Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Fulltext

Fulltext

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2021-03-26 00:22:30

Description: Fulltext

Search

Read the Text Version

45 รายการ n X S.D. แปลผล เป็นฐานในการค้นหาความรู้ 0.72 มาก 8. กจิ กรรมการเรียนรูส้ ่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนใชป้ ัญหา 29 4.22 เป็นฐานในการคน้ หาความรู้ รวม 29 4.19 0.85 มาก จากตารางที่ 4.5 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.19, S.D. = 0.85) เมื่อแยกพิจารณารายประเด็น พบว่า กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ปัญหาเป็นฐานในการค้นหาความรู้มีค่าเฉลี่ยมากทีส่ ุด ( X = 4.22, S.D. = 0.72) รองลงมาคือ กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยการปฏิบัติ จริง ( X = 4.19, S.D. = 0.71) กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ปัญหาเป็นฐานในการค้นหา ความรู้ ( X = 4.19, S.D. = 0.75) และกิจกรรมการเรียนรู้มีความน่าสนใจมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ( X = 4.14, S.D. = 0.87) ตารางที่ 4.6 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับความพงึ พอใจในการ เรียนของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกบั ชุดกิจกรรมการเคล่ือนท่แี บบโพรเจคไทล์ ดา้ นสอื่ การเรยี นรู้ รายการ n X S.D. แปลผล 9. มีส่อื การเรียนรเู้ พียงพอ ต่อการค้าคว้า 29 4.08 0.87 มาก ทดลองและปฏบิ ัติจรงิ 10. ความเหมาะสมของสอื่ อุปกรณก์ บั เนือ้ หาและ 29 4.03 0.91 มาก กิจกรรม 11. ความหลากหลายของสือ่ อุปกรณท์ ี่ใช้ในการ 29 3.94 0.95 มาก จดั การเรยี นรู้ 0.69 มาก 12. สอ่ื การเรยี นรชู้ ่วยให้เข้าใจเนือ้ หาไดง้ ่ายข้นึ 29 4.25 รวม 29 4.08 0.86 มาก จากตารางที่ 4.6 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนด้านสื่อการเรียนรู้โดยภาพ รวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.08, S.D. = 0.86) เมื่อแยกพิจารณารายประเด็น พบว่า สื่อการเรียนรู้ ช่วยให้เข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X = 4.25, S.D. = 0.69) รองลงมาคือ มีสื่อการ เรียนรู้เพยี งพอ ตอ่ การค้าคว้า ทดลองและปฏิบัติจรงิ ( X = 4.08, S.D. = 0.87) ความเหมาะสมของ

46 สอ่ื อปุ กรณก์ ับเนอื้ หาและกิจกรรม ( X = 4.03, S.D. = 0.91) และความหลากหลายของส่ืออุปกรณ์ที่ ใชใ้ นการจัดการเรียนรู้มีคา่ เฉลย่ี ตำ่ สุด ( X = 3.94, S.D. = 0.95) ตารางที่ 4.7 ผลการวิเคราะหค์ ่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับความพึงพอใจในการ เรียนของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกบั ชดุ กจิ กรรมการเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจคไทล์ ดา้ นการวัดผลประเมินผล รายการ n X S.D. แปลผล 13. การวัดผลและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ 29 4.08 0.65 มาก 14. เกณฑ์การประเมินผลการเรยี นร้มู คี วาม 29 4.22 0.64 มาก ชัดเจน 15. การวัดผลการเรียนร้ทู ำอย่างตอ่ เนอ่ื ง 29 4.28 0.74 มาก 16. การวดั ผลการเรียนรู้สอดคล้องกับ 29 4.28 0.66 มาก วตั ถุประสงค์ 17. การวดั ผลการเรียนร้ใู ชว้ ธิ กี ารท่ีเหมาะสมทงั้ 29 4.25 0.77 มาก ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ ดา้ นความรู้ 18. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้มีความเหมาะสม 29 4.19 0.75 มาก และยตุ ธิ รรม รวม 29 4.22 0.70 มาก จากตารางที่ 4.7 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรยี นด้านการวัดผลประเมินผลโดย ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ( X = 4.22, S.D. = 0.70) เม่ือแยกพิจารณารายประเด็น พบว่า การวัดผล การเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์มีคา่ เฉลี่ยมากทส่ี ุด ( X = 4.28, S.D. = 0.66) รองลงมาคอื การ วดั ผลการเรยี นรูท้ ำอยา่ งตอ่ เนื่อง ( X = 4.28, S.D. = 0.74) การวัดผลการเรียนรใู้ ชว้ ิธกี ารทเี่ หมาะสม ทั้งด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และด้านความรู้ ( X = 4.25, S.D. = 0.77) เกณฑ์การ ประเมินผลการเรียนรู้มีความชัดเจน ( X = 4.22, S.D. = 0.64) การประเมินผลการเรียนรู้มีความ เหมาะสมและยุติธรรม ( X = 4.19, S.D. = 0.75) และการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงมี ค่าเฉลีย่ ตำ่ สุด ( X = 4.08, S.D. = 0.65)

47 ตารางที่ 4.8 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับความพึงพอใจในการ เรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกบั ชดุ กิจกรรมการเคล่อื นทแ่ี บบโพรเจคไทล์ ดา้ นคณุ ลักษณะของผสู้ อน รายการ n X S.D. แปลผล 19. ครมู ีความตงั้ ใจ และความกระตอื รือรน้ ใน 29 4.28 0.66 มาก การสอน 20. ครมู ีความใจกว้างในการรบั ฟงั ปัญหาจาก 29 4.39 0.64 มาก ผ้เู รียน 21. ครูส่งเสริมให้ผ้เู รยี นใฝ่เรยี นรูแ้ ละกล้า 29 4.28 0.74 มาก แสดงออก 22. ครูสง่ เสริมให้ผเู้ รียนใชป้ ัญหาเป็นฐานในการ 29 4.33 0.76 มาก คน้ ควา้ หาความรู้ รวม 29 4.28 0.65 มาก จากตารางที่ 4.8 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนด้านคุณลักษณะของผูส้ อนโดย ภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ( X = 4.28, S.D. = 0.65) เมือ่ แยกพจิ ารณารายประเดน็ พบว่า ครูมีความ ใจกวา้ งในการรบั ฟงั ปัญหาจากผู้เรียนมคี ่าเฉลย่ี มากท่ีสุด ( X = 4.39, S.D. = 0.64) รองลงมาคือ ครู ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนใช้ปัญหาเป็นฐานในการคน้ ควา้ หาความรู้ ( X = 4.33, S.D. = 0.76) ครมู ีความต้ังใจ และความกระตือรือรน้ ในการสอน ( X = 4.28, S.D. = 0.66) และครูสง่ เสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้และ กลา้ แสดงออก ( X = 4.28, S.D. = 0.74)

48 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การวจิ ยั เรอื่ ง การศกึ ษาผลการเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 โดยใช้ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ผู้วิจัยได้นำเสนอ สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ดังนี้ 5.1 วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย การวจิ ัยในครั้งน้มี ีวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั 3 ขอ้ ดังน้ี 1. เพื่อพัฒนาการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจค ไทล์ รายวิชาฟสิ กิ ส์ ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ให้มีประสิทธิภาพ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนรายวิชาฟิสิกส์ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกบั ชุดกิจกรรมการเคล่อื นที่ แบบโพรเจคไทล์ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปที ่ี 4 โดยใชก้ ารสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกบั ชุดกิจกรรมการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจค ไทล์ 5.2 สรุปผล จากการศกึ ษาผลการเรยี นรรู้ ายวชิ าฟิสกิ ส์ ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้การสอน แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกจิ กรรมการเคลอ่ื นที่แบบโพรเจคไทล์ สรุปผลการวจิ ัยได้ดงั น้ี 5.2.1 ชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีค่า ประสทิ ธิภาพโดยรวม 84.80 / 81.73 ซึ่งสงู กว่าเกณฑ์ท่ตี ้งั ไว้ 80 / 80 5.2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวชิ าฟิสกิ ส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้การ สอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05 5.2.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รว่ มกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจค ไทล์ อย่ใู นระดบั มาก

49 5.3 อภปิ รายผล ผลการวิจัยการศกึ ษาผลการเรียนรูร้ ายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 โดยใช้ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รว่ มกับชดุ กจิ กรรมการเคล่ือนท่ีแบบโพรเจคไทล์ ผวู้ ิจยั อภิปรายผลได้ ดังน้ี 5.3.1 ชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีค่า ประสิทธิภาพโดยรวม 84.80 / 81.73 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80 / 80 แสดงว่าชุดกิจกรรมที่สร้าง และพฒั นาข้นึ มีประสทิ ธิภาพเปน็ ชดุ กจิ กรรมที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสําคัญ เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นมีส่วนร่วมใน กิจกรรม ผู้เรียนสามารถค้นหาคําตอบด้วยตนเองจากการทําใบงานที่อยู่ในชุดกิจกรรม และสามารถ ทดสอบตนเองจากการทําแบบทดสอบย่อยของแต่ละชุดกิจกรรมที่สอดคล้องกับ (ไกรฤกษ์ พลพา, 2551 น. 21) กล่าวถึงการ สอนที่มีประสิทธิภาพที่เปิดโอกาสให้นกั เรียนเข้าร่วมกิจกรรมด้วยตนเอง ตรวจสอบผลการเรียนรู้ของ ตนเองว่าถูกหรือผิดได้ทันที มีการเสริมแรงคือนักเรียนจะเกิดความ ภาคภูมใิ จที่ตนเองทําได้ถกู ตอ้ งเป็น การให้กําลังใจที่จะเรียนตอ่ ไป ถ้าตนเองทําไม่ถูกต้องจะได้ทราบ ว่าถกู ตอ้ งนัน้ คอื อะไร เพ่อื จะได้ ไตรต่ รองพจิ ารณาทําใหเ้ กิดความเข้าใจ ซึ่งไมท่ ําให้เกิดความท้อถอย หรือสิ้นหวังในการเรียน นักเรียน เรียนรู้ไปทีละขั้นตอนตามความสามารถและตามความสนใจของ ตนเอง สอดคล้องกับงานวิจยั ของ ภิรมย์ภรณ์ เชิดชูธีรกุล (2555, น.81-85) วิจัยผลการใชซ้ ุตกิจการ เรียนรู้ เรอื่ งสภาวะโลกรอ้ น กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ สาํ หรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 พบวา่ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เร่ือง ภาวะโลร้อน กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 5 มีประสิทธภิ าพ เทา่ กับ 83.38/82.08 และสอดคล้องกบั งานวิจัยของ วนั วิสาข์ ศรี วิไล (2556, น.143-147) ที่สร้างชุด กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช สําหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบ ผสมผสานระหว่างวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) กบั การเรยี นรว่ มมอื ด้วยเทคนคิ STAD มี ประสทิ ธภิ าพเทา่ กับ 82,06/84.11 สูงกวา่ เกณฑ์มาตราฐาน ที่ตงั้ ไว้ 80/80 5.3.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้การ สอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติทรี่ ะดบั .05 เนือ่ งจากผู้วจิ ัยไดศ้ ึกษาหลักการ แนวทาง ทฤษฎี เอกสาร ตํารา เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของเนื้อหาวิชา อย่าง ละเอียด จัดเตรียมเนื้อหาและกิจกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์และให้เหมาะสมกับ ผู้เรียน เพือ่ ให้ผูเ้ รียนไดร้ ับความรู้เน้ือหาและกจิ กรรมต่างๆให้สอดคล้องกบั จุดประสงค์ เหมาะสมกับ ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ความสามารถจากการเรียนด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งสอดคล้องกับ (อภิญญา เคนบุปผา, 2546, น.25) ระบุว่าต้องกําหนดโครงร่างคร่าวๆ เขียนวัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรมและ เนื้อหาโดยคํานึงถึงความเหมาะสมของผู้เรียนกําหนดอุปรกรณ์ที่จะใช้ในแต่ละ

50 กิจกรรมแต่ละตอนให้ เหมาะสม กําหนดเวลา กาํ หนดการประเมินผลและนอกจากน้ยี งั สอดคล้องกับ งานวิจัยของ ระเบียบ แก้วดี (2554, น. 61-65) ที่พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ของเล่นของใช้ในท้องถ่ิน แสนรกั ของฉัน ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 พบว่ามผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลัง เรียนสูงกวา่ ก่อนเรยี นอย่าง มีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01 5.3.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรรู้ ่วมกับชุดกิจกรรมการเคล่ือนที่แบบโพรเจค ไทล์ อยใู่ นระดับมาก ทงั้ นอ้ี าจเปน็ ผล มาจากนักเรียนไดเ้ รียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับชุตจิ กรรม ได้ศึกษาคน้ คว้าจากใบความรู้ ใบงาน และกิจกรรมทีห่ ลากหลาย นักเรียนได้ ลงมือปฏิบัติกิจกรรมดว้ ยตนเอง เกิดความสุข มีความสนุกสนานในการเรียน สามารถทํางานร่วมกับ ผูอ้ นื่ ได้ และมีความพงึ พอใจในการเรยี นซ่ึงอยู่ในระดับมากซึง่ สอดคล้องสอดคล้องกับผลวิจัยของ ศิริ สุภรณ์ มนั ปาดี (2556, น.84) ได้ศกึ ษาผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ตาม รปู แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 5Es เรือ่ ง วงจรไฟฟา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ท่พี บวา่ นกั เรยี นมคี วามพงึ พอใจต่อการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้อยู่ใน ระดับมากที่สุด และสอดคล้องกับผลวิจัย ไอสัตตา ปามุทา (2560, น.119) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์และ ความคงทน ทางการเรียนโดยใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรปู้ ระกอบการเรยี นแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่องสารและ การเปลี่ยนแปลง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า นกั เรียนมคี วามพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบการเรยี นแบบสืบ เสาะหา ความรู้ (5E) โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก 5.4 ข้อเสนอแนะ 5.4.1 ข้อเสนอแนะในการนาํ ไปใช้ 1) การนําชุดกิจกรรมร่วมกับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ควรศึกษา ขัน้ ตอนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ซ่งึ หากไม่เข้าใจขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิอาจมผี ลกระทบกับนกั เรียน 2) การจดั กิจกรรมในแตล่ ะชดุ กจิ กรรม ครูควรช้แี นะวธิ ีการทำ ความซ่อื สตั ย์ รวมถึง ความมีวินยั ในตนเอง โดยให้ผูเ้ รยี นใช้ความสามารถของตนเองและมีครดู แู ลใหค้ ําแนะนํา 3) การนําเสนอเนอ้ื หาในแต่ละความร้ใู นแต่ละเร่ืองกะทัดรตั เขา้ ใจง่าย ใช้ ช่วงเวลา ส้ัน ๆ ไม่นานจนเกนิ ไปใหม้ ีความเหมาะสมกบั เวลา 5.4.2 ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป 1) ควรมีการพัฒนาชุดกิจกรรมในระดับชั้นอื่นๆ ทั้งระดับประถมศึกษาและ มธั ยมศกึ ษา

51 2) ควรมีการพัฒนาชุดกิจกรรมในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ เช่น ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศ เป็นตน้ 3) ควรนําชุดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ไป ทดลองสอนในระดับชั้นอื่นๆ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ 4) ควรวจิ ยั ผลของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ไปกบั ตวั แปรอื่นๆ เชน่ แบบ ฝกึ ทักษะ หรือ แบบฝกึ ทักษะการคดิ เป็นตน้

52 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551.กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย กนกวลี แสงวิจิตรประชา. (2550). การพฒั นาชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน เร่อื งหนว่ ยของชวี ิตและชีวติ พชื สําหรับนกั เรยี นช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 1. (วทิ ยานพิ นธ์การศกึ ษามหาบณั ฑิต) พษิ ณุโลก : มหาวิทยาลยั นเรศวร กรมวชิ าการ. (2545), พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ ก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การรบั สง่ สินคา้ และพัสดภุ ัณฑ์ กาญจนา เกียรติประวตั ิ. (2554). วิธีสอนทวั่ ไปและทกั ษะซารสอน, กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ กณุ ฑรเี พช็ ร ทวพี รเดช และคณะ. (2551). สดุ ยอดวธิ สี อน วิทยาศาสตร์ นาํ ไปสู่การจัดการเรยี นรูข้ อง ครูยุคใหม.่ กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น์ ไกรฤกษ์ พลพา. (2551). ชุดกิจกรรมแบบปฏิบัตกิ ารคณิตศาสตรเ์ พ่อื การป้องกันความคิดรวบยอดที่ ผดิ พลาด เร่อื ง เรยี งสบั เปลย่ี น (Permutation) ของนักเรียนระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต), กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ชนินันท์ พฤกษ์ประมูล. (2554). การประเมินเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์, ศูนย์วิทยาศาสตร์ศึกษา : มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. (2551). ชุดการเรียนการสอนโบประมวลสาระชดุ วิชาการพฒั นาหลกั สูตรและสื่อ การเรียนการสอน พมิ พ์คร้ังที่ 2 หน่วยท่ี 14 นนทบุรี สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ มาวทิ ยาลัย สโุ ขทัยธรรมาธริ าช ทิศนา แขมณ.ี (2550), รปู แบบการเรยี นการสอนทางเลือกท่หี ลากหลาย. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ทิพย์วัลย์ เรืองขจร. (2554). วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต. สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ธนาธิป พรกลุ . (2557). การสอนกระบวนการคดิ ทฤษฎแี ละการนําไปใช้. พมิ พ์คร้ังท่ี 3. กรงุ เทพฯ สาํ นกั พมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ธานนิ ท์ ปญั ญาวัฒนากุล. (2550).แนวทางการพัฒนาชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์จากแหลง่ เรยี นรู้ โครงการสมั มนาปฏิบตั ิการการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรแ์ บบบรู ณาการ.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2553). การวจิ ัยเบือ้ งต้น. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 8. กรุงเทพฯ : สุวิรยิ าสาสน์

53 ประกันเล็ก โพธิชยั . (2554). ผลการใชส้ ือ่ ของเลน่ จากภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ทีม่ ตี อ่ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านมหาเจริญ จังหวัด สระแก้ว (การศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระศิลปศาสตรามหาบัณฑติ ) สระแกว้ : มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช พดั ตาวัน นาใจแก้ว (2555), ธรรมชาตวิ ิทยาศาสตร์, อดุ รธานี : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี ไพศาล วรคาํ . (2551). การวจิ ัยทางการศกึ ษา มหาสาศาม : ตักสลิ าการพมิ พ์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ มหาสารคาม พรพมิ ล พรพรชนม์. (2550). การจัดกระบวนการเรยี นรู้ สงขลา : เทมการพมิ พส์ งขลา ภพ เลาหไพบูลย์. (2542). แผนการสอนวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง),กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช ภิรมย์ภรณ์ เขิตซูธีรกลุ . (2555). ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ภาวะโลกรอ้ น กลุ่มสาระ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ สาํ หรบั นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5. (วิทยานิพนธค์ รุศาสตรา มหาบณั ฑติ ) ลพบรุ ี : มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี มนมนัส สดุ ส้ิน. (2548). ทักษะสําหรับครูวิทยาศาสตร์, กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั สวนสุนันทา. มลขยา กาศอินตา (2555). วจิ ัยผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ดว้ ยเทคนคิ แบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) โดยใชช้ ุดกจิ กรรมเป็นสอื่ เพ่อื พฒั นาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2. (วิทยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑติ ) เชยี งราย : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่. (2562). รายงานการประกันคุณภาพภายในของ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่. จังหวัดเชียงใหม่. วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2550). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช วาสนา ชาวหา (2551) เทคโนโลยีทางการศึกษา กรงุ เทพฯ : อกั ษรสยามการพิมพ์ วิมลรตั น์ สนุ ทรโรจน์. (2550). เอกสารประกอบการสอนวชิ า 0506703 พฒั นาการเรียนการสอน มหาสารคาม : ภาควชิ าหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม วิชยั วงศ์ใหญ่ (2551). พฒั นาหลกั สูตรและแนวการสอนแนวใหม่ กรุงเทพฯ : รุ่งเรอื งการพิมพ์ วรรทิพา รอตแรงคา้ . (2543). การสอนวทิ ยาศาสตรท์ ีเ่ นน้ กระบวนการ. กรงุ เทพฯ : สรุ ิวิยาสาส์น วรวทิ ย์ นิเทศศิลป.์ (2551). ส่อื และนวตั กรรมแหง่ การเรยี นรู้ กรงุ เทพฯ : บริษทั สกายบุกส์ จาํ กัด ศิรสิ ุภรณ์ มนั ปาต.ิ (2556). ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามรูปแบบวฏั จักรการเรียนรู้ 5E เร่อื งวงจรไฟฟ้า กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 (วิทยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546). คมู่ ือวัดผลประเมินผลวทิ ยาศาสตร์ กรงุ เทพฯ : ม.ป.พ.

54 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2557).การจัดสาระการเรยี นรู้ กลุม่ วทิ ยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สาโรจน์ โศภีรักษ.์ (2550). นวตั กรรมการสอนทีย่ ดึ ผเู้ รยี นเปน็ สําคัญ.กรงุ เทพฯ : บุ๊คพอยท์ สคุ นธ์ สนิ ธพานนท.์ (2551). นวัตกรรมการเรยี นการสอน (ฉบบั แก้ไขเพิม่ เติม) (พมิ พ์คร้ังที่ 2) กรุงเทพฯ : 9119 เทคนศิ พริ้นติง้ สนุ ันทา สนุ ทรประเสริฐ. (2547). แนวทางการผลิตนวตั กรรมการเรียนการสอนการผลติ ชุดการสอน ราชบรุ ี : ธรรมรักษก์ ารพิมพ์ สวุ ทิ ย์ มูลค์ และอรทยั มลู ค่า. (2550). 19 วิธกี ารจดั การเรียนร้เู พอ่ื พัฒนาความรู้และทักษะ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พภ์ าพพิมพ์ สมเกียรติ พรวิสุทธมิ าศ. (2551). การสอนวิทยาศาสตรโ์ ดยเนน้ ทกั ษะกระบวนการ กรงุ เทพฯ : ก้าวทนั โลกวิทยาศาสตร์ปีที่ 8. สมนึก ภัททยิ ธนี (2549). การวัดการศกึ ษา, มหาสารคาม : ภาควชิ าวิจยั และพฒั นาการการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สมนึก ภัททิยธนี (2551). การวัดผลการศกึ ษา, พมิ พค์ ร้งั ที่ 6. กาฬสนิ ธุ์ : ประสานการพมิ พ์ สํานกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี ก้ไข เพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 2 พ.ศ.2545 และฉบับท่ี 3 พ.ศ.2553) ไสว ประภาศรี. (2553). การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาภรณ์ ใจเทีย่ ง. (2553). หลักการสอน, พมิ พค์ รัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ อรวรรณ เตชะโสต. (2552). ควรใชข้ องเล่นพ้ืนบ้านเพ่ือพฒั นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4. (การค้นควา้ แบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงใหม่ : มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่, ไอลดั ดา ปามทา. (2560), การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิและความคงทนทางการเรียนโดยใชช้ ุดกจิ กรรมการ เรียนรู้ประกอบการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง สารและการเปลี่ยนแปลง กลุ่ม สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ สาํ หรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรา มหาบัณฑิต) มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม Campbell, Megham A. (2006). The Effect of the 5E Learning Cycle Model on Students Under of force and Motion Concepts. Masters Abstracts International. 44(05): unpaged: October Caraisco, J. (1973.) Overcoming Lethargy In gifted and talented education with

55 contract activity packages: \"I'm Choosing to lean\" Clearing House, 80,225,2007 Good, Carter V. Dictionary of Education. 3rd ed. New York: McGraw-Hill Book Mosenson Andrea B, & Fox Wanda S. (2011). Teaching 21h Century Process Skill to Strengthen and Enhance Family and Consumer Science Education. Journal of Family and Consumer Science, 103(1),63 Morse, N. C.(1958). Satisfacion in the Write Collar Job. Ann Arbor: University of Michigan Schart A. (2000). Student perception of instruction systems design components or collge Instruction insolls [CD-Rom). Abstract from pre Ques File: Dissertation

56 ประวัตผิ เู้ ขยี น ช่ือ -สกลุ นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา วัน เดือน ปีเกิด วันท่ี 7 เมษายน พ.ศ.2536 สถานท่ีเกิด จงั หวดั ขอนแก่น ประวตั ิการศึกษา มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนบา้ นไผ่ อำเภอบ้านไผ่ พ.ศ. 2554 จงั หวดั ขอนแก่น ครศุ าสตร์บัณฑิต (ฟสิ กิ ส์) มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม พ.ศ. 2561 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ า ประเมนิ ผลและวจิ ัยการศึกษา พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ครู อันดบั คศ.1 ประวัตกิ ารทำงาน โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook