ห นั ง สื อ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร อ่ า น โ ด ย ใ ช้ ข้ อ มู ล ท้ อ ง ถ่ิ น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ช า ภ า ษ า ไ ท ย ช้ั น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 6 ฉ บับ ที่ ๅ เล่มท่ี 1 1 ป ร ะ วั ติ เ มื อ ง พ ริ บ พ รี จดั ทำโดย นำงสำวยพุ ำพรรณ มำกมลู โรงเรียนเทศบำล 4 บำ้ นบ่อแขม (เรอื นพริ้งอำสำสงเครำะห)์
ก คานา หนงั สอื สง่ เสรมิ การอา่ น โดยใชข้ อ้ มลู ทอ้ งถนิ่ เลม่ ท่ี 1 ประวัติเมืองพริบพรี เป็ น หนังสือท่ีจัดทาข้นึ เพ่ือส่งเสริมความสามารถการอ่านจับใจความ ของนักเ รียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 หนังสอื เล่มน้ีเป็นเร่อื งราวทม่ี อี ยู่ในท้องถน่ิ ของนักเรยี นเพ่อื สร้าง ความตระหนกั ใหน้ กั เรยี นเกดิ ความรกั และความภาคภมู ใิ จในทอ้ งถนิ่ ของตน ผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่าหนังสอื ส่งเสรมิ การอ่าน โดยใชข้ อ้ มูลทอ้ งถนิ่ เล่มท่ี 1 ประวัติเมืองพรบิ พรี จัดทาข้นึ น้ี จะส่งเสรมิ ความสามารถการอ่านจับใจคว าม ของ นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ไดเ้ ป็นอยา่ งดี และขอขอบพระคุณ ผเู้ ช่ียวชาญทุกทา่ นท่ี กรุณาให้คาปรกึ ษา และข้อเสนอแนะในการจดั ทาหนังสอื ส่งเสรมิ การอ่านชุด น้ีจนมี ประสทิ ธภิ าพและเป็นประโยชน์อยา่ งยง่ิ ยพุ าพรรณ มากมลู
สารบญั ข เรอ่ื ง หน้า คานา ก คาชแ้ี จงการใชห้ นงั สอื สง่ เสรมิ การอา่ น ค จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ค ประวตั เิ มอื งพรบิ พรี 1-9 แบบฝึกหดั ทา้ ยเลม่ 10 เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยเลม่ 11 เอกสารอา้ งองิ 12
คาชแ้ี จงในการใชห้ นงั สอื ค สง่ เสรมิ การอ่าน หนงั สอื ส่งเสรมิ การอ่าน โดยใชข้ อ้ มลู ทอ้ งถนิ่ เล่มท่ี 1 ประวตั เิ มอื งพรบิ พรี เป็นหนงั สอื ทจ่ี ดั ทาขน้ึ เพ่อื ส่งเสรมิ ความสามารถด้านการอ่านจบั ใจความ ของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 6 อกี ทงั้ ยงั เป็นการปลูกฝัง นสิ ยั รกั การอ่าน ใหน้ กั เรยี นเกดิ ความเพลดิ เพลนิ และรจู้ กั แสวงหาความรู้ เพ่อื ใหก้ ารใชห้ นังสอื ส่งเสรมิ การอ่าน เกดิ ประสทิ ธภิ าพบรรลุตามจุดประสงค์ท่วี างไว้ ดงั นัน้ ผู้จดั ทาจงึ มขี อ้ เสนอแนะสาหรบั ครูผูส้ อนและนักเรยี น ดงั ต่อไปน้ี คำชี้แจงสำหรบั ครผู สู้ อน 1. หนงั สอื เล่มน้ใี ชค้ กู่ บั แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 2. ศกึ ษาและปฏบิ ตั ติ ามแผนการจดั การเรยี นรู้ 3. ครอู ่านหนงั สอื เลม่ น้แี ละทาความเขา้ ใจก่อนทจ่ี ะนามาใชก้ บั ผเู้ รยี น 4. สรา้ งขอ้ ตกลงในการใชห้ นงั สอื 5. แจกหนงั สอื ใหน้ กั เรยี นทกุ คน 6. ครแู จกกระดาษคาตอบสาหรบั ทาแบบฝึกทา้ ยเลม่ คำชี้แจงสำหรบั นักเรียน 1. อ่านคาแนะนาการใชห้ นงั สอื ใหเ้ ขา้ ใจ 2. ไมท่ าเครอ่ื งหมายหรอื ขดี เขยี นลงในหนงั สอื 3. ทาแบบฝึกทา้ ยเลม่ จานวน ๑๐ ขอ้ 4. สง่ หนงั สอื คนื ครหู ลงั จากเรยี นจบในแต่ละเล่ม 5. อ่านแลว้ ตอ้ งคดิ ตามนาความรมู้ าพฒั นาตนเอง จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. อ่านเรอ่ื งสนั้ ๆ อยา่ งหลากหลาย โดยจบั เวลาแลว้ ถามเกย่ี วกบั เรอ่ื งทอ่ี ่าน
1 เพชรบุรใี นประวตั ศิ าสตร์ จงั หวดั เพชรบุรเี ป็นจงั หวดั ทม่ี คี วามเกา่ เเกจ่ งึ อาจเคยไดย้ นิ คากลา่ วขานทว่ี ่าเพชรบุรเี ป็น เมอื งหน่ีงในประเทศไทยแต่ไม่มหี ลกั ฐานใดทบ่ี นั ทึกประวตั ิความเป็นมาไว้แม้แต่ศลิ าจารกึ ตานานเมอื งส่วนใหญ่ก่อนสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาไดจ้ ากการสนั นิษฐานจากโบราณสถาน โบราณวตั ถุทต่ี กทอดมาถงึ สมยั น้ี สมัยศรวี ชิ ัย ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 14กษตั รยิ ผ์ คู้ รองนครศรธี รรมราชไดแ้ ผอ่ านาจเขา้ มาถงึ ทวารวดแี ละเขมร เพชรบุรจี งึ ตกอยใู่ นอานาจของกษตั รยิ น์ ครศรธี รรมราช มหี ลกั ฐานปรากฏวา่ ทว่ี ดั ธอ่ มพี ระพุทธรปู ทาดว้ ยหนิ ทรายแบบศรวี ชิ ยั อยู่ 2องค์ นอกจากน้ใี นตานานเมอื งนครศรธี รรมราชกลา่ ววา่ พระเจา้ ธรรมราชนาเคนทรผ์ ูค้ รอง นครศรธี รรมราช ไดส้ ง่ ราชโอรสมาครองเพชรบุรมี พี ระนามวา่ พระพนมทเลศรมี เหนทราธริ าช ซง่ึ ปรากฏเรอ่ื งราว วา่ ในสมยั นนั้ บรเิ วณเมอื งเพชรบุรมี ฝี างมาก พระเจา้ รม่ ฟ้ากรงุ จนี ไดเ้ เต่งสาเภา ใหร้ าชทตู นาเครอ่ื งราช บรรณาการมาถวายกษตั รยิ ผ์ คู้ รองเมอื งเพชรบุรี แลว้ ขอพระราชทานฝางไปกลา่ วกนั วา่ ครงั้ นนั้ ไดฝ้ างไปเป็น จานวนมากเป็นทพ่ี อพระทยั พระเจา้ กรงุ จนี จงึ ยกนางจนั ทรเทวศี รบี าทราชบุรศี รที องสมทุ รมาถวายเป็นมเหสี ของกษตั รยิ เ์ มอื งเพชรบุรรี าชบตุ รผี นู้ ้ใั ี นตานานกลา่ ววา่ เกดิ ในดอกหมากเป็นทพ่ี อพระทยั จงึ สนั นฐิ านวา่ นางคงเป็นเชอ้ื กษตั รยิ จ์ ามใตห้ รอื อาณาจกั รปาณุฑรงคซ์ ง่ึ เป็นตระกลู ดอกหมากอยใู่ น แควน้ จาม และในสมยั นนั้ ชาวเพชรบุรคี งจะมกี ารตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั อาณาจกั รจามหรอื จมั ปา ซง่ึ อยู่ ในอาณาจกั รญวนตอนใตก้ อ็ าจเป็นได้
2 สมยั ลพบรุ ี เน่อื งจากขอมเรอื งอานาจเขา้ มาปกครองแควน้ สวุ รรณภมู จิ งึ ตงั้ เมอื งละโว้ (ลพบุร)ีิ เป็น ราชธานี ไดค้ รอบครองเมอื งเพชรบุรดี ว้ ยเพราะอทิ ธพิ ลของขอมจากโบราณสถานทส่ี ร้างไว้ คอื ปราสาทหนิ กาแพงเเลง 5 ยอด ทว่ี ดั กาเเพงเเลง และพระปรางค์ 5 ยอด ทว่ี ดั มหาธาตุ วรวหิ ารองคด์ งั้ เดมิ นนั้ กเ็ ป็นฝีมอื ชา่ งขอม นกั โบราณคดไี ดพ้ สิ จู น์วา่ ปราสาทหนิ กาแพงเเลงสรา้ งสมยั เดยี วกบั พระปรางคส์ ามยอดท่ี จงั หวดั ลพบุรี นอกจากน้ยี งั มโี บราณสถานอน่ื ๆ เชน่ โบสถพ์ ราหมณ์เสาชงิ ชา้ วดั วงั บา้ น หน้าพระลาน อยใู่ นกาแพงเมอื งซง่ึ ยงั ปรากฏหลกั ฐานใหเ้ หน็ อยจู่ นถงึ ปัจจุบนั ทว่ี ดั วงั คงจะ เคยเป็นทต่ี งั้ วงั สมยั ขอมปกครองดนิ แดนแถบน้ี ตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี 17 พระเจา้ อนุรทุ ธ (อโนธามงั ชอ่ ) กษตั รยิ พ์ กุ าม ไดบ้ ุกรกุ เขา้ มาใน ดนิ แดนสวุ รรณภมู ซิ ง่ึ ขอมปกครองอยแู่ ละไดเ้ ขา้ ครอบครองดนิ แดนแถบลมุ่ แมน่ ้าเจา้ พระยา เกอื บทงั้ หมด เมอื งเพชรบุรกี ต็ กเป็นเมอื งขน้ึ ของพระเจา้ อนุรทุ ธดว้ ย สมยั กรุงสุโขทยั ในสมยั พุทธศตวรรษท่ี 17 เมอื งเพชรบุรตี กเป็นของไทยดงั ปรากฏในศลิ าจารกึ ของพ่อ ขมุ รามคาแหงว่า พระเจา้ ศรอี นิ ทราทติ ยม์ อี าณาเขตปกครองถงึ เมอื งเพชรบุรี สมยั ทพ่ี ระเจา้ รามคาเเหงมหาราชเสดจ็ ลงไปรบั พระราชสหิ งิ คท์ จ่ี งั หวดั นครศรธี รรมราชกไ็ ดป้ ระทบั พกั แรม ทเ่ี มอื งเพชรบุรี เพชรบุรจี งึ อยใู่ นความปกครองของสุโขทยั จนกระทงั่ ราชวงศพ์ ระรว่ งเสอ่ื ม อานาจลงกรงุ ศรอี ยธุ ยากไ็ ดเ้ ขา้ ปกครองเมอื งเพชรบุรสี บื ตอ่ ไป
3 สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา เพชรบุรเี ป็นเมอื งสาคญั เมอื งหน่ึงทางใตข้ น้ึ กบั ประแดงจุลาเทพซ้ายเเละมเี ร่ืองราวเกย่ี วกบั เมอื งเพชรบุรดี งั น้ี พ.ศ. 2118 ตรงกบั รชั สมยั สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา นกั พระสฏั ฐา ผคู้ รองกรงุ ละแวก ทราบว่ากรุงศรอี ยุธยาเสยี แก่พม่าขา้ ศกึ แลว้ คงจะอ่อนกาลงั ลงเหน็ เป็นโอกาสท่ีจะมาตเี มอื ง เพชรบุรเี พ่อื ปลน้ สะดมเเละกวาดต้อนครอบครวั ไปเมอื งเขมรจงึ แต่งตงั้ พระยาอุเทศราชกบั พระจนี จนั ตุคมุ ทพั เรอื มาตเี มอื งเพชรบุรไี มไ่ ดจ้ ะไมก่ ลบั เมอื งเขมรดงั นนั้ จึงลอบมาอาศยั อยใู่ น กรงุ ศรอี ยธุ ยา ครนั้ ตอ่ มาทราบว่านักพระสฏั ฐาไมเ่ อาโทษจงึ หนีกลบั ไปเขมรใน พ.ศ.2124 ได้ อาสานากองทพั เขา้ มาตเี พชรบุรอี กี ครงั้ เพ่อื เป็นการแกต้ วั ทพั เขมรทย่ี กมาครงั้ น้ีมกี าลงั ถงึ 70,000 คน พระมหาธรรมราชาแหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยาไดโ้ ปรดใหเ้ มอื งเทพราชธานีกบั เมอื งยโสธร ยกทพั มาชว่ ยเมอื งเพชรบุรถี งึ 3 ครงั้ แต่ไมเ่ ป็นผลสาเรจ็ ต่อมาแมท่ พั ไทยทงั้ 3 แตกความ สามคั คกี นั การป้องกนั เมอื งจงึ ไมพ่ รอ้ มเพยี งกนั ทาเขมรเขา้ กด่ี า้ นคลองกระแชงทางหน่ึง ทาง ประตูบางจานอกี ทางหน่ึง ทางดา้ นคลองกระแชงนนั้ กาแพงหกั ลงไป ทต่ี รงนัน้ ในปัจจุบนั เรยี กวา่ บา้ นกาแพงหกั ขา้ ศกึ ยกเขา้ เมอื งใต้ แมท่ พั ไทยทงั้ 3 ต่อสจู้ นเสยี ชวี ติ ในสนามรบ เมอ่ื เขมรเขา้ ยดึ เมอื งไดแ้ ลว้ กก็ วาดตอ้ นผคู้ นทรพั ยส์ มบตั กิ ลบั เมอื งเขมร สว่ นเมอื งเพชรบุรปี ล่อย ทง้ิ ไวไ้ มไ่ ดค้ รอบครอง
4 พ.ศ 2153 ในรชั สมยั พระเจ้าเสาวภาคยพ์ วกญ่ปี ุ่นทเ่ี ขา้ มาตงั้ บ้านเรอื นอยู่ในกรุงศรี อยธุ ยาเป็นจานวนมากเหน็ วา่ กรงุ ศรอี ยุธยาเปลย่ี นพระเจา้ แผน่ ดนิ ใหม่ จงึ ก่อการกาเรบิ ขน้ึ ยกพวกเขา้ ไปในพระราชวงั จบั พระเจา้ ศรเี สาวภาคย์ แลว้ บงั คบั ใหเ้ ซน็ สญั ญาว่า ไมเ่ อาโทษ และไมท่ ารา้ ยพวกญป่ี ุ่น พระเจา้ ศรเี สาวภาคยจ์ งึ จายอม พวกญป่ี ุ่นจบั ขา้ ราชการไทยทญ่ี ่ปี ุ่น เกลียดชงั ฆ่าเสยี หลายคนแล้วยกพวกไปตัง้ มนั่ อยู่เมอื งเพชรบุรีตามจดหมายเหตุของ ฮอลนั ดา กล่าววา่ พวกญป่ี ุ่นกรอบก่อความวุน่ วายขน้ึ ทเ่ี มอื งเพชรบุรี จงึ ถูกขบั ไลอ่ อกจาก เมอื งไป ญป่ี ุ่นไปรวมกนั อยทู่ บ่ี างกอก ภายหลงั ถูกขบั ไลอ่ อกจากกรงุ ศรอี ยุธยา พ.ศ. 2171 ในรชั สมยั พระเชษฐาธริ าช พระศรศี ลิ ป์ ซง่ึ เขา้ ใจว่าเป็นอนุชาของพระเจา้ ทรงธรรมคดิ ถงึ ราชสมบตั จิ ากพระเชษฐาธริ าชแต่ถูกจบั ไดแ้ ลว้ ถูกสง่ ตวั มาขงั ไว้ทเ่ี มอื ง เพชรบุรี แต่หลวงมงคล ซง่ึ เป็นเจา้ เมอื งเพชรบุรซี ง่ึ เป็นพระญาตขิ องพระศรศี ิลป์ ไดช้ ว่ ยให้ พระศรศี ลิ ป์ ออกจากทค่ี ุมขงั แล้วชกั ชวนชาวเพชรบุรใี หต้ ่อสูก้ บั พระเชษฐาธิราช พระ เชษฐาธริ าชใหเ้ จา้ พระยากลาโหมยกกาลงั ยกกาลงั มาปราบปราม กองทพั ของหลวงมงคล และพระศรศี ลิ ป์ เสยี ที พระศรศี ลิ ป์ ถูกจบั สาเรจ็ โทษ สว่ นหลวงมงคลนนั้ เจา้ พระยากลาโหม เหน็ วา่ มคี วามซ่อื สตั ยก์ ลา้ หาญ จงึ เกลย้ี กล่อมไวเ้ พอ่ื เป็นกาลงั ต่อไป แต่หลวงมงคลมคี วาม ซอ่ื สตั ยต์ อ่ เจา้ นายของตน และยอมรบั โทษประหารชวี ติ
5 พ.ศ. 2302 ในรชั สมยั พระเจา้ เอกทศั พระเจา้ อลองพญาแหง่ กรุงหงสาวดโี ปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระมงั รายราชโอรสกลบั มงั มหานรธายกทพั มาตเี มอื งไทยทางปักษ์ใต้ แลว้ จงึ ยกยอ้ น ขน้ึ มาทางเมอื งเพชรบุรแี ละราชบุรี ทางกรงุ ศรอี ยธุ ยาใหพ้ ระยารตั นาธเิ บศรย์ กกองทพั มารบั ทเ่ี มอื งเพชรบุรี ไดต้ งั้ ทพั คอยอยหู่ ลายวนั ไมพ่ บทพั พมา่ ยกมาจงึ ถอยทพั กลบั ไป ทพั พมา่ จงึ ผา่ นเมอื งเพชรบุรไี ปตงั้ ทพั อยทู่ ร่ี าชบุรไี ดโ้ ดยสะดวก เมอ่ื พระเจา้ อลองพญาเลกิ ทพั กลบั ไป แลว้ เมอื งเพชรบุรกี ก็ ลบั มาเป็น ของไทยอกี ครงั้ พ.ศ. 2307 พระเจา้ มงั ระโปรดเกลา้ ฯ ใหม้ งึ มาหานรธามาตเี มอื งทวาย มะรดิ และหวั มากบั ใตอ้ น่ื ๆ แลว้ จงึ ยกยอ้ นมาถงึ เมอื งเพชรบุรี ไดป้ ะทะกบั กองทพั ไทยของพระยาพพิ ฒั น์ โกษากบั พระยาตาก (สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช) พมา่ สไู้ มไ่ ดจ้ งึ ลา่ ทพั กลบั ไป เมอ่ื กรงุ ศรอี ยุธยาเสยี แกพ่ มา่ ใน พ.ศ 2310 เมอื งเพชรบุรไี มไ่ ด้เกย่ี วขอ้ งกบั การรบแต่ คงถูกทหารพม่าปล้นเป็นทน่ี ่าสงั เกตว่าไดม้ พี ระมหากษตั รยิ ์แห่งกรุงศรอี ยุธยาท่เี คยเสดจ็ ประพาสเมอื งเพชรบุรี คอื สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชพรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระเอกาทศรถได้ เสดจ็ พระราชดาเนินไปยงั ตาบลสามรอ้ ยยอดเมอื งเพชรบุรที างสถลมารคในปี พ. ศ. 2134 และประทบั แรมทน่ี นั่ เป็นเวลา 14 วนั เพ่อื ทรงเบด็ หลงั จากนนั้ ไดเ้ สดจ็ มาประทบั แรม ณ ตาหนักทต่ี าบลโตนดหลวงเพอ่ื ประพาสทะเลทรงเบด็ สง่ พกั แรมกลางทะเลเป็นเวลา 2 คนื รวมเวลาประทบั แรมทต่ี าบลโตนดหลวง 12 วนั แลว้ จงึ เสดจ็ เขา้ เมอื งเพชรบุรี
6 สมเดจ็ พระเจา้ เสอื เป็นพระมหากษตั รยิ แ์ หง่ กรุงศรอี ยุธยาพระองคห์ น่ึงทเ่ี คยเสดจ็ ประพาสเมอื งเพชรบุรเี พอ่ื ทรงเบด็ เมอ่ื พ.ศ. 2246 ประทบั แรมทต่ี าบลโตนดหลวงซง่ึ เคยเป็นทป่ี ระทบั ของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชและสมเดจ็ พระเอกาทศรถ สมเดจ็ พระเจา้ เสอื เสดจ็ เลยไปถงึ ตาบลสามรอ้ ยยอดเพ่อื สง่ เบด็ แลว้ เสดจ็ ยอ้ นกลบั มายงั ตาหนกั โตนดหลวง จากนนั้ เสดจ็ กลบั คนื สกู่ รงุ ศรอี ยธุ ยา หลงั จากเสยี กรงุ ศรอี ยุธยาแก่พมา่ ในพ.ศ. 2310 พญาเพชรบุรแี ละชาวเมอื งรวมกบั เมอื งอน่ื ๆ อกี 11 เมอื งไดร้ ว่ มมอื กบั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชกอบกอู้ สิ รภาพกลบั คนื มาสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชไดท้ รงตงั้ กรุงธนบุรเี ป็นราชธานี ในสมยั กรงุ ธนบุรี (พ.ศ 2310ถงึ 2325) ถงึ สมยั กรุงรตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ (รชั กาลท่ี 1 ถงึ รชั กาลท่ี 3 พ.ศ 2325 ถงึ 2394) เมอื งเพชรบุรคี งเป็นหวั เมอื งชนั้ ตรตี ามหลกั การปกครองของสมเดจ็ พระบรมไตร โลกนาถแหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา
7 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เม่อื เพชรบุรเี ขา้ ร่วมทาสงครามครงั้ สาคญั สาคญั ในประวตั ศิ าสตร์หลายครงั้ เช่น สงครามเกา้ ทพั ในรชั กาลท่ี 1 (พ.ศ.2328) และในรชั กาลท่ี 3 พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา้ เจา้ อยไู่ ดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระยาเพชรบุรเี จา้ เมอื งนครศรธี รรมราชและเจา้ เมอื งสงขลารว่ มกนั ยกทพั ไปปราบ 5 เมอื งทางใต้ คอื ไทรบุรี กลนั ตนั ทค่ี ดิ เอาใจออกหา่ ง จากไทย ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เพชรบุรเี ป็นเมอื งหน่ึงในมณฑล ราชบุรี พ.ศ. 2435 จนกระทงั่ ถงึ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดย้ กเลกิ การปกครองแบบมณฑลเทศาภบิ าลใน พ.ศ. 2476 เพชรบุรจี งึ มฐี านะเป็นจงั หวดั หนง่ึ ของไทยตามแบบการปกครองสว่ นภมู ภิ าคในพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการ แผน่ ดนิ ในปัจจุบนั เมอื งเพชรบุรเี ป็นเมอื งทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี4 รชั กาลท5่ี และรชั กาล ท6่ี ทรงพอพระราชหฤทยั เป็นพเิ ศษ เน่ืองจากอากาศดี มที ศั นียภาพสวยงาม มี โบราณสถานโบราณวตั ถุทม่ี ปี ระวตั ยิ อ้ นหลงั ไปถงึ สมยั ขอมเรอื งอานาจทางดินแดนแถบ น้ี และในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เชน่ สงิ่ กอ่ สรา้ งและภาพเขยี นในพระอุโบสถตามวดั ต่าง ๆ อนั ทรงคณุ คา่ ยง่ิ ในปี พ.ศ. 2401 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ใหส้ รา้ งพระนคร ครี ขี น้ึ บนยอดเขามหาสวรรคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั กท็ รงพอ พระราชหฤทยั เมอื งเพชรบุรอี ย่เู ป็นอนั มาก ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการเสดจ็ ประพาสเมอื ง เพชรบุรหี ลายครงั้ เชน่ ใน พ.ศ. 2418 พ.ศ. 2429 พ.ศ. 2447 พ.ศ. 2452 และ พ.ศ. 2453 เพอ่ื ทอดพระเนตรวดั วาอาราม พระนครครี ี ถ้า และทรงตอ้ นรบั พระราชอาคนั ตุกะ จากต่างประเทศทม่ี าพกั แรมทเ่ี พชรบุรใี นปีพ.ศ. 2452 โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งพระราชวงั บา้ นปืนเพอ่ื สาหรบั ประทบั พกั ผอ่ นพระอริ ยิ าบถ
8 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยกู่ ไ็ ดเ้ สดจ็ ประพาสเมอื งเพชรบุรหี ลายครงั้ และ ทรงสรา้ งพระราชวงั บา้ นปืนทย่ี งั สรา้ งคา้ งอยใู่ หเ้ สรจ็ สมบูรณ์ และพระราชทานนามวา่ พระรามราชนเิ วศน์ ไดท้ รงสรา้ งพระราชฐานชายทะเลคอื คา่ ยหลวงหาดเจา้ สาราญซง่ึ ตอ่ มา ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหย้ า้ ยไปสรา้ งพระราชวงั ใหมท่ ช่ี ะอาเรยี กวา่ พระราชนเิ วศน์มฤคทายวนั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราชกท็ รงพอพระราชหฤทยั เมอื ง เพชรบุรอี ยเู่ ป็นอนั มาก ไดพ้ ระราชทานพระบรมสารรี กิ ธาตุสว่ นพระองคม์ าประดษิ ฐานไว้ ในองคพ์ ระปรางค์ 5 ยอดณวดั มหาธาตุวรวหิ าร และไดเ้ สดจ็ ไปทรงรเิ รม่ิ โครงการพฒั นา ทด่ี นิ และชลประทานหมายโครงการ เพอ่ื ใหร้ าษฎรไดม้ ที ท่ี ามาหากนิ และชว่ ยกนั จดั ตงั้ เป็น สหกรณ์การเกษตร เชน่ โครงการหบุ กะพงอนั มชี อ่ื เสยี งเลอ่ื งลอื เป็นทร่ี จู้ กั กนั ทวั่ ไป เพชรบุรจี งึ เป็นเมอื งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั พระมหากษตั รยิ ม์ าตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจุบนั ชาวเมอื งมคี วามรกั ใครแ่ ละยกยอ่ งเทดิ ทนู พระมหากษตั รยิ ์ เพชรบุรมี พี ระบรมราชานุสรณ์ ทน่ี ่าภาคภมู ใิ จ นนั่ คอื พระราชวงั ในอดตี ถงึ 3 แหง่ พระอารามหลายแหง่ มโี บราณสถานอนั สงู คา่ ในพระอุโบสถมภี าพเขยี นเกา่ แกฝ่ ีมอื เยย่ี ม ตามประตมู ภี าพแกะสลกั สวยงาม ภเู ขา ถ้า ทะเลสาบ และหาดทรายชายทะเลลว้ นแตน่ ่าชมใหเ้ พลดิ เพลนิ ขนมหวานหลายหลาก ชนิด ชวนรบั ประทาน เพชรบุรจี งึ นบั เป็นเมอื งทอ่ งเทย่ี วทส่ี มบรู ณ์แบบและเหมาะสมกบั คา ขวญั ทว่ี า่ “เขาวงั คบู่ า้ น ขนมหวาน เมอื งพระ เลศิ ล้าศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม”
9 เพชรบุรนี ะอยากทาทถ่ี กั วาละไวดอี นั ควรสนใจเชน่ รปู ธรรมจกั รกบั กวางหมอบ ซง่ึ เดมิ อยทู่ ว่ี ดั เพชรพลี โดยขดุ ไดจ้ ากบรเิ วณวดั คา้ งคาว อนั เป็นวดั รา้ งใกลว้ ดั เพชรพลี ตอ่ มาสมเดจ็ พระยาดารงราชานุภาพ สง่ หนงั ไปไวท้ ว่ี หิ ารใหญ่วดั มหาธาตุเพชรบรุ ี ทามาจากทว่ี ดั มหาธาตุ เพชรบุรนี นั้ เป็นหนิ ทรายแดงจาหลกั ดา้ นเดยี วนอกจากน้ยี งั มผี คู้ มุ ธรรมจกั รแบบทวารวดไี ด้ จากทงุ่ นาตาบลหนองปรง อาเภอเขายอ้ ย อกี ชน้ิ หน่งึ ในตานานเมอื งนครศรธี รรมราชมกี ารกลา่ วถงึ เรอ่ื งการกอ่ ตงั้ เมอื งเพชรบุรี ในยคุ น้ไี วว้ า่ “อาทิ เดมิ วา่ พระพนมทะเลศรมี เหสวสั ดทิ ราธริ าชกษตั รยิ พ์ ระบวรเชษฐา พระราชกมุ าร อนั เป็น พระเจา้ หลาย กลบั กล็ าพกั ป่พู ระยา ทา่ นมาตงั้ อยเู่ พชรบรุ ี ทา่ นเอาคนมา 33,000 ชา้ งพลาย 500 มา้ 700 พล อนั ตามทา่ นมาเองนนั้ 5,400 “ หลกั ฐานเหลา่ น้แี สดงวา่ เพชรบุรเี ป็นดนิ แดน ทม่ี ชี มุ ชนอาศยั อยตู่ งั้ แตส่ มยั ทวารวดมี าแลว้
10 ใบงานการอ่านจบั ใจความใบงานที่ 1 คาชแ้ี จง : ให้นักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี
11 เฉลยใบงานการอา่ นจับใจความใบงานที่ 1 คาชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
12 เอกสารอา้ งองิ ทองใบ แทน่ มณี และคณะ. (2558). ภมู ทิ ศั น์วฒั นธรรมเมอื งเพชร เลม่ ท่ี 9. เพชรบุร:ี เพชรภมู ิ การพมิ พ.์ บุญมา แฉ่งฉายา และคณะ. (2558). ภมู ศิ ลิ ปกรรม เลม่ ท่ี 7. เพชรบุร:ี เพชรภมู กิ ารพมิ พ.์ มนู อุดมเวช และคณะ. (2559). ภมู ปิ ระวตั ิ เลม่ ท่ี 3. เพชรบุร:ี เพชรภมู กิ าร พมิ พ.์ มยรุ ี วดั แกว้ และคณะ. (2558). ภมู ปิ รชั ญา ภมู บิ ารมี เลม่ ท่ี 1. เพชรบุร:ี เพชรภมู กิ ารพมิ พ.์ สทุ ธลิ กั ษณ์ อาพนั วงศ.์ (2536). เทย่ี วเมอื งเพชร. กรงุ เทพฯ: คุรสุ ภา ลาดพรา้ ว. สวุ ทิ ย์ เปียผอ่ ง และคณะ. (2558). ภมู ปิ ระชา เลม่ 4. เพชรบุร:ี เพชรภมู กิ าร พมิ พ.์
12 ประวตั ผิ จู้ ดั ทำ ชอ่ื -นำมสกุล นำงสำวยพุ ำพรรณ มำกมูล วันเดอื นปเี กิด 12 กรกฎำคม 2536 โรงเรียนเทศบำล 4 บ้ำนบ่อแขม (เรือน สถำนทที่ ำงำนปจั จบุ นั พรง้ิ อำสำสงเครำะห์) ครู ตำแหนง่ ประวตั กิ ำรศกึ ษำ ปริญญำครุศำสตรบณั ฑิต (คบ.) วชิ ำเอก ภำษำไทย พ.ศ. 2560 โรงเรยี นเทสบำล 4 บ้ำนบอ่ แขม (เรอื น ประวัตกิ ำรทำงำน พรง้ิ อำสำสงเครำะห์) พ.ศ. 2561-2565
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: