่ียิ้มแยม ตลอดจน อากัปกิริยาทีแ่ สดงออกในขณะทพ่ี ดู อยางเหมาะสมดว ย 2. มีความเชื่อมั่นในตนเองดี ผูพูดจะตองเตรียมตัวลวงหนา ฝกซอมการพูดใหคลอง สามารถจดจําเร่ืองที่พูดได ควบคุมอารมณได ไมตื่นเตน ประหมา หรือลุกลี้ลุกลน รีบรอนจน ทําใหเ สียบุคลกิ 3. พูดใหตรงประเด็น พูดในเร่ืองที่กําหนดไว ไมนอกเรื่อง พูดอยางมีจุดมุงหมาย มุงให ผฟู งฟง แลวเขาใจ ตรงตามวัตถปุ ระสงคท ่ีผพู ูดตองการ

7 4. ตองใชภาษาท่ีเหมาะสมกับระดับผูฟง ตามปกตินิยมใชภาษาธรรมดา สุภาพ ส้ัน ๆ กะทัดรัด สื่อความเขาใจไดงาย หลีกเล่ียงสํานวนโลดโผน ศัพทเทคนิค หรือสํานวนท่ีไมได มาตรฐาน 5. ตองคํานึงถึงผูฟง ผูพูดตองทราบวาผูฟงเปนใคร เพศ วัย อาชีพ ระดับการศึกษา ความสนใจ ความเช่ือถือเปนอยางไร เพื่อจะไดพูดใหถูกกับสภาพของผูฟง หลีกเลี่ยงการแสดง ความคิดเห็นและความเชอื่ ท่ีขดั แยงกบั ผูฟง 6. มีมารยาทในการพูด ผูพ ดู ตองพิจารณาเลือกใชถอยคําที่ถูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะ และบุคคลเพื่อแสดงถึงความมีมารยาททดี่ แี ละใหเกียรตผิ ฟู ง การสรปุ ความ จับประเด็นสาํ คัญของเรื่องที่พดู 1. ผูพดู จะตองทราบรายละเอียดของผูฟงดังนี้ 1.1 เปน ชายหรือหญงิ 1.2 อายุ 1.3 การศกึ ษา 1.4 อาชีพ เปน เบื้องตน เพื่อมากาํ หนดเน้อื หาสาระที่จะพูดใหเ หมาะสมกับผฟู ง 2. ผูพูดตองมีวัตถุประสงค ท่ีจะพูด จะเปนการพูดวิชาการ เพื่อความบันเทิง หรือเพ่ือ สง่ั สอน เปนตน 3. เนื้อหาสาระ ผพู ูดอาจเพียงกาํ หนดหวั ขอ แตเ ม่อื พดู จริงจะตอ งอธบิ ายเพ่มิ เตมิ อาจเปนตวั อยาง อาจเปนประสบการณ ที่จะเลาใหผฟู งไดฟ ง ผูฟงจะสรุปความเรื่องท่ีรับฟงได หากผูพูดพูดมีสาระสําคัญ และมีการเตรียมตัวที่จะพูด มาอยา งดี เร่ืองท่ี 2 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ การพูดในโอกาสตา งๆ 1. การพดู แนะนําตนเอง การพดู แนะนําตนเอง เปนการพูดที่แทรกอยูกับการพูดในลักษณะตาง ๆ เปนพ้ืนฐาน เบื้องตนที่จะทําใหผูฟงมีความรูเก่ียวกับผูพูด การแนะนําตนจะใหรายละเอียดแตกตางกันไป ตามลกั ษณะของการพดู

8 1. การพดู แนะนาํ ตนในกลมุ ของผูเ รียน ควรระบุรายละเอียด ชื่อ - นามสกุล การศึกษา สถานศึกษา ทอ่ี ยปู จจุบัน ภมู ลิ าํ เนาเดิม ความถนัด งานอดิเรก 2. การพดู แนะนําตนเพื่อเขาปฏิบัติงาน ควรระบุ ชื่อ - นามสกุล รายละเอียดเกี่ยวกับ การศกึ ษา ตาํ แหนง หนา ที่ทีจ่ ะเขามาปฏิบัติงาน ระยะเวลาท่จี ะเริม่ ปฏิบัตหิ นาที่ 3. การแนะนําบุคคลอ่ืนในสังคมหรือที่ประชุม ควรใหรายละเอียด ช่ือ - นามสกุล ผูท่ี เราแนะนําความสามารถของผูท่ีเราแนะนํา การแนะนําบุคคลใหผูอ่ืนรูจักตองใชคําพูด เพ่ือสรา งไมตรีทด่ี ีระหวา งบุคคลทัง้ สองฝา ย 2. การกลาวตอ นรบั การกลา วตอ นรับเปน การกลาวเพือ่ บอกความรูส กึ ทม่ี ีตอ ผูท่มี า โดย 1. กลา วถงึ ความยินดีของการเปน เจา ของสถานที่ 2. กลาวยกยองผูมาเยือน เชน เปนใคร มีผลงานดีเดนอะไร มีความสัมพันธอยางไร กบั ผตู อ นรบั 3. แสดงความยินดีที่ใหการตอนรับ 4. ขออภยั หากมีสิ่งใดบกพรองไป และหวังจะกลับมาเยี่ยมอีก 3. การกลาวอวยพร โอกาสท่กี ลาวอวยพรมีหลายโอกาส เชน การกลาวอวยพรวนั เกิด วนั ปใหม ข้ึนบานใหม การอวยพรคบู า วสาว หรือในโอกาสทีจ่ ะมกี ารโยกยา ย อําลาไปรบั ตําแหนงใหม ฯลฯ หลกั การกลาวอวยพร มขี อ ปฏิบตั ิที่ควรจาํ ดงั น้ี 1. ควรกลาวถึงโอกาสและวันสําคัญน้ัน ๆ ที่ไดมาอวยพรวาเปนวันสําคัญอยางไร ในโอกาสดอี ยา งไรมคี วามหมายตอ เจาภาพหรือการจัดงานนนั้ อยา งไร 2. ควรใชคาํ พูดท่สี ภุ าพ ไพเราะ ถูกตอง เหมาะสมกบั กลมุ ผูฟ ง 3. ควรกลาวใหส นั้ ๆ ใชคําพดู งาย ๆ ฟง เขาใจดี กะทดั รดั กระชบั ความ นา ประทับใจ 4. ควรกลาวถึงความสัมพันธระหวางผูอวยพรกับเจาภาพ กลาวใหเกียรติ ชมเชย ในความดขี องเจา ภาพ และแสดงความปรารถนาดีท่ีมตี อ เจา ภาพ 5. ควรใชคําพูดอวยพรใหถูกตอง หากเปนการอวยพรผูใหญ นิยมอางส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ทเี่ คารพนบั ถือมาประทานพร 4. การกลา วขอบคุณ การกลาวขอบคุณเปนการแสดงน้ําใจไมตรี หรือความดีท่ีผูอ่ืนกระทําให เชน ขอบคุณ วทิ ยากรที่บรรยาย ดังนี้ 1. ควรกลาวขอบคณุ วทิ ยากรใหเกยี รติบรรยาย

9 2. มีการสรุปเรอื่ งทีว่ ิทยากรบรรยายจบไปอยางสั้น ๆ ไดใจความ 3. ควรกลา วถึงคณุ คา ของเรอื่ งท่ีฟง และประโยชนทไ่ี ดรบั จากการบรรยาย 4. กลาวใหมีความหวงั จะไดรับเกยี รติจากวิทยากรอีกในโอกาสตอไป 5. กลาวขอบคณุ วิทยากรอีกครง้ั ในตอนทา ย 5. การพูดใหโอวาท การพูดใหโ อวาท จะมีลักษณะดังนี้ 1. กลาวถงึ ความสาํ คัญ และโอกาสท่มี ากลาวใหโ อวาทวามีความสาํ คัญอยา งไร 2. พดู ใหต รงประเดน็ เลอื กประเดน็ สําคญั ๆ ที่มคี วามหมายแกผ รู ับโอวาท 3. ควรมีขอแนะนํา ตักเตือน และเสนอแนะประสบการณท ี่มีประโยชน 4. ควรพูดชีแ้ จงและเกลย้ี กลอ มใหผ ฟู ง ตระหนกั และนําโอวาทไปใชใ หเกดิ ประโยชน ไดอ ยางแทจ ริง 5. กลาวสัน้ ๆ ไดใ จความดี ตอนทา ยของการใหโอวาทกค็ วรกลาวอวยพรทป่ี ระทับใจ การพูดแสดงความคดิ เหน็ การพดู แสดงความคิดเห็น หมายถึง การพดู เพ่ือแสดงความรูสึกหรือแสดงความคิดเห็น เก่ียวกบั เร่ืองใดเร่ืองหนึ่งอยางมีเหตุผล มคี วามสอดคลอ งกบั เร่อื งที่พูด ประเภทของการพูดแสดงความคิดเห็น 4 ประเภท ดงั น้ี 1. การพูดแสดงความคิดเห็นในเชิงสนับสนุน การพูดแสดงความคิดเห็นในลักษณะ ดังกลาว เปนการพูดเพ่ือสนับสนุนความคิดเห็นของผูอ่ืน ซ่ึงผูพูดอาจจะพิจารณาแลววา ความคิดเห็นที่ตนสนับสนนุ มสี าระและประโยชนตอหนวยงานและสวนรวม หรือถาเปนการแสดง ความคิดเห็นเชิงวิชาการ จะตองเปนความคิดเห็นที่เปนองคความรูสัมพันธกับเน้ือเรื่องท่ีกําลังพูด กันอยู ท้ังในระหวางบุคคลหรือในท่ีประชุม เชน การพูดในที่ประชุม การอภิปราย การแสดง ปาฐกถา เปน ตน 2. การพดู แสดงความคิดเหน็ ในเชงิ ขดั แยง การพูดลักษณะดังกลาวเปนการพูดแสดง ความคดิ เห็นในกรณีที่มีความคิดไมตรงกันและเสนอความคิดอื่น ๆ ท่ีไมตรงกับผูอื่น การพูดแสดง ความคิดเห็นในเชิงขัดแยงดังกลาว ผูพูดควรระมัดระวังเร่ืองการใชภาษาและการนําเสนอ ความ ขดั แยง ควรเปนไปในเชิงสรางสรรค อนั จะกอ ประโยชนต อ หนว ยงานหรือสาธารณชน เชน การสัมมนาเชงิ วชิ าการ การอภิปราย การประชุม เปน ตน 3. การพูดแสดงความคิดเห็นในเชิงวิจารณ เปนการพูดเพื่อวิจารณเกี่ยวกับเรื่องใด เร่ืองหน่ึง ซ่ึงผูวิจารณอาจจะแสดงความคิดเห็นดวยหรือไมเห็นดวย และวิจารณในเชิง

10 สรางสรรค ผูวิจารณจะตองวางตัวเปนกลาง ไมอคติตอผูพูดหรือส่ิงที่เห็น เชน การแสดงความ คดิ เห็นตอหนงั สือ ละคร รายการโทรทัศน ภาพยนตร เปนตน 4. การพูดแสดงความคิดเห็นเพื่อนําเสนอความคิดใหม เปนการพูดในกรณีที่ไมเห็น ดวยกับการแสดงความคิดเห็นของผูอ่ืน และนําเสนอความคิดเห็นใหมของตนที่คิดวาจะเปน ประโยชนต อ สว นรวม เชน การแสดงความคิดเห็นในทปี่ ระชมุ เปน ตน ลักษณะของผพู ดู แสดงความคิดเห็นทดี่ ี 1. ผพู ูดจะตอ งมคี วามรูในเร่อื งทจี่ ะแสดงความคดิ เหน็ เปนอยา งดี 2. การแสดงความคิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ควรมีหลักการแสดงความคิดเห็นในเชิง ขดั แยงและเชิงวิจารณ 3. ใชภาษาสุภาพเหมาะสมกับโอกาส โดยเฉพาะการแสดงความคิดเห็นในเชิงขัดแยง และเชิงวิจารณ เพ่ือรกั ษาความสมั พนั ธท่ีดตี อผูพูดและผฟู ง 4. การแสดงความคิดเห็นใด ๆ ก็ตาม ควรแสดงความคิดเห็นในเชิงสรางสรรค และ เปนประโยชนตอ สวนรวมเปนสาํ คัญ การพดู โนมนา วใจ การพูดโนมนา วใจ หมายถึง การพูดเชิญชวน เกลี้ยกลอม ชักจูงใหผูฟงเกิดความเช่ือถือ ศรัทธา มีความคิดเห็นคลอยตาม และปฏิบัติตาม เชน การพูดโฆษณา การพูดหาเสียง การพูด เชิญชวนใหป ฏบิ ัตติ าม การพดู ชกั จูงใหเ ปลย่ี นแปลงทัศนคติ การพูดปลุกเรา ใหเ กดิ ปฏิกริ ิยาตา ง ๆ หลกั การปฏเิ สธ ประโยคปฏเิ สธที่ดีควรมลี กั ษณะ ดงั น้ี 1. การอางความรสู กึ ประกอบแทนการใชเหตุผลอยา งเดยี ว เพราะการใชเหตุผลอยางเดียว มักถูกโตแ ยง ดวยเหตุผลอน่ื แตค วามรูส กึ เปน เร่อื งท่ีโตแ ยง ไดย าก 2. ปฏเิ สธอยา งชัดเจนทงั้ ทา ทาง คําพูด และน้ําเสยี ง 3. การถามความคิดเห็น เปนการรักษาน้ําใจผูชวน ถาคูสนทนายอมรับคําปฏิเสธ ควรพูดวา “ขอบคุณคะ ” (ครับ)

11 หลักการเจรจาตอ รอง การเจรจาตอรอง มีหลกั การที่สาํ คัญ 3 ประการคือ 1. เพ่ือใหบ รรลเุ ปา หมายหลักการท่ตี อ งการ 2. เสียผลประโยชนใ หนอ ยท่ีสดุ เทาทีจ่ ะเปน ไปได 3. ทําใหอ ีกทกุ ฝา ยรสู ึกพงึ พอใจกับผลการเจรจา การใชก ริ ิยาทาทางประกอบการพูด 1. การใชสายตา สายตาเปนบุคลิกภาพท่ีสําคัญอยางหน่ึงในการพูด ผูพูดตองใชสายตา อยางเหมาะสมตลอดเวลาในการพูด คือ การมองและประสานสายตากับกลุมผูฟงอยางทั่วถึง มีประกายตาเบิกบานแจมใส 2. การแสดงออกทางสีหนา เปนส่ิงสําคัญท่ีแสดงใหเห็นถึงบุคลิกลักษณะ อารมณและ ความรสู กึ นึกคดิ ของผพู ูดไดเ ปน อยางดี โดยผูฟงสามารถอานสีหนาของผูพูดได การพูดดวยสีหนา ที่ย้ิมแยมแจมใส เฉยเมย ไรชีวิตชีวา หรือบึ้งตึงเครงขรึมตลอดเวลา จะส่ือความหมายและ ความรูสึก ที่แตกตางกันออกไป และการแสดงออกทางสีหนายังชวยเนนเรื่องราวและความคิด ในการพดู ดว ย 3. การวางทา ทางในท่ีนี้ หมายถงึ การวางตัวในขณะพดู อาจเปนทา ทางการยืนหรือการน่ัง การวางทาทางที่ดีจะชวยดึงดูดความสนใจ สรางความนาเชื่อถือ และความเล่ือมใสศรัทธาในตัว ผพู ดู ได เปน อยา งดี การพูดในโอกาสตาง ๆ ผูพูดอาจน่ังพูดหรือยืนพูดก็ได ทั้งนี้ข้ึนอยูกับรูปแบบ และสถานการณของการพูดคร้ังนั้น ๆ ถาเปนการพูดที่เปนทางการและใชเวลาไมนานนักมักใช วิธีการยนื พูด แตถาเปน การพูดทไี่ มเปนทางการและใชเ วลานานอาจใชวิธกี ารนั่งพดู 4. การเคล่อื นไหว หมายถึง การเดนิ ไปมาบนเวที เปนส่ิงแรกท่ีจะเรียกรองความสนใจจาก ผูฟงและเปนสิ่งสุดทายท่ีจะสรางความประทับใจใหกับผูฟงไดเปนอยางดี ท้ังนี้เพราะปกติแลว มนุษยจะสนใจส่ิงที่เคล่ือนไหวไปมามากกวาสิ่งที่อยูน่ิงเฉย การเคล่ือนไหวไปมาขณะพูดจะมาก นอยเพียงใดข้ึนอยูกับเวลาและสถานการณในการพูด ถาการพูดครั้งนั้นใชเวลามากและเปนการ พูดท่ีไมเปนทางการ จะมีการเคลื่อนไหวไปมามากกวาการพูดท่ีใชเวลานอยและเปนทางการ การเคลือ่ นไหวท่เี หมาะสมจะชว ยเรียกรอ งและรักษาความสนใจของผูฟงไวไดตลอดเวลา 5. การใชทาทาง หมายถึง การเคล่ือนไหวอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งประกอบการพูดอยางมี ความหมาย เชน การใชมอื แขน ศีรษะ หรอื ไหล เปนตน เพ่ือส่ือความหมายและเนนย้ําเรื่องที่พูด ใหเกิดความรูความเขาใจที่ชัดเจนยิ่งข้ึน รวมท้ังสรางความสนใจและรักษาความสนใจของผูฟง ท้ังนเี้ พราะการใชก ิรยิ าทาทางประกอบการพูดบา ง จะชว ยสรางความสนใจมากกวาการน่ังหรือยืน

12 นิ่งเฉย ๆ และการใชท า ทางท่ีดจี ะชว ยใหการพูดมีประสิทธิภาพดีย่ิงข้ึน โดยทาทางที่แสดงนี้ควรมี ความรูสกึ ผอ นคลายเปนธรรมชาติ เรื่องที่ 3 มารยาทในการพดู มารยาทในการพดู สรุปไดด งั นี้ 1. เรื่องที่พดู น้ันควรเปน เรอื่ งที่ทั้งสองฝายสนใจรว มกนั หรืออยใู นความสนใจของคนทั่วไป 2. พดู ใหตรงประเดน็ จะออกนอกเรอ่ื งบา งกเ็ พยี งเล็กนอย 3. ไมถามเร่ืองสวนตัว ซ่ึงจะทําใหอีกฝายหนึ่งรูสึกอึดอัดใจ หรือลําบากใจใน การตอบ 4. ตองคํานึงถึงสถานการณและโอกาส เชน ไมพูดเรื่องเศรา เร่ืองท่ีนารังเกียจ ขณะ รับประทานอาหารหรอื งานมงคล 5. สรา งบรรยากาศทดี่ ี ยม้ิ แยม แจม ใสและสนใจเรือ่ งทกี่ ําลังพดู 6. ไมแสดงกิริยาอันไมสมควรในขณะที่พูด เชน ลวง แคะ แกะ เกา สวนใดสวนหนึ่ง ของรางกาย 7. หลีกเลยี่ งการกลา วราย การนินทาผอู ่นื ไมย กตนขมทา น 8. พูดใหมีเสยี งดงั พอไดยนิ กันท่ัว ไมพ ดู ตะโกน หรอื เบาจนกลายเปน กระซิบกระซาบ 9. พูดดว ยถอยคาํ วาจาทสี่ ภุ าพ 10. พยายามรกั ษาอารมณใ นขณะพดู ใหเปนปกติ 11. หากนําคํากลาวหรือมีการอางอิงคําพูดของผูใดควรระบุนามหรือแหลงท่ีมา เพื่อให เปนเกยี รติแกบคุ คลท่กี ลา วถงึ 12. หากพดู ในขณะทผ่ี อู ่ืนกําลงั พูดอยคู วรกลา วขอโทษ 13. ไมพดู คยุ กนั ขา มศีรษะผูอ่ืน

13 กจิ กรรมทา ยบทที่ 2 การพดู ในโอกาสตางๆ (5 คะแนน) 2.1 ใหผ เู รียนพดู แนะนาํ ตนเองเปน รายบคุ คลในหวั ขอดงั นี้ 1) ชือ่ -สกุล……………………………………………………… 2) วนั เดอื น ป เกิด…………………………………………… 3) ภมู ลิ าํ เนา……………………………………..…………….… 4) ที่อยปู จจุบนั ……………………………………………….… 5) สถานภาพครอบครัว…………………………………….... 6) อาชีพปจ จบุ นั …………………………………………….…. 7) ความคาดหวงั ในอนาคต…………………………….….. 8) คติพจนประจําตัว…………………………………….….… 2.2 ใหผเู รยี นเขยี นคําพดู สําหรบั พดู ในโอกาสตาง ๆ พรอ มออกมาพดู หนาช้ันเรียน เชน (5 คะแนน) 1) การกลา วตอนรบั 2) การกลาวอวยพร 3) การกลาวขอบคณุ 4) การพดู ใหโ อวาท ฯลฯ

14 บทที่ 3 การอา น เร่ืองที่ 1 การอานในใจ การอานในใจ หมายถึง การแปลตัวอักษรออกมาเปนความรู ความเขาใจ และความคิด แลวนําไปใชอ ีกทอดอยางไมผ ิดพลาด โดยท่วั ไป จะเปนการอา นเพือ่ ความรู และความบนั เทิง จดุ ประสงคของการอา นในใจ 1. เพือ่ จบั ใจความไดถูกตอ งและรวดเร็ว 2. เพ่อื ใหเ กดิ ความรู ความเขาใจ และความคิดอยา งกวา งขวางและลึกซง้ึ 3. เพอ่ื ใหเกิดความเพลิดเพลนิ และเปน การใชเวลาวางใหเ กิดประโยชน 4. เพ่อื ใหถ ายทอดสงิ่ ทอ่ี านใหผอู ่ืนรบั รโู ดยไมผิดพลาด หลกั การอา นในใจ 1. ตง้ั จุดมุงหมาย วาจะตอ งอา นเพอ่ื อะไร อานเพื่อความรู หรือจะอานเพ่ือความเพลิดเพลิน 2. ตั้งสมาธใิ นการอา น ใหจ ดจออยูกับหนังสอื ทีอ่ านจติ ใจไมวอกแวกไปที่อื่นซงึ่ จะทาํ ใหอาน ไดเรว็ และเขา ใจไดด ี 3. ต้ังเปาการอานโดยอานกําหนดปริมาณที่จะอานไวลวงหนา แลวจับเวลาในการอาน เพื่อทจ่ี ะพฒั นาการอานครงั้ ตอไปใหเรว็ ข้นึ 4. ไมอ า นหนังสือทีละคาํ การอานกวาดสายตาใหกวางข้ึนอานใหครอบคลุมขอความที่อยู ตอหนาอยา งเรว็ ไปเรื่อย ๆ 5. ลองถามตนเองวาเปนเร่ืองเก่ียวกับอะไร เกิดกับใคร ที่ไหน อยางไร ถาตอบไดแปลวา เขา ใจแตถา ตอบไมไดก ต็ องกลับไปอานใหม 6. จับใจความสาํ คญั ใหได และบนั ทึกเปนความรูค วามเขา ใจ และความคดิ ไวเพราะจะทําให จําเรอ่ื งทอ่ี า นไดอ ยา งแมน ยาํ และสามารถนาํ ไปใชประโยชนไ ดทันที เรอ่ื งที่ 2 การอา นออกเสียง การอานออกเสียง หมายถึง การอานที่ผูอื่นสามารถไดยินเสียงอานดวยการออกเสียง มักไมนิยมอานเพื่อการรับสารโดยตรงเพียงคนเดียว เวนแตในบางคร้ัง เราอานบทประพันธเปน ทวงทํานองเพ่ือความไพเราะเพลิดเพลินสวนตัว แตสวนใหญแลวการอานออกเสียง มักเปนการ อา นใหผ อู ื่นฟง การอา นประเภทนี้มีหลายโอกาส คือ

15 1. การอา นออกเสียงเพอ่ื บุคคลในครอบครวั หรือผูท ี่คนุ เคย เปนการอานที่ไมเปนทางการ การอานเพ่ือบุคคลในครอบครัว เชน อานนิทาน หนงั สอื พมิ พ ขาว จดหมาย ใบปลิว คําโฆษณา ใบประกาศ หนงั สือวรรณคดีตาง ๆ เปนการ เลาสู กันฟง อา นเพอ่ื ใหเ พ่ือนฟง อา นใหค นบางคนทีอ่ า นหนงั สือไมออกหรอื มองไมเ ห็น เปนตน 2. การอานออกเสยี งทเ่ี ปนทางการหรืออานในเรอื่ งของหนาทีก่ ารงาน เปนการอา นทเ่ี ปน ทางการ มีระเบียบแบบแผนในการอานอยางรัดกุมกวาการอานออก เสียงเพื่อบุคคลในครอบครัวหรืออยูที่คุนเคย เชน การอานในหองเรียน อานในท่ีประชุม อานใน พธิ เี ปดงาน อา นคําปราศรยั อา นสารในโอกาสทสี่ ําคญั ตา ง ๆ การอา นของส่ือมวลชน เปนตน การอานออกเสียงใหผูฟง จะตองอานใหชัดเจนถูกตองไดขอความครบถวนสมบูรณ มีลีลาการอา นทน่ี าสนใจและนา ติดตามฟง จนจบ จดุ มงุ หมายในการอา นออกเสียง 1. เพอ่ื ใหอ า นออกเสียงไดถ ูกตองตามอกั ขรวธิ ี 2. เพ่ือใหรจู กั ใชน ้าํ เสยี งบอกอารมณแ ละความรูสึกใหสอดคลอ งกับเนอ้ื หาของเร่อื งท่ีอาน 3. เพื่อใหเขาใจเรอ่ื งที่อา นไดถูกตอ ง 4. เพื่อใหผูอ านมคี วามรแู ละเขา ใจในเนอื้ เรอ่ื งที่อา นไดอยา งชดั เจน 5. เพอ่ื ใหผูอานและผูฟงเกดิ ความเพลดิ เพลนิ 6. เพอ่ื ใหเปนการรับสารและสง สารวิธีหน่งึ หลักการอานออกเสียง 1. อา นออกเสยี งใหถูกตอ งและชดั เจน 2. อานใหฟง พอที่ผูฟง ไดย นิ ทวั่ ถึง 3. อานใหเปน เสียงพดู โดยธรรมชาติ 4. รจู กั ทอดจงั หวะและหยดุ หายใจเม่ือจบขอความตอนหนึ่ง ๆ 5. อานใหเขาลักษณะของเนื้อเร่ือง เชน บทสนทนา ตองอานใหเหมือนการสนทนากัน อา นคําบรรยาย พรรณนาความรสู กึ หรือปาฐกถาก็อา นใหเขา กับลกั ษณะของเรือ่ งน้นั ๆ 6. อานออกเสียงและจังหวะใหเปนตามเน้ือเรื่อง เชน ดุหรือโกรธ ก็ทําเสียงแข็งและเร็ว ถา เปนเรื่องเกีย่ วกบั คร่าํ ครวญ ออ นวอน กท็ อดเสียงใหช าลง เปน ตน 7. ถาเปนเรอ่ื งรอ ยกรองตอ งคํานงึ ถึงส่ิงตอไปน้ดี ว ย 7.1 สมั ผัสครุ ลหุ ตอ งอา นใหถ ูกตอ ง

16 7.2 เนนคํารับสัมผัสและอานเอื้อสมั ผัสใน เพ่ือเพิม่ ความไพเราะ 7.3 อานใหถ กู ตอ งตามจงั หวะและทาํ นองนิยม ตามลักษณะของรอ ยกรองนนั้ ๆ ยังมีการอานออกเสียงอีกประการหน่ึง การอานทํานองเสนาะ เปนลักษณะการอาน ออกเสียงที่มีจังหวะทํานองและออกเสียงสูงต่ําเพ่ือใหเกิดความไพเราะ การอานทํานองเสนาะน้ี ผูอานจะตองเขาใจลักษณะบังคับของคําประพันธแตละชนิดและรูวิธีอานออกเสียงสูงตํ่า การทอดเสียง การเอ้ือนเสียง ซ่ึงเปนลักษณะเฉพาะของคําประพันธชนิดตาง ๆ ดวยการอาน ทํานองเสนาะนี้เปนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมาชานาน ซ่ึงเปนสิ่งที่คนไทยทุกคน ควร ภมู ใิ จและรักษาวฒั นธรรมลาํ้ คาน้ไี ว เพือ่ ถายทอดสบื ตอ กนั ไปชั่วลูกช่วั หลาน การอา นเรว็ คนที่มีนิสัยรักการอาน ยอมเปนผูท่ีมีความรอบรู มีความนึกคิดลึกซ้ึงและกวางขวาง ท้ังยัง ไดร บั ความบนั เทงิ ในชวี ิตมากขน้ึ อกี ดว ย การอานทใ่ี ชมากในชวี ิตประจาํ วนั คือการอานในใจ เพราะสามารถอานไดรวดเร็ว ไมตอง กังวลกับการเปลงเสียงกับตัวหนังสือ การอานในใจท่ีดี ผูอานจะตองรูจักใชสายตา กิริยาทาทาง มีสมาธิ ความต้ังใจและกระบวนการอานในใจ เชน การเขาใจความหมายของคํา รูจักคนหา ความหมายของคํา หรอื เดาความหมายไดรูจักจับใจความ แลวรูจักพิจารณาตาม รวมท้ังตองเปน ผูทส่ี ามารถอานไดร วดเรว็ อีกดวย หลักการอานเรว็ ในการฝกตนเองใหเ ปนคนอานเร็ว ควรไดเริ่มตนฝกสม่ําเสมอทีละเล็กละนอย โดยฝกอาน ในใจทถี่ ูกวิธแี ละจะตองฝกฝนในสงิ่ ตอไปน้ี 1. มีสมาธใิ นการอาน ในขณะทอ่ี าน จะตอ งสนใจและเอาใจจดจอตอส่ิงที่อาน ไมปลอยใจ วอกแวกคดิ เรือ่ งอ่นื จะทาํ ใหจ บั ใจความของเร่อื งไมไดตลอดและความสามารถในการอา นชา ลงไป 2. จับตาที่ตัวหนังสือ โดยใชสายตาจับอยูในชวงเวลาเล็กนอยแลวเคลื่อนสายตาตอไป อยา งรวดเรว็ การฝกจับตาเชนนี้ตองกระทําบอย ๆ และจับเวลาทดสอบความสามารถในการจับ สายตา และเคลือ่ นสายตาใหไ ดร วดเร็วเพือ่ ทดสอบความกาวหนา 3. ขยายชวงสายตาใหกวาง ชวงสายตาหมายถึงระยะจากจุดท่ีสายตาจับจุดหนึ่งไปยังจุด ท่ีสายตาจบั ในคราวตอไป การรูจกั ขยายสายตาใหกวา งจะชว ยใหอ า นหนังสอื ไดเรว็ 4. ไมอา นยอนกลบั ไปกลบั มา หมายถงึ การทวนสายตายอนกลับไปกลับมายังคําทไ่ี มเขาใจ ซ่ึงทําใหเสยี เวลา

17 5. เปล่ียนบรรทัดใหแมนยํา โดยกวาดสายตากลับมาทางซายเพ่ือขึ้นบรรทัดใหม เม่อื อา นจบแตละบรรทัดและตอ งกําหนดบรรทัดใหแมนยําไมอานขามบรรทัด หรืออานซ้ําบรรทัด เดิมซึ่งทําใหความคิดสับสนการฝกในระยะแรกเร่ิมอาจใชไมบรรทัดหรือกระดาษปดขอความ บรรทดั ลา งไว แลว เลอื่ นลงเร่อื ย ๆ คอย ๆ เพิ่มความเร็วข้ึนจนชํานาญจึงอานโดยไมตองใชสิ่งอ่ืน มาปด การอา นเพือ่ เขา ใจความหมายของสาํ นวน การอา นเพื่อทําความเขาใจ ความหมายของสํานวน ตองอาศัยถอยคําสิ่งแวดลอม บริบท เพื่อสรุปสาระสาํ คญั 1. ความหมายของสํานวน สํานวน คือถอยคําท่ีมีความหมายไมตรงตามความหมายปกติ ของคํานน้ั ๆ 2. หลักการอา น เพ่ือเขาใจความหมายของสํานวน 2.1 อานขอความอยางละเอียด เพ่ือจับใจความสําคัญ เขาใจเนื้อเรื่องและเขาใจ ความหมายของสาํ นวน 2.2 สังเกตเนื้อความตามบรบิ ท ทาํ ใหตีความหมายของสาํ นวนไดถูกตอ ง 2.3 ตคี วามหมายของสํานวน ตองตรงประเด็นตามบริบท การอานเพอ่ื เขา ใจโวหารตา ง ๆ ผูเขียนตองใชโวหารประกอบการเขียน เชน พรรณนาโวหาร อุปมาโวหาร สาธกโวหาร ฯลฯ เพ่อื ใหง านเขียนมคี ณุ คา 1. ความหมายของโวหาร โวหาร คอื ทวงทํานองในการเรียบเรยี งถอยคําท้ังในวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง โวหารท่ใี ชกันทัว่ ไปมี 5 โวหาร ดงั น้ี 1.1 บรรยายโวหาร คือ การเลาเรื่องไปตามเหตุการณ เชนการเขียนบทความ การเลา นิทาน เลา ประวตั บิ ุคคล ตาํ นาน ตอ งอธิบายใหเ ปนไปตามลาํ ดบั 1.2 พรรณนาโวหาร คือ การเขียนเลาเร่ืองอยางประณีตมักแทรกความรูสึกของ ผูเขียนดวยทําใหผูอานเกิดความรูและอารมณคลอยตาม เชน การพรรณนาความสวยงาม คุณความดีตลอดจนพรรณนาอารมณและความรสู ึกในใจ ฯลฯ 1.3 เทศนาโวหาร คือ กระบวนความอบรมส่ังสอน อธิบายในเหตุผล หรือช้ีแจง ใหเ ห็นคณุ และโทษ เพอ่ื ใหผ อู า นเชื่อถือตาม

18 1.4 สาธกโวหาร คือ การเขียน โดยยกตัวอยางประกอบเพ่ือใหผูอานเขาใจเรื่องได ชดั เจนยงิ่ ข้ึนนยิ มใชในการบรรยายโวหาร และเทศนาโวหาร 1.5 อุปมาโวหาร คือ การเขียน โดยยกขอความเปรียบเทียบ เพ่ือใหผูอานเขาใจ เรือ่ งราวตา ง ๆ ไดด ยี ิ่งข้ึน ใชแทรกในโวหารตาง ๆ การอา นออกเสยี งรอยกรอง การอานบทรอยกรองตาง ๆ ใหเปนไปตามทํานองลีลาและจังหวะอันถูกตองจะทําให เกิดความไพเราะเสนาะหู และทําใหผ ฟู งไดรับอรรถรสทางภาษาดว ย หลกั การอานออกเสียงรอยกรอง 1. อานออกเสียงใหด งั พอเหมาะ กับสถานทีแ่ ละจํานวนผูฟง 2. อา นใหคลอ ง ร่ืนหู ออกเสียง ใหชดั เจนโดยเฉพาะตัว ร ล ตัวควบกลํา้ 3. อานใหถูกฉันทลักษณของคําประพันธ เชน จํานวนคํา จํานวนวรรค สัมผัส ครุ ลหุ คาํ เปน คาํ ตาย 4. อานใสอารมณ ตามลีลาของบทรอยกรองดวยความรูสึกซาบซ้ึงช่ืนชมในคุณคาของ บทรอยกรองน้ัน ๆ โดยใหมีทวงทํานอง สูง ต่ํา หนัก เบา เพื่อใหไดรสถอย รสเสียง รสความ รสภาพ การอานกลอนสภุ าพ ooo oo ooo 1. จํานวนคาํ ในกลอนสุภาพ ooo oo ooo ooo oo ooo ooo oo ooo 2. คณะ กลอนสุภาพ บทหนึ่งมี 2 บาท บาทที่ 1 เรียกวา บาทเอก มี 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ บาทที่ 2 เรียกวาบาทโท มี 2 วรรค คือวรรครอง และวรรคสง พยางคใน กลอนวรรคหน่ึง ๆ จะบรรจุคําประมาณ 6 - 9 คํา กลอนแปด มีวรรคละ 5 คํา รวม 4 วรรค เปน 32 คาํ 3. วธิ ีอา นกลอนสุภาพ กลอนมีหลายชนิด ไดแก กลอนหก กลอนแปด กลอนดอกสรอย กลอนสักวา กลอน บทละคร การอา นคลา ยคลึงกนั จะแตกตา งกันบา งเพียงเลก็ นอ ย ดังน้ี 1. อา นทํานองชาวบาน คอื เสียงสูง 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ และอานเสียงต่ํา ในวรรครอง และลดตาํ่ ลงไปอีกในวรรคสง

19 2. อานทํานองอาลักษณ คือ อานเสียงสูง 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ และอาน เสยี งตํ่าในวรรครอง และลดตา่ํ ลงไปอกี ในวรรคสง การแบง จาํ นวนคาํ วรรคหน่งึ จะมี 8 - 9 คํา ดังน้ี 3 2 3 เขาคลอขลยุ ครวญเสยี ง เพยี งแผว ผิว ชะลอน้ิว พล้ิวผา น จนมานหมอง ถา มี 9 คาํ จะแบงวรรคเปน 3 3 3 สรวงสวรรค ชั้นกวี รจุ รี ัตน ผองประภัสสร พลอยหาว พราวเวหา การอานกาพยย านี ooo ooo 1. จํานวนคาํ ในกาพยย านี ooo ooo oo ooo oo ooo 2. วิธีอาน วรรคท่ี 1 และ 2 ในบาทเอกจะออกเสียงต่ํา วรรคที่ 1 ในบาทโท จะอานออกเสียง สูงข้ึน หรือ อานออกเสียงเหมือนวรรคที่ 1 ก็ไดตามความเหมาะสม วรรคท่ี 2 ในบาทโท อานออกเสยี งตํา่ กาพยยานีมีจงั หวะการอาน ดังนี้ มสั หมน่ั แกงแกว ตา หอมยีห่ รา รสรอ นแรง ชายใด ไดกลืนแกง แรงอยากให ใฝฝ น หา การอา นโคลงส่ีสภุ าพ oo oo 1. จาํ นวนคาํ ในโคลงสี่สุภาพ oo oo ooo oo oo oo ooo oooo oo ooo oo ooo 2. คณะโคลงบทหน่ึงมี 4 บาท บทที่ 1 2 3 4 บาทหนึ่งมี 2 วรรค คือ วรรคหนา และวรรคหลังมีจํานวนคาํ เทา กนั คือ 5 คาํ และ 2 คาํ ยกเวน วรรคหลังในบาทท่ี 4 จะมี 4 คํา

20 3. วิธีการอา น การอานโคลงส่ีสภุ าพสามารถอา นได 2 ลลี า คอื 1. อานแบบรอ ยแกว 2. อานแบบทาํ นองเสนาะ การแบงชวงเสียง วรรคแรกเปน 2 ชวง เปน 3 2 หรือ 3 2 วรรคหลัง เปน 2 การแบง ชวงเสียงตองพิจารณาใหคงความหมาย แทนท่ีจะแกตามปกติบทรอยกรองที่ไพเราะ กวีจะจัด กลมุ คําไวดีแลว การเออ้ื นเสียงทอดเสียง ตามปกติจะเอื้อนเสียงทายวรรคแรกของแตละบาท ในบาทที่ 2 อาจเอื้อนเสียงไดถึงคําท่ี 1 คําที่ 2 ของวรรคหลัง และบาทท่ี 4 ระหวางคําที่ 2 กับคําท่ี 3 ของ วรรคท่ี 2 และทอดเสียงตามตาํ แหนง สมั ผสั ตวั อยา งโคลงส่ีสุภาพ เรอื งเรอื ง ไตรรตั นพ น พันแสง รินรส พระธรรมแสดง คาํ่ เชา เจดยี  ระดงแซง เสียดยอด ยลยิง่ แสงแกวเกา แกนหลา หลากสวรรค (นิราศนรนิ ทร) การอานฉันท ฉันท มีลักษณะบังคับพิเศษแตกตางไปจากคําประพันธชนิดอื่นโดยบังคับ ครุ ลหุ แทน คําธรรมดา และบังคบั สมั ผัส เชนเดยี วกับคําประพนั ธช นิดอื่น ๆ คําลหุ ( , ) คอื พยางคท ่มี ลี กั ษณะใดลักษณะหนงึ่ ดังน้ี 1. การประสมสระเสียงส้ันในแม ก กา เชน จะ ทิ ปุ ยกเวน พยางคท่ีประสมดวย สระ อาํ ใอ ไอ เอา ซ่งึ จดั เปน คาํ ครุ เชน คํา ไกล ใจ เรา 2. คาํ บ บ จดั เปน คําลหุ คาํ ครุ คือ พยางคท มี่ ลี ักษณะใดลักษณะหน่ึง ดงั นี้ 1. ประสมสระเสยี งยาวในแม ก กา เชน อา ดี เธอ ปู 2. ประสมสระ อาํ ใอ ไอ เอา 3. มตี ัวสะกด เชน มด กัด เด็ก

21 แผนบงั คบั อินทรวเิ ชียรฉนั ท อินทรวิเชียรฉันท บทหน่ึงมี 2 บาท บาทหน่ึงมี 2 วรรค วรรคหนา 5 คํา วรรคหลัง 6 คาํ มีการแบงจังหวะการอา นดังน้ี สายันห ตะวันยาม ขณะขา ม ทิฆมั พร เขา ภาค นภาตอน ทศิ ตะตก กร็ าํ ไร หนงั สอื และส่ือสารสนเทศ หนังสือ ปจจุบันนี้มีหนังสือออกมาจําหนายหลายประเภท ทั้งตําราวิชาการ วารสาร นิตยสาร หนงั สือพิมพ นวนยิ าย เรื่องสั้น สารคดี ฯลฯ การท่ีมีหนังสือออกมาจําหนายมากมายเชนน้ี ผูอาน จึงจาํ เปน ทจ่ี ะตองรูวธิ กี ารเลือกหนงั สอื เพื่อจะไดอ านหนงั สอื ทีเ่ หมาะกับความตองการของตนเอง เหมาะกับเวลาและโอกาส วธิ ีการเลอื กหนงั สอื ประเภทตาง ๆ ในการเลือกอา นหนงั สอื ประเภทตา ง ๆ นน้ั ผอู านควรพิจารณาใหรอบคอบ ละเอียดถ่ีถวน เพ่ือประโยชนในการพิจารณาคุณคาของหนังสือน้ัน ๆ หนังสือแตละประเภทควรเลือกพิจารณา ดังนี้ 1. ตําราวิชาการ เปนหนังสือที่ใหความรูดานตาง ๆ โดยเฉพาะอาจจะเสนอทฤษฎีหรือ เน้ือหาสาระอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะดานในดานหน่ึง โดยผูแตงมีจุดมุงหมายทางดานวิชาการ โดยตรง การพจิ ารณาควรดรู ายละเอียดในดา นตา ง ๆ ดังน้ี 1.1 พิจารณาดานเนื้อหา เน้ือหาจะตองถูกตองกับช่ือหนังสือ เชน วิชาวิทยาศาสตร กฎหมาย ภาษาศาสตร ประวัติศาสตร คณิตศาสตร ฯลฯ หนังสือวิชาการแขนงใด เนื้อหา ก็ควร จะเนน แขนงนัน้ โดยเฉพาะ 1.2 พิจารณา ขอมูล และภาพประกอบ ขอมูลและภาพประกอบควรถูกตองชัดเจน โดยเฉพาะภาพประกอบ ควรดูวา ตรงกบั คําบรรยายหรือไม และภาพนน้ั นาสนใจเพียงใดเหมาะสม กับวิชาน้ันหรอื ไม 1.3 การใชภาษา ภาษาท่ีใชควรเปนภาษาท่ีเหมาะสมกับแขนงวิชานั้น ๆ และดูการ สะกดคําดวยถา หากมีคําผิด ก็ควรจะเลือกดหู นังสือทีม่ ีคําผดิ นอยทส่ี ดุ นอกจากน้ีการพิจารณาตําราวิชาการควรดูสวนประกอบอ่ืน ๆ ดวย เชน รูปเลม ควรมี คํานาํ สารบญั ฯลฯ

22 2. สารคดี เปนหนังสือท่ีมีสาระในดานใหความรู ความคิด พรอมทั้งใหความเพลิดเพลิน ดวยหนังสือประเภทน้ีมีหลายชนิด เชน วิทยาศาสตร ประวัติศาสตร ประวัติบุคคลสําคัญ ฯลฯ หนงั สอื สารคดที ี่มีคุณภาพนนั้ พิจารณาในรายละเอียดตาง ๆ ดงั นี้ 2.1 พิจารณาดานเนื้อหาสาระ คุณคาของสารคดีนั้นอยูท่ีเนื้อหาสาระเปนประการ สําคญั เนือ้ หาที่ดีจะตอ งถูกตอ งและสมบรู ณ รวมท้ังเสนอความคิดเห็นท่เี ปนประโยชนตอ ผอู านและ สังคมสว นรวม เชน 2.1.1 สารคดีประเภทชีวประวัติ เนื้อหาสาระจะตองตรงตอความเปนจริง ผูเขียน จะตองเขียนดวยใจเปนธรรม ไมอคติตอเจาของประวัตินั้น ๆ เนื้อหาจึงควรมีท้ังสวนดีและสวน บกพรอ งของเจา ของประวัติ 2.1.2 สารคดีประเภททองเท่ียว ควรมีเน้ือหาท่ีใหทั้งความรูและความบันเทิง รวมท้ังประสบการณท่แี ปลกใหมนา สนใจ เพ่อื ใหผอู านไดทราบขอเท็จจริงเกยี่ วกบั สถานท่ีนั้น ๆ 2.1.3 สารคดีประเภทเชิงวิชาการ ควรมีเน้ือหาที่ใหความรูอยางถูกตองแมนยํา ควรมีภาพหรือแผนทีป่ ระกอบใหถูกตอ งตรงกับสาระของเร่ืองดวย 2.2 พจิ ารณาวิธกี ารเขียน วิธีการเขียนสารคดีพจิ ารณาไดจากหลกั เกณฑตอ ไปน้ี 2.2.1 การวางโครงเรื่องและการดําเนินเรื่อง สารคดีตองมีวิธีการดําเนินเรื่อง ตามลาํ ดับ 2.2.2 เราความสนใจ ขอเขียนที่ดีผูเขียนจะมีวิธีการเขียนที่จะดึงดูดความสนใจ ของผอู านใหติดตามอานไปเรอื่ ย ๆ โดยไมเกิดความเบื่อหนา ย 2.2.3 สํานวนภาษา ภาษาที่ใชในการเขียนสารคดีเปนถอยคําภาษาที่ไพเราะ งดงาม มีสาํ นวนกะทัดรดั อานเขาใจงาย ไมใชสาํ นวนทไี่ มสุภาพ 2.2.4 สวนประกอบอ่ืน ๆ ควรพิจารณาเก่ียวกับผูแตงและสวนประกอบรูปเลม ของหนังสือถาสารคดีนั้นเปนหนังสือเลม ซ่ึงจะมีคําวา สารบัญ เนื้อเร่ือง บรรณานุกรม ฯลฯ ตามรูปแบบของหนังสือ 3. บนั เทงิ คดี เปนหนังสือท่ีแตง เพ่ือมุงใหผูอานเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน อาจจะ แทรกวรรณคดี บทรอยกรอง บทละคร ซึ่งสามารถแตงเปนรอยแกวหรือรอยกรองก็ไดตามความ เหมาะสม ในการพิจารณาเรอ่ื ง บนั เทงิ คดี ควรพิจารณาในดานตา ง ๆ ดงั นี้ 3.1 โครงเร่ืองและเนื้อเรื่องสวนสําคัญของนวนิยายและเร่ืองสั้น คือ การเลาเรื่อง โดยเลาวาเปนเรื่องของใคร เกิดขึ้นที่ไหน เม่ือไหร มีความสัมพันธระหวางเหตุการณตาง ๆ ในเรือ่ ง และระหวา งบุคคลในเรื่องเกย่ี วเนือ่ งกันไปโดยตลอดมกี ารสรา งความสนใจใหผอู า น

23 อยากติดตาม นอกจากนี้เหตุการณท่ีเกิดขึ้นในเรื่องควรสมจริง และเปนไปอยางสมเหตุสมผล และมสี ว นประกอบปลีกยอ ยอืน่ ๆ เพอ่ื ใหน าตดิ ตาม 3.2 การดําเนินเร่ือง สวนสําคัญท่ีชวยใหเร่ืองนาสนใจชวนติดตามขึ้นอยูกับ การ ดําเนินเร่ือง การดําเนินเร่ืองมีอยูหลายวิธี เชน ดําเนินเร่ืองตามลําดับวัย คือ เร่ิมต้ังแตตัว ละครเกิดจนกระท่ังถึงแกกรรม ดําเนินเร่ืองยอนตน คือ เลาเหตุการณในตอนทายเสียกอนแลว ยอนกลับ ไปเลาตั้งแตตนจนกระทั่งจบ เปนตน ฉากที่ดีตองมีสภาพความเปนจริง ท้ังสภาพ ภูมศิ าสตร และประวตั ิศาสตร นอกจากนี้ยังตอ งสอดคลอ งกบั เรอ่ื งดวย 3.3 ตวั ละคร ผูเขียนมีวิธีการแนะนําตัวละครไดหลายวิธี เชน ดวยการบรรยายรูปราง ลกั ษณะของตัวละครเอง ดว ยการบรรยายพฤตกิ รรมของตวั ละคร หรอื ดวยการใหตัวละครสนทนากัน เปนตน การบรรยายลักษณะนิสัยของตัวละครท่ีดีน้ัน ควรบรรยายอยางสมจริง ตัวละครตัวหนึ่ง ๆ จะมีลักษณะนิสัยหลาย ๆ อยางไมใชดีจนหาที่ติมิได หรือเลวจนไมมีความดีท่ีจะใหชมเชย ความ ตองการของตัวละครท่ีดีควรจะเหมือนคนธรรมดาทั่ว ๆ ไป เชน มีความรัก ความโกรธ เกลียด หรอื ตองการความสนใจจากผอู ่นื เปนตน 3.4 แนวคิดของเร่ือง แนวคิดของเรื่องสวนมากผูเขียนจะไมบอกตรง ๆ ผูอานจะตอง คนเอาเองวาไดแนวคิดอยางไร ตัวอยางเชนเร่ือง ลูกชายของศรีบูรพา ตองการแสดงวา “ลูกผูชาย นนั้ มคี วามหมายอยา งไร” จดหมายจากเมืองไทยของโบตั๋นตองการใหเห็นขอดีขอเสียของคนไทย โดยเฉพาะ “น้ําใจ” ซึ่งไมเ หมอื นกันกบั ชาติอนื่ เปนตน นวนิยายหรอื เรื่องสนั้ ที่ดนี ้ัน ผอู านตอ งพจิ ารณาคุณคาที่จะไดจากเร่ืองน้ัน ๆ ไมทางใด ก็ทางหนึง่ ดว ย 3.5 สํานวนภาษา เปน สง่ิ สําคัญมากอยางหนึ่ง ในการพิจารณาเลือกอานนวนิยายและ เร่ืองสนั้ ผูอา นมักจะรสู กึ วาตนเองชอบหรือไมชอบสํานวนของนักเขียนคนนั้นคนนี้ แตบางคนก็ไม สามารถบอกวา เพราะเหตุใด สง่ิ ท่ีควรพิจารณาเกย่ี วกับสํานวนภาษาคอื สํานวนภาษาของตัวละคร ในบทสนทนา ตองสมจริงและเหมาะสมกับตัวละคร ประโยคท่ีแตกตางควรกะทัดรัด สละสลวย เขา ใจงา ย หากเปนประโยคยาวกค็ วรเปน สํานวนทส่ี ามารถสรางอารมณ และความรสู กึ ไดดี 4. วารสารและหนังสอื พมิ พ หนังสอื ประเภทน้ีคนท่ัวไปไดอานบอยกวาหนังสือประเภท อ่ืน ๆ ในการผลิตหนังสือประเภทน้ีตองแขงกับเวลา ดังนั้น โดยการพิจารณาหนังสือประเภทน้ี ควรพจิ ารณา ดังน้ี หนังสอื พมิ พ หนังสือพิมพเ ปนเคร่ืองมือสอ่ื สารทีจ่ ะกระจายขา วคราวเหตกุ ารณตาง ๆ ไปท่ัวประเทศหรืออาจท่ัวโลก โดยเฉพาะหนังสือพิมพรายวัน เปนเครื่องมือสื่อสารท่ีเสนอขาว ที่นาสนใจท่ีเกิดข้ึนในแตละวันดังนั้นหัวใจของหนังสือพิมพรายวันก็คือ“ขาว” การพิจารณา

24 หนังสือพิมพรายวันจึงควรพิจารณาเก่ียวกับขาววามีสวนในการชวยยกระดับสังคมใหสูงขึ้น หรือ มีประโยชนตอชนหมูมากหรือไม หากขาวนั้นไมเก่ียวกับความเปนอยูของคนหมูมาก หรือ กระทบกระเทอื นตอ ประชาชนสว นใหญ เหตุการณเหลานน้ั กไ็ มควรนาํ มาเสนอในหนาหนังสือพิมพ ขาวที่ควรนําเสนอควรเปนขาวท่ีเกี่ยวกับการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา การอนามัย การประกอบอาชพี ฯลฯ บทวิจารณ ในหนังสือพิมพรายวันทุกฉบับจะมีบทวิจารณ หรือบทวิเคราะหขาว ซ่ึงเปน ลักษณะ บทความ แสดงความคิดเห็นของผูเขียนเอง ประกอบกับขาวท่ีตองการวิจารณ หรือ วิเคราะหน ั้น การพิจารณาบทวิจารณใ นหนงั สือพิมพ ควรพจิ ารณาถึงลักษณะตอ ไปน้ี 1. พจิ ารณาขอมูลท่ีผูเขยี นอา งอิงวาถกู ตองและมีขอเท็จจรงิ เพยี งใด 2. พจิ ารณาวาผเู ขยี นบทความนนั้ ชใี้ หเหน็ ปญหาและวธิ แี กปญ หาอยา งไร 3. พจิ ารณาวา ผเู ขียนบทวจิ ารณใ ชอ ารมณ และนําความรสู ึกสวนตัวเขาไปเก่ียวขอ ง หรือไม 4. พจิ ารณาภาษาท่ีใชวา มีความประณีตและถูกตองตามหลกั ภาษาเพยี งใด วารสาร เปนหนังสือพิมพจําหนายตามกําหนดระยะเวลา เชน 7 วัน 10 วัน รายเดือน ราย 3 เดอื น หรอื รายป เปน ตน หนังสอื วารสารจึงมีเนื้อหาเนนทั้งสารคดี และบันเทิงคดี ขาวสาร ทีป่ รากฏมักเปน ขาวสารที่มีระยะเวลาตอเน่ืองกันเปนเวลานาน เชน ขา วเกีย่ วกบั นโยบายโครงการ ตาง ๆ หรือขาวเกี่ยวกบั การเมอื งบางเรื่อง เปนตน ดังน้ัน การอานวารสาร จึงควรพิจารณาเลือกอานเรื่องที่เราสนใจ และควรพยายามอาน อยางสมาํ่ เสมอ นอกจากพจิ ารณาเก่ียวกับขาวสารดังกลาวแลว สิ่งท่ีควรพิจารณาอีกอยางหนึ่งคือรูปเลม ควรพจิ ารณาความเรียบรอ ยและความคงทนของการจัดรูปเลมใหเหมาะสมกับราคาดว ย ประโยชนข องการเลอื กหนังสอื การเลือกหนงั สอื ควรคํานึงถงึ ประโยชนท ี่จะไดรบั ดังตอไปนี้ 1. เพ่อื ใหไ ดห นงั สือท่ีตรงกบั ความสนใจ และตองการท่ีจะศกึ ษาคน ควา 2. เพอื่ ใหไดอา นหนังสือท่ดี ีมีประโยชนต อชวี ิต 3. เพอ่ื เลอื กหนังสือใหเหมาะสมกบั เวลา 1. การเลอื กหนังสือทีต่ รงกบั ความสนใจ และตองการทจ่ี ะศกึ ษาคน ควา ผูที่จะเลือกอานหนังสือประเภทนี้ก็คือ ผูท่ีมีความสนใจหนังสือเลมน้ันโดยตรง หรือ ผูที่มีความตองการศึกษาคนควา เร่ืองนั้น ๆ โดยเฉพาะ เชน ผูศึกษาคนควาตามแนวทางที่ตนได

25 เรียนมา ผูท่ีเรียนทางดานภาษาก็จะคนควาทางดานน้ี เพ่ือจะไดรับประโยชนจากการอานอยาง คุมคา 2. เพอ่ื ใหไ ดอา นหนงั สือทดี่ ีมีประโยชนตอ ชีวิต ผทู ่อี า นหนังสือทุกคนยอ มหวงั ที่จะไดร บั ประโยชนจ ากการอาน เชน ขอคิดเห็น ความรู ทางวิชาการขาวที่ทันเหตุการณ แนวทางดําเนินชีวิตท่ีดี ฯลฯ แมวาจะไดรับประโยชนเพียง เลก็ นอ ยก็ตาม เพราะการท่ีไดรับประโยชนโดยตรงจากการอานนี้ยอมทําใหไมเสียเวลาโดยเปลา ประโยชน 3. เพอื่ เลอื กหนงั สือใหเ หมาะสมกบั เวลา การอานหนังสือนน้ั จะเสียเวลามากหรือนอยยอมแลวแตเร่ืองที่อานวามีขนาดสั้น ยาว แคไหนมีความยากงายตอการอานมากนอยเพียงใด ถาหากมีเวลานอยควรอานเร่ืองสั้น ท่ีจบได ทันเวลาที่มีอยู ถามีเวลามากก็อานเร่ืองยาวขึ้นโดยเลือกใหเหมาะสมกับเวลา เพราะการอาน หนงั สอื นัน้ หากไมเลือกใหเหมาะสมกับเวลาอาจทาํ ใหผอู านรสู ึกเบ่อื และไมอ ยากอา นอกี ตอ ไป ประโยชนที่ไดรบั จากการอานหนังสอื การอานหนงั สอื ยอ มไดร ับประโยชนหลายประการ ซึ่งพอจะสรปุ ไดด ังนี้ 1. อา นหนังสอื ตรงกบั ความตอ งการของตน 2. ไดรับความรจู ากเร่ืองนน้ั สมความตั้งใจ 3. ทาํ ใหร กั การอา นมากย่งิ ขึ้น เพราะไดอานหนงั สือท่ตี นเลอื กเอง 4. ชวยพัฒนาอาชีพใหก า วหนา 5. ชว ยใหเ กดิ ความคิดสรางสรรค 6. ทาํ ใหเกดิ ความเพลดิ เพลนิ สนุกสนาน 7. ทําใหท ราบความเปน ไปของบา นเมอื ง ทนั โลก ทนั เหตกุ ารณ 8. เพ่ิมพนู ความรูความสามารถ เปน การพฒั นาตนเอง 9. ไดอ านหนังสือทม่ี ีคุณคา คุมกบั เวลาท่ีเสยี ไป สอ่ื สารสนเทศ ปจจุบันไดมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชประโยชนทางการศึกษา ทั้งในดานการ บริหาร การจัดการและการเรียนรูดานสื่ออิเล็กทรอนิกส เปนการใชประโยชนจากแหลงความรู จากสื่อตาง ๆ ท่ีหลากหลายมากขึ้น เพ่ือใหประชาชนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดอยาง ตอเน่ือง ส่อื สารสนเทศมที ั้งส่อื สิง่ พมิ พ และส่ืออเิ ล็กทรอนิกส

26 ส่อื สง่ิ พิมพ ส่ิงพิมพท ่จี ดั พมิ พข ึน้ เพอ่ื นาํ ไปใชใ นการจดั การเรียนการสอน เชน หนังสือเรียน ตําราเรียน แบบเรียน แบบฝกหัด ใบงาน คูมือการสอนและสงเสริมการเรียนรู เชน หนังสือสงเสริมความรู สารานุกรม พจนานุกรม หนังสือพิมพ หนังสือบันเทิงคดี และสารคดีที่มีเน้ือหา เปนประโยชน สวนส่อื ส่งิ พิมพท่ใี หค วามรขู า วสารตาง ๆ เชน หนงั สือเลม หนงั สือพมิ พ วารสาร นติ ยสาร เอกสาร จุลสาร แผนพบั แผน เปลา เปน ตน สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส สังคมยุคปจจุบัน การส่ือสารดวยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสมีใชกันอยางกวางขวาง ทั่วประเทศ การใชส่ืออิเล็กทรอนิกสในสังคมยุคโลกาภิวัตนเปนเรื่องจําเปน เพราะชวยให ประชาชนเขาถึงขอมูล ขาวสารความรูตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว อันเปนการสงเสริมสรางโอกาส ในการเขาถึงการศึกษาของประชาชน ใหสามารถเรียนไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ส่ืออิเล็กทรอนิกส ไดแก วิทยุ โทรทัศน เทปเสียง วีดิทัศน โปรแกรมคอมพิวเตอรซอฟตแวรใน รปู แบบตา ง ๆ คอมพิวเตอรชว ยสอน เปน ตน 1. วิทยุ เปนส่ือมวลชนที่ใชเสียงเปนส่ือ เร่ืองราวที่ส่ือสารมีท้ังเร่ืองท่ีใหความบันเทิง และเร่ืองท่ีใหสาระความรู เชน ขาว บทความ รายการตอบปญหา สัมภาษณบุคคลสําคัญ รายการ วิทยุ เพื่อการศึกษา เปน ตน 2. โทรทัศน เปนสื่อมวลชนท่ีใชท้ังเสียงและภาพเปนส่ือ การชมรายการทางโทรทัศน นอกจากเราจะสัมผัสดวยหูแลว ยังสัมผัสไดดวยตาอีกดวย รายการโทรทัศนจึงนาสนใจกวา รายการวิทยุ และทาํ ใหผูชมต่นื ตัวอยูต ลอดเวลา จงึ ประทับใจหรอื จดจาํ ไดดกี วารายการวิทยุ 3. คอมพิวเตอรชวยสอน เปนสื่อที่ผูเรียนสามารถนําไปศึกษาดวยตนเองในเวลาแล สถานทที่ ผ่ี เู รยี นสะดวก ทําใหม ีความเปนอสิ ระ และเปน สว นตวั ในการเรยี นรู สามารถโตตอบ หรือ ใหผลยอนกลับไดทันที ทําใหผูเรียนทราบความกาวหนาในการเรียนของตนซึ่งหากไมเขาใจก็ ยอนกลับไปทบทวนไดหลาย ๆ ดาน ทําใหผูเรียนไดพัฒนาความรูตามความพรอมและศักยภาพ ของตน 4. อินเตอรเน็ต (Internet) หรือเทคโนโลยีเครือขายเปนการเชื่อมโยงแหลงขอมูล จากท่ัวโลกที่หลากหลายคลายกับ “หองสมุดโลก” ใหผูเรียนไดคนควาเนื้อหาสาระที่ตองการได อยา งสะดวกรวดเรว็ และราคาประหยดั

27 เรอื่ งที่ 3 การอา นจับใจความสาํ คญั การอานจะเกิดประโยชนสูงสุดแกผูอานไดนั้น ผูอานจะตองจับใจความสําคัญของเรื่อง ที่อานใหไ ดแ ลว นําไปปฏิบตั ิ ใจความสําคัญ หมายถงึ ขอ ความท่เี ปนแกนหรือหัวใจของเร่ือง การจับใจความสําคัญในการอานก็คือ กรณีเอาขอความหรือประโยคที่เปน หัวใจของเร่ืองนั้นออกมาใหได เพราะใจความสําคัญของเรื่อง จะเปนใจความหลักของแตละบท แตละตอน หรือแตละเรื่องใหรูวาแตละบทตอนน้ันกลาวถึงเรื่องอะไรเปนสําคัญ ดังนั้น การจับ ใจความสาํ คญั ของเรอื่ งท่อี า น จะทําใหม คี วามเขา ใจในเรอ่ื งน้ัน ๆ อยางแจมแจง หลกั การอานจบั ใจความ 1. การเขาใจความหมาย หลกั เบอ้ื งตน ในการจบั ใจความของสาระที่อาน คือ การเขาใจความหมาย ความหมาย มีหลายระดับนับต้ังแตระดับคํา สํานวน ประโยค และขอความ คําและสํานวนเปนระดับภาษา ที่ตองทําความเขาใจเปนอนั ดับแรก เพราะนาํ ไปสูความเขาใจความหมายของประโยคและขอความ 1.1 ความหมายของคํา ความหมายของคําโดยทั่วไปมี 2 อยาง คือ ความหมายโดยตรง และความหมาย โดยนยั ก. ความหมายโดยตรง เปนความหมายตามรูปคําที่กําหนดข้ึน และรับรูไดเขาใจ ตรงกนั ความหมายประเภทน้เี ปน ความหมายหลักท่ใี ชสอ่ื สารทําความเขา ใจกัน คําท่ีมีความหมายโดยตรงในภาษาไทยมีลักษณะอยางหนึ่งที่อาจเปนอุปสรรค ในการส่อื สารลักษณะดงั กลาว คอื การพอ งคาํ คาํ พองในภาษาไทยมีอยู 3 อยาง ไดแก คําพองรูป คาํ พองเสยี ง และคําพอ งรปู พอ งเสียง คาํ ที่พอ งท้งั 3 ลักษณะน้มี คี วามหมายตางกนั คําพองรูป คือ คําท่ีสะกดเหมือน แตออกเสียงตาง เชน เพลารถ กับ เพลาเย็น คําแรก ออกเสียง เพลา คําหลังออกเสียง เพ ลา คําพองรูปเปนอุปสรรคตอการอานและทํา ความเขาใจ คําพองเสียง คือ คําที่ออกเสียงเหมือนกัน แตสะกดตางกัน เชน การ กาน กานต กานท กาล กาฬ กาญจน ทั้งหมดน้ีออกเสียง “กาน” เหมือนกัน การพองเสียงเปนอุปสรรค ตอ การอา นเพือ่ ความเขา ใจ คําพองรูปพองเสียง คอื คําที่สะกดเหมอื นกนั และออกเสียงอยางเดียวกัน โดยรูปคาํ จะเหน็ วา เปน คําเดียวกัน แตมคี วามหมายแตกตา งกัน

28 คําพองรูป พองเสียงเปนอุปสรรคตอการฟงและอานเพื่อความเขาใจ วิธีท่ีจะชวยให เขาใจความหมายของคําพอง จะตองดูคําขางเคียงหรือคําที่ประกอบกันในประโยคหรือขอความ น้นั ทีเ่ รียกวาบรบิ ท ดงั ตวั อยา งตอไปนี้ ขันชะเนาะใหแนน หยิบขนั ใหท ซี ิ เขารสู ึกขนั ไกข นั แตเ ชามืด เขาขันอาสาจะไปตดิ ตอ ให 1.2 ความหมายของสาํ นวน สํานวนเปนขอความที่มีความหมายพิเศษไปจากคําที่ประกอบอยูในขอความนั้น ไมไดมีความหมายตามรูปคํา ความหมายของสํานวนมีลักษณะเปนเชิงเปรียบเทียบโดยอาศัยนัย ของความหมายตามลักษณะหรอื คุณสมบตั ขิ องขอความนน้ั เชน ออ ยเขา ปากชาง หมายถงึ ของตกไปอยใู นมอื ผอู ืน่ แลวไมม ีทางไดคืน ไกแกแมปลาชอน หมายถงึ ผูท ่ีมคี วามจัดจา นเจนสงั เวยี น วัวหายลอมคอก หมายถึง เมือ่ เกดิ ความเสียหายแลวจงึ หาทางปอ งกัน กินขา วตมกระโจมกลาง หมายถึง การพูดถึงสิง่ สุดวิสัยท่ีจะทาํ ได สวนตาง ๆ ท่ีนําไปกลาวเปรียบเทียบใหเขากับสถานการณ เรียกวา คําพังเพย เชน เมื่อของหายแลว จึงคดิ หาทางปอ งกนั ก็เปรียบวา ววั หายลอ มคอก เปนตน ความหมายของสํานวนมีลักษณะเหมือนความหมายโดยนัย คือ ตองตีความ หรือ แปลความหมายตามนยั ของคําหรือขอความน้ัน ๆ 2. การเขา ใจลักษณะของขอความ ขอความแตละขอความตองมีใจความอันเปนจุดสําคัญของเร่ือง ใจความของเรื่องจะ ปรากฏที่ประโยคสําคัญ เรียกวา ประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยูในตอนใดของ ขอ ความก็ได 3. การเขา ใจลกั ษณะประโยคใจความ เม่ือเขา ใจถึงลักษณะของขอความวาตองมีประโยคใจความ และปรากฏอยูในตอนตาง ๆ ของขอความแลว ตองเขาใจตอ ไปวา ประโยคใจความเปน อยางไร ประโยคใจความ คือ ขอ ความทเี่ ปนความคิดหลกั ของหัวขอ หรือเรือ่ งของขอความนนั้

29 ความคิดหลักน้ี คอื ประโยคใจความท่ีจะปรากฏในตอนใดตอนหนึ่งของขอความท่ีกลาว แลว ฉะน้ันการท่ีจะทราบวาประโยคใดเปนประโยคใจความ ตองพิจารณาจากหัวเรื่อง ประโยค ใจความมกั มีเน้อื หาสอดคลองกบั หัวเรื่อง ในกรณที ไ่ี มทราบหัวขอเรื่อง ตองเขา ใจวา สวนท่เี ปน ประโยคใจความน้ันจะมีเน้ือความ หลักของเนื้อความอื่นท่ีประกอบกันข้ึนเปนหัวขอน้ัน ถาขาดสวนท่ีเปนใจความ เน้ือความอ่ืนก็ เกิดขึน้ ไมไ ดห รือความหมายออนลง การอานอยางวเิ คราะห การอา นอยางวิเคราะห หมายถึง การอานท่ีมีการพิจารณาแยกรายละเอียดออกเปนสวน ๆ เพ่อื ทําความเขา ใจ และใหเ ห็นถงึ ความสมั พนั ธระหวางสวนตาง ๆ เหลานน้ั การอานอยางวิเคราะหเริ่มตนจากพื้นฐานขอมูลและความคิดจากการอานเองเปนอันดับแรก เพ่ือใหเขาใจเนื้อเรื่องโดยตลอด ตอจากนั้นจึงแยกเรื่องในบทอานออกเปนสวน ๆ ไดรูวา ใครทํา อะไร เพ่ืออะไร อยางไร ในเรื่องมีใครบาง หรือตัวละครกี่ตัว และท่ีมีบทบาทสําคัญมีกี่ตัว ทําไม เหตกุ ารณจึงเปน อยา งนัน้ หรอื เพราะเหตุใด ตอไปนา จะเปนอยางไร เรอ่ื งท่ี 4 มารยาทในการอานและนสิ ัยรกั การอา น การอานอยางมีมารยาทเปนเรื่องที่จําเปนและสําคัญ เพราะการอานอยางมีมารยาท เปนเร่ืองการประพฤติปฏิบัติอยางมีวินัย และรับผิดชอบ รวมท้ังการมีจิตสํานึกและแสดงถึง ความเจริญทางดานจิตใจท่คี วรยึดถือใหเ ปน นสิ ัย มารยาทในการอาน คําวา มารยาท หมายถึง กิริยา วาจาท่ีเรียบรอย หรือการกระทําท่ีดีงาม ผูอานท่ีดีตอง มีมารยาทที่ดีในการอา นดงั ตอ ไปน้ี 1. ไมสง เสยี งดงั รบกวนผอู ่ืน 2. ไมท าํ ลายหนังสอื โดย ขดู ลบ ขีด ทับ หรือฉกี สว นทต่ี อ งการ 3. เม่ือคัดลอกเน้ือหาเพื่ออางอิงในขอเขียนของตน ตองอางอิงแหลงที่มาใหถูกตองตาม หลักการเขียนอางอิงโดยเฉพาะงานเขยี นเชิงวิชาการ 4. เมอื่ อา นหนังสอื เสร็จแลวควรเกบ็ หนงั สอื ไวท ่ีเดมิ 5. ไมควรอา นเรือ่ งท่เี ปน สว นตวั ของผอู ่ืน 6. อา นอยางตั้งใจ และมีสมาธิ รวมทั้งไมทาํ ลายสมาธิผูอ่ืน 7. ไมใชส ถานทีอ่ า นหนงั สอื ทํากจิ กรรมอยา งอืน่ เชน นอนหลับ รับประทานอาหาร

30 นสิ ัยรกั การอาน การท่ีบุคคลใดบุคคลหนึ่งจะมีนิสัยรักการอานไดจะตองไดรับการฝกฝนมาต้ังแตเด็ก ๆ แตก็มิใชวาเมื่อโตเปนผูใหญแลวจะไมสามารถสรางนิสัยรักการอานได ทั้งน้ีเราจะตองสราง บรรยากาศ สภาพแวดลอมท่เี ออ้ื ใหเดก็ ๆ หนั มาสนใจการอา น ดงั น้ี 1. อา นหนังสอื ทตี่ นเองชอบ จะทําใหอานไดอยางตอ เนือ่ ง และไมเบื่อหนาย 2. ทําตนใหเ ปนผใู ฝรู 3. การอา นจะตองมีสมาธเิ พื่อจับใจความของเรอ่ื งท่ีอา นได 4. เร่มิ อา นหนังสือจากระยะเวลาส้ัน ๆ กอน แลวคอย ๆ กําหนดเวลาเพิม่ ขนึ้ 5. การอานจะตองมีสมาธเิ พอ่ื จบั ใจความของเรื่องทอ่ี านได 6. จัดตารางเวลาสําหรับการอานหนังสือเปนประจําทุกวันใหเกิดความเคยชินจนเกิด เปน นิสยั รกั การอา น

31 กจิ กรรมทา ยบทที่ 3 การอา นบทรอยกรอง (10 คะแนน) - ผูสอนอา นทาํ นองเสนาะและใหผ เู รียนตอบวา เปน ลกั ษณะคําประพันธป ระเภทใด - ผูสอนแจกทํานองเสนาะแกผูเรียนตามกลุม และใหผูเรียนอานทํานองเสนาะ และ อธิบายถึงลักษณะการเขียน - ผูส อนสรปุ หลักการอานทํานองเสนาะ กลอนสภุ าพ/กลอนแปด สรวงสวรรคชน้ั กวีรุจีรตั น ผอ งประภัศรพลอยหางพราวเวหา พร้ิงไพเราะเสนาะกรรณวณั ณนา สมสมญาแหง สวรรคช นั้ กวี อมิ่ อารมณชมสถานวิมานมาศ อนั โอภาสแผผายพรายรังสี รัศมมี เี สยี งเพยี งดนตรี ประทปี ทฆี รัสสะจังหวะโยน ระเมยี รไมใบโบกสโุ นกเกาะ สุดเสนาะเสยี งนกซึง่ ผกโผน โผตน นั้นผนั ตนไปตนโนน จังหวะโจนสงจบั ริมกันไป กลอนหก เมอื งใดไมมที หาร เมืองนนั้ ไมนานเปน ขา เมืองใดไรจ อมพารา เมอื งน้ันไมช าอบั จน เมอื งใดไมม พี าณิชเลิศ เมืองน้นั ยอมเกดิ ขัดสน เมอื งใดไรศลิ ปโสภณ เมืองน้ันไมพ น เส่อื มทราม

32 โคลงสสี่ ุภาพ ลาํ บาง พ่ีพรอง จากนามาล่ิวล้ํา เมีย่ งมาน นานา บางย่เี รอื ราพลาง คลาวนาํ้ ตาคลอ เรือแผงชว ยพานาง บางบร บั คําคลอ ง

33 บทที่ 4 การเขียน เรอื่ งที่ 1 หลักการเขยี นและการใชภาษาเขยี น หลักการเขียน การเขยี น คอื การแสดงความรู ความคดิ อารมณค วามรูสึกและความตองการของผูสงสาร ออกมาเปน ลายลกั ษณอ กั ษร เพอ่ื ใหผูรบั สารอา นเขา ใจ ไดร ับความรู ความคิด อารมณ ความรูสึก และความตองการตา ง ๆ การเขยี นเพือ่ สือ่ ความหมาย ใหผ อู น่ื เขา ใจนั้น ควรใชถอยคําที่คนอานอานแลวเขาใจทันที เขียนดวยลายมือที่ชัดเจน อานงาย ใชภาษาใหถูกตองตามหลักการเขียนใชคําเหมาะสมกับ กาลเทศะและบคุ คล หลกั การเขียนที่ดีควรปฏบิ ัติดังนี้ 1. เขยี นชดั เจน อา นงายเปน ระเบียบ 2. เขียนใหถูกตอ ง ตรงตามตวั สะกด การนั ต วรรณยกุ ต 3. ใชถ อ ยคาํ สุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ และบคุ คล 4. ใชภ าษาท่งี า ย ๆ ส้นั ๆ กะทดั รดั สอื่ ความหมายเขา ใจไดดี 5. ใชภ าษาเขียนทด่ี ี ไมค วรใชภ าษาพดู 6. ใชเ ครอื่ งหมายวรรคตอนใหถูกตอ ง 7. ตอ งเขียนใหสะอาด การใชภ าษาในการเขียน 1. เขยี นใหอ านงาย เขา ใจงาย 2. เขยี นตรงตามตวั สะกด การนั ต วรรณยุกตใ หถ ูกตอ ง 3. เขยี นใหไดใจความชัดเจน 4. ใชภ าษางาย ๆ สนั้ กะทดั รัด 5. ใชภาษาใหถ กู ตองตามแบบแผน ไมควรใชคาํ หรือสาํ นวนมาปะปนกบั ภาษา ตางประเทศ 6. ใชถ อยคาํ ทส่ี ภุ าพไพเราะเหมาะสม

34 ความสาํ คัญของการเขียน 1. เปนการสอื่ สารทีจ่ ะแจงใหผ อู น่ื ไดทาํ งานหรอื ปฏบิ ตั ติ าม 2. เปนการเผยแพรค วามรูใ หผอู นื่ ไดท ราบ และนาํ ไปใชประโยชน 3. เปนการบนั ทึกสาระสาํ คัญเพอื่ เปน หลกั ฐานและนาํ ไปใชป ระโยชน 4. เปนการเขียนท่ีสามารถนําไปประกอบอาชีพได เชน การเขียนขาว การเขียนนวนิยาย หรอื เขียนบทละคร เปนตน เรอ่ื งที่ 2 หลักการเขียนแผนภาพความคดิ แผนภาพความคิด เปนการแสดงความรู ความคิดโดยใชแผนภาพในการนําความรูหรือ ขอเท็จจริงมาจัดเปนระบบ สรางเปนภาพหรือจัดความคิดรวบยอด นําหัวขอเร่ืองใดเรื่องหน่ึง มาแยกเปน หวั ขอ ยอยและนาํ มาจดั ลําดบั เปน แผนภาพ แนวคิดเก่ียวกับแผนภาพความคิด 1. ใชแ ผนภาพความคิด เม่ือพบวา ขอ มลู ขาวสารตาง ๆ อยูกระจัดกระจายนําขอมูลนั้นมา เชื่อมโยงเปน แผนภาพความคดิ ทําใหเ กดิ ความเขาใจเปน ความคิดรวบยอด 2. แผนภาพความคิด จะจัดความคิดใหเปนระบบรวบรวมและจัดลําดับขอเท็จจริง นํามา จัดใหเปน หมวดหมู เปน แผนภาพความคดิ รวบยอดทช่ี ดั เจนจนเกิดความรใู หม 3. นาํ ความคิดหรอื ขอเทจ็ จรงิ มาเขยี นเปนแผนภาพ จะทาํ ใหจ ําเร่อื งราวตา ง ๆ ไดงา ยขึน้ 4. แผนภาพความคิดจะใชภาษาผังท่ีเปนสัญลักษณและคําพูดมาสรางแผนภาพทําใหเกิด การเรียนรูดว ยตนเอง รปู แบบของแผนภาพความคดิ มี 4 รูปแบบ คือ 1. รปู แบบการจดั กลมุ รูปแบบนีจ้ ะยึดความคิดเปนสาํ คัญ และจัดกลุมตามลําดับความคิด รวบยอดยอยเปน แผนภาพ ดงั ตัวอยา ง

35 2. รูปแบบความคิดรวบยอด รูปแบบนี้จะมีความคิดหลักและมีขอเท็จจริงท่ีจัดแบงเปน ระดบั ชั้นมาสนับสนนุ ความคดิ หลัก การจัดความคิด

36 3. รูปแบบการจัดลาํ ดบั จัดลําดบั ตามเหตกุ ารณ การจัดลําดับตามกาลเวลา การจัดลําดับ การกระทํากอ นหลงั หรือการจดั ลาํ ดับตามกระบวนการมีการเร่ิมตน และการสนิ้ สุด

37 4. รูปแบบวงกลม รูปแบบน้ีเปนชุดเหตุการณภายใตกระบวนการไมมีจุดเร่ิมตน และ จดุ สิน้ สุดแตเ ปน เหตกุ ารณท ี่เปนลาํ ดับตอ เนอ่ื งกัน ดังตัวอยา ง แผนภาพวงกลม

38 ประโยชนข องแผนภาพความคดิ 1. ชว ยบูรณาการความรเู ดิมกับความรใู หม 2. ชวยพัฒนาความคดิ รวบยอดใหชดั เจนขน้ึ 3. ชวยเนนองคป ระกอบลาํ ดบั ของเรอ่ื ง 4. ชว ยพัฒนาการอาน การเขียนและการคิด 5. ชวยวางแผนในการเขียน และการปรับปรงุ การเขยี น 6. ชว ยวางแผนการสอนของครู โดยการสอนแบบบรู ณาการเนื้อหา 7. ชวยในการอภปิ ราย 8. เปนเครื่องมือประเมินผล วธิ ีการสรางแผนภาพความคิด การสรางแผนภาพความคิด หรือการออกแบบแผนภาพความคิดเปนการสรางสรรค อยางหนง่ึ ผสู รางแผนภาพความคิดอาจใชงานศลิ ปะเขามาชวย โดยวาดภาพประกอบใหแผนภาพ ความคดิ นาสนใจและทําใหเ ห็นภาพของแผนภาพชัดเจนข้นึ การสรางแผนภาพความคดิ จะนาํ มาใช ในการทาํ งานรวมกันรว มคิดรวมทาํ รวมกันแลกเปล่ียนความรูและประสบการณทําใหผูเรียนรูจัก การวางแผนงาน การกาํ หนดงานทจ่ี ะตองปฏบิ ตั ิ และเรียนรูการทํางานรวมกบั ผอู น่ื ข้ันตอนการสรา งแผนภาพความคิด มดี งั นี้ 1. กําหนดชื่อเรอ่ื ง หรือความคิดรวบยอดสําคญั 2. ระดมสมองท่ีเก่ียวของกับช่ือเร่ือง หรือ ความคิดรวบยอดสําคัญเปนคําหรือวลีนั้น ๆ แลว จดบันทกึ ไว 3. นาํ คําหรือวลที จ่ี ดบันทึกที่เกี่ยวเน่ืองสัมพันธกันมาจัดกลุม แลวตั้งช่ือกลุมคําเปนหัวขอ ยอย และเรยี งลําดบั กลมุ คาํ 4. ออกแบบแผนภาพความคิด โดยเขียนช่ือเรื่องไวกลางหนากระดาษ แลววางช่ือกลุมคํา หัวขอยอย รอบช่ือเร่ือง นําคําท่ีสนับสนุนวางรอบชื่อกลุมคํา แลวใชเสนโยงกลุมคําใหเห็น ความสมั พันธ เสนโยงอาจเขยี นคําอธบิ ายได กลุม คําอาจแสดงดวยภาพประกอบ

39 เรื่องที่ 3 การแตงรอยกรอง คําประพนั ธ หรือรอ ยกรอง คือ การเรียงถอ ยรอ ยคําตามระเบียบขอบังคับตามฉันทลักษณ มีหลายประเภท เชน กาพย กลอน โคลง ฉันท การแตงกลอน คําประพันธรอยกรองประเภทกลอน มีหลายแบบเรียกชื่อตาง ๆ ตาม ลกั ษณะฉันทลกั ษณท แี่ ตกตา งกนั น้ัน ๆ เชน กลอนสี่ กลอนหา กลอนหก กลอนแปด กลอน สี่ กลอน ส่ี มี 2 แบบ คอื กลอนสี่ เปนคาํ ประเภทกลอนใน 1 บท มี 2 บาท 1 บาท มี 2 วรรค วรรคละ 4 คํา ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน สี่ ทเ่ี กา ท่สี ดุ พบในมหาชาตคิ ําหลวงกณั ฑม หาพน (สมัยอยุธยา) ตัวอยา งกลอนสี่ มี 2 แบบคอื กลอน ส่ี แบบ 1 ประกอบดวย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คํา ตามผังตวั อยางนี้ การสมั ผัสของกลอนสี่จะสัมผัสแบบกลอนท่ัวไป คือ คําสุดทาย วรรคหนาสัมผัสกับคําที่สองของ วรรคหลัง และคําสุดทายวรรคท่ีสองสัมผัสกับคําสุดทายวรรคที่สาม สวนสัมผัสระหวางบทก็ เชน เดียวกัน คอื คาํ สดุ ทายวรรคของบทแรก สัมผสั กับคาํ สดุ ทายของวรรคทสี่ องของบทถดั ไป กลอน ส่ี แบบ 2 บทหนง่ึ ประกอบดว ย 4 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คํา ตามผังตวั อยา ง สัมผัสนอกในทุกบาท คําสุดทายของวรรคหนา สัมผัสกับคําที่สองของวรรคหลัง มีสัมผัส ระหวางบาทที่สองกับสาม คือ คําสุดทายวรรคท่ีส่ีสัมผัสกับคําสุดทายวรรคท่ีหก สวนสัมผัส

40 ระหวางบทน้ันจะแตกตางจากแบบแรกเน่ืองจากใหคําสุดทายของบทแรกสัมผัสกับคําสุดทาย ของวรรคท่สี ี่ของบทถดั ไป ตัวอยา งกลอนสี่ ลอยเดนบนฟา ดวงจนั ทรว ันเพญ็ พาใจหฤหรรษ มาเลน รวมกนั แสงนวลเย็นตา บนั เทิงเรงิ ใจ ชกั ชวนเพ่ือนยา เด็กนอยสุขสันต กลอนแปด (กลอนสุภาพ) กลอนแปด เปนคําประพันธท่ีไดรับความนิยมกันทั่วไป เพราะเปนรอยกรองชนิดท่ีมี ความเรียบงายตอการสื่อความหมาย และสามารถสื่อไดอยางไพเราะ ซ่ึงกลอนแปดมีการ กําหนดพยางคและสัมผัส ลกั ษณะคาํ ประพันธของกลอนแปด 1. บท บทหนึ่งมี 4 วรรค วรรคท่ีหนึ่งเรียกวา วรรคสดับ วรรคทีส่ องเรยี กวรรครับ วรรคทีส่ ามเรยี กวรรครอง วรรคทส่ี ่ีเรยี กวรรคสง แตละวรรคมีแปดคํา จงึ เรยี กวากลอนแปด 2. เสยี งคํา กลอนแปดและกลอนทุกประเภทจะกําหนดเสยี งทา ยวรรคเปนสาํ คัญโดยกําหนด ดงั นี้ คําทา ยวรรคสดบั กําหนดใหใ ชไดท กุ เสยี ง คาํ ทายวรรครับ กาํ หนดหา มใชเ สียงสามญั และตรี คําทา ยวรรครอง กําหนดใหใชเฉพาะเสยี งสามญั และตรี คาํ ทา ยวรรคสง กําหนดใหใ ชไดเ ฉพาะเสียงสามญั และตรี 3. สัมผสั ก. สมั ผัสนอก หรือสัมผัสระหวา งวรรค เปนสัมผสั บังคบั มีดังนี้ คําสุดทายของวรรคที่หน่ึง (วรรคสดับ) สัมผัสกับคําที่สามหรือที่หาของวรรคที่สอง (วรรครับ) คําสุดทา ยของวรรคท่สี อง (วรรครับ) สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สาม (วรรครอง) และ คาํ ท่สี ามหรอื คําท่ีหาของวรรคทส่ี ่ี (วรรคสง ) สมั ผสั ระหวา งบท ของกลอนแปด คือ

41 คําสุดทายของวรรคท่ีสี่ (วรรคสง) เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสท่ี คาํ สุดทา ยของวรรคที่สอง (วรรครับ) ข. สมั ผัสใน แตละวรรคของกลอนแปด แบง ชว งจงั หวะออกเปนสามชว งดังนี้ อันกลอนแปด แปดคํา ประจําวรรค วางเปน หลกั อกั ษร สนุ ทรศรี เรื่องที่ 4 การเขยี นสื่อสาร การเขียนส่ือสาร หมายถึง การเขียนท่ีผูอ่ืนอานแลวไดความตามจุดมุงหมายของผูเขียน เชน 1. การเขยี นประวัติตนเอง การเขียนประวตั ติ นเองเปนการเขยี นขอความเพื่อแสดงตนใหผอู นื่ รูจักรายละเอียดเก่ียวกับ เจา ของประวตั ิ โดยมแี นวการเขยี นดงั น้ี ประวตั ติ นเอง ชอื่ ______________________________ นามสกลุ _______________________ เกิดวนั ที่ __________ เดอื น _________________ พ.ศ. _________ อายุ _________ สถานภาพสมรส ________ อาชพี _____________________ ท่อี ยู _______________________________________________________________ ___________________________________________________________________ สถานทที่ ํางาน ________________________________________________________ ประวัตการศกึ ษา ______________________________________________________ ___________________________________________________________________ ประสบการณในการทํางาน ______________________________________________ __________________________________________________________________ ความรูความสามารถพิเศษ ______________________________________________ 2. การเขยี นเรียงความ การเขียนเรียงความ คือ การนําคํามาประกอบแตงเปนเรื่องราว เปนการแสดงออกทาง ความคิดและประสบการณของผูเ ขยี นเพือ่ ใหผ อู ่นื ทราบ

42 องคป ระกอบของการเขียนเรยี งความ การเขียนเรียงความประกอบดวย 3 สว นคือ 1. คาํ นํา เปนการเรมิ่ ตนของเรียงความทเี่ ปน สวนดงึ ดดู ใจ ใหผ อู านสนใจ 2. เนื้อเรือ่ ง เปนเนือ้ หาสาระของเรยี งความท้ังเรอ่ื ง 3. บทสรปุ เปน การสรปุ แกน ของเรื่อง ไมควรจะยาวมาก 3. การเขียนยอความ การยอความ คือ การนําเร่ืองราวตาง ๆ มาเขียนใหมดวยสํานวนภาษาของผูยอเอง เม่ือเขียนแลว เนื้อความเดมิ จะส้นั ลง แตย ังมใี จความสาํ คญั ครบถว นสมบรู ณ ใจความสาํ คัญ คอื ขอความสําคัญในการพูดหรือการเขียนท่ีเปนรายละเอียด นํามาขยาย ใจความสาํ คัญใหช ดั เจนยง่ิ ขึ้น ถา ตัดออกผูฟงหรือผอู า นกย็ ังเขาใจเรือ่ งนนั้ ได หลกั การยอความ 1. อานเน้ือเรือ่ งที่จะยอ ใหเ ขาใจ 2. จบั ใจความสําคญั ทจี่ ะยอหนา 3. นําใจความสําคัญแตละยอหนามาเขียนใหมดวยภาษาของตนเอง โดยตองคํานึงถึง สิ่งตาง ๆ ดังนี้ 3.1 ไมใ ชอ กั ษรยอ ในขอ ความที่ยอ 3.2 ถามรี าชาศพั ท ใหคงไวไ มต องแปล 3.3 ไมใชเคร่ืองหมายตา ง ๆ ในขอ ความที่ยอ 3.4 เนื้อเร่ืองท่ียอแลว เขียนติดตอกันในยอหนาเดียวควรมีความยาวประมาณ 1 ใน 4 ของเร่อื งเดิม 4. การเขียนขา ว การเขียนขาว ประกาศและแจงความ เปนสวนหน่ึงของจดหมายราชการหรือหนังสือ ราชการ ซ่ึงเปนหนังสือท่ีใชติดตอกันระหวางเจาหนาที่ของรัฐกับบุคคลภายนอกดวยเร่ือง เกีย่ วกบั ราชการ การเขียนขาว ประกาศ และแจงความ จัดอยูในจดหมายราชการประเภทหนังสือสั่งการ และโฆษณา ซึ่งประกอบดวย ขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง คําแนะนํา คําช้ีแจง ประกาศ แจง ความ แถลงการณ และขาว ซึง่ จะยกตัวอยางในการเขยี นขา วดงั น้ี การเขียนขาว คือ บรรดาขอความที่ทางราชการเห็นสมควรเปดเผย เพ่ือแจง เหตุการณท ่นี า สนใจใหท ราบ

43 รปู แบบการเขียนขา ว ขาว ..................................... ชือ่ สวนราชการทอี่ อกขาว .................................................. เรื่อง ........................................................................ ขอความทเี่ ปน ขาว .......................................................................................................... .................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... สว นราชการเจา หนา ที่ วัน เดอื น ป เร่ืองท่ี 5 การเขยี นรายงาน การคน ควา และอา งอิงความรู การเขยี นรายงานการคน ควา การเขียนรายงานเปนการเขียนผลการศึกษาจากการคนควา เพื่อนําเสนอผูบังคับบัญชา หรอื ผูส อน หลกั การเขยี นรายงาน 1. ขอ มลู ทีเ่ ขียนตอ งเปนความจรงิ 2. ขอ มูลทน่ี ํามาจากผูรอู ่นื ตองเขยี นเปนเชิงอรรถและบรรณานุกรม 3. เขียนเปน ทางการ ใชภ าษาถูกตอ ง และชดั เจน สว นประกอบของรายงาน 1. ปกหนา ประกอบดว ยชื่อเรอื่ ง ชอ่ื ผเู ขียน และนําเสนอผูใด 2. คํานํา เปนความเรียงมี 3 สวน คือ ความเปนมาและวัตถุประสงค สาระของรายงาน ประโยชนท ไี่ ดรบั และขอบคุณผูมีสว นชว ยเหลือ 3. สารบญั 4. เนอื้ หาสาระ 5. บรรณานุกรม การเขียนอา งองิ ความรู การเขียนอา งอิงความรู หมายถึง การเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรม 1. เชิงอรรถ

44 เชงิ อรรถเปนช่ือผูเขียน ปท่ีพิมพและเลขหนาหนังสือท่ีนําไปใชประกอบการเขียน เชน อทุ ยั ศริ ศิ ักด์ิ (2550, หนา 16) การฟง หมายถึง การรับสารและตีความสารที่ไดยินหรืออาน การเขยี นอา งอิงลักษณะนจี้ ะไมไดเ ขยี นชอื่ หนังสอื ชือ่ หนังสอื จะเขียนในหนา บรรณานุกรม 2. บรรณานกุ รม บรรณานุกรม ประกอบดวยรายชอ่ื หนงั สือที่ใชป ระกอบการเขียน โดยจะตองเขียน เรยี งตามตวั อกั ษรชอื่ ผูแตง โดยเขยี นชือ่ ผแู ตง ชือ่ หนงั สือ ช่อื สถานที่พิมพ ชอื่ โรงพิมพและปท่ีพิมพ เชน กนกอร ทองคาํ . การใชภ าษาไทย, กรงุ เทพฯ: ไทยวิวฒั น, 2549 ศิริอร ทองคาํ ไพ. หลกั การใชภ าษา, นนทบุรี: ไทยเจรญิ , 2550 เรอื่ งท่ี 6 การกรอกแบบรายงาน การกรอกแบบรายงาน เปนการกรอกแบบฟอรมของหนวยราชการหรือหนวยงานตาง ๆ ท่ีใหกรอก เพ่ือแสดงขอมูลท่ีหนวยงานนั้น ๆ ตองการทราบ เชน การกรอกใบสมัครเรียน การกรอกแบบฟอรม ธนาณัติ แบบฟอรม ฝากเงนิ เปน ตน หลักการกรอกแบบรายการ 1. อานขอ ความในแบบรายการน้ัน ๆ ใหเขาใจกอนจะเขยี นขอ ความ 2. เขยี นใหถกู ตอ งและสะอาด 3. กรอกขอ ความตามความจรงิ 4. ใชถอ ยคําสน้ั ๆ และกะทดั รัด 5. ปฏบิ ัติตามขอ บงั คับ หรอื คําแนะนําของแบบรายการนั้น ๆ แบบรายการทีใ่ ชใ นชีวิตประจาํ วนั 1. แบบฟอรมธนาณตั ิ 2. แบบฟอรม สง พสั ดุทางไปรษณยี  3. แบบฟอรม สมัครงาน 4. แบบฟอรม คํารอ ง 5. แบบฟอรม สัญญา 6. แบบฟอรม ฝากเงนิ ถอนเงินของสถาบันการเงิน