Traumatic Brain Injury (TBI)
Severity of traumatic brain injury Mild GCS 13-15 น้อย รู้สึกตวั ดี ปวดศรี ษะ มึนงง Moderate GCS 9-12 ปานกลาง เรยี กรู้ตวั ซมึ หลบั สบั สน Severes GCS <9 รนุ แรง ปลกุ ต่นื ยาก หรือหมดสติ
ภาวะบาดเจ็บทางสมอง (Traumatic Brain Injury ) ภาวะบาดเจ็บทางสมอง (Traumatic Brain Injury) หรอื อาจเรยี กว่า การบาดเจ็บทศี่ รี ษะ หมายถึง การบาดเจ็บใดๆ ท่ีมีตอ่ หนังศีรษะ กะโหลกศรี ษะ และเนอ้ื เยื่อที่เป็นส่วนประกอบภายในกะโหลกศีรษะ ซึ่งอาจทาใหม้ หี รือไมม่ ีการ เปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว สง่ ผลใหเ้ กดิ อันตรายตอ่ สมอง ดังนี้ 1 สมองกระเทือน (Brain Concussion) 2 สมองชา้ (Brain Contusion) 3 เลือดค่ังในกะโหลกศีรษะ (Intraparenchymal Hemorrhaged)
อาการสาคัญท่ตี อ้ งสังเกตหลังเกดิ ภาวะ บาดเจบ็ ที่ศีรษะและมาพบแพทย์ทนั ที ไดแ้ ก่ ระดับความรสู้ กึ ตวั (Conscious level) ไม่ ซอ้ น เหมือนเดิม เช่น ปลกุ ไมต่ ่นื ซึม เรียกไม่ ปวดศีรษะ (Headache) หรือมนึ ศีรษะมาก คอ่ ยรูส้ ึกตัว ข้ึนกวา่ เดิมและไมด่ ขี นึ้ หลังทานยาแกป้ วด มีอาการเอะอะโวยวาย ทาตามสัง่ ไม่ได้ แล้ว 2 ชั่วโมง แขน - ขา อ่อนแรง (Weakness) หรือเดิน คล่นื ไส ้ อาเจยี น (Nausea / Vomiting) ไม่เหมือนเดมิ ความจา (Cognitive) หรอื พฤติกรรม ชัก (Convulsion) หรอื มอี าการเกรง็ เปลี่ยนไป(Behavior change) กระตกุ ของกลา้ มเนื้อ การนอนหลบั (Sleep Pattern) ผดิ ไปจาก ตาพรา่ มวั มองเห็นไม่ชดั หรอื มองเห็นภาพ เดมิ
แนวทางการรักษา สาหรับผู้ป่วยบาดเจ็บทางสมองเพียงเล็กน้อย เมื่อให้การรักษาเบ้ืองต้นแล้ว แพทย์จะอนญุ าตใหผ้ ูป้ ว่ ยกลับบา้ นไดเ้ มอื่ มีผูด้ แู ลต่อเน่ืองและไม่อยู่เพียงลาพัง เน่ืองจากผู้ป่วยยังต้องได้รับการติดตามเฝ้า สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงอย่าง ใกล้ชิดอย่างนอ้ ย 2 วัน กรณีผู้ป่วยสูงอายุมากกว่า 65 ปี, รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด หรือปวดศีรษะ, คลื่นไส้ แพทย์จะแนะนาให้ทาเอกซเรย์สมองด้วย คอมพิวเตอร์ (CT Brain) และปรกึ ษาศลั ยแพทย์ระบบประสาทร่วมดว้ ย
กรณีผู้ปว่ ยท่ีมีอาการรุนแรง หรือมีความเส่ียงต่ออาการกระทบกระเทือน ทางสมอง หรือแพทย์สงสัยว่าจะมีอาการเลือดค่ังกดทับเนื้อสมอง จาเปน็ ตอ้ งได้รับการตรวจพิเศษเพม่ิ เติม อาทิ เอกซเรย์ด้วยคอมพิวเตอร์ สมอง และต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลเพ่ือให้การสังเกตอาการ และ ใหก้ ารรักษาโดยศลั ยแพทยร์ ะบบประสาท เพิม่ เติม ไดแ้ ก่ เฝา้ สังเกตอาการเปล่ียนแปลงของผู้ปว่ ยตลอดเวลา รกั ษาทางยา ตรวจพิเศษ อน่ื เชน่ CTA, MRI การรกั ษาโดยการผา่ ตัด การรกั ษาอืน่ ๆ ต่อโรคทเ่ี กิดรว่ ม
คาแนะนาเมอ่ื ผูป้ ว่ ยไดร้ บั การดแู ลที่บ้าน ตอ้ งสังเกตอาการอย่างน้อย 2 วนั โดยปลุกทกุ 4 ช่ัวโมง สงั เกตอาการตอ่ ไปนถ้ี า้ พบ ให้มาโรงพยาบาลทันที ไดแ้ ก่ 1. ระดบั ความรู้สกึ ตวั ไมเ่ หมือนเดมิ เชน่ ไม่ต่ืน ซมึ เรียกไม่ค่อยรสู้ ึกตวั มีการเอะอะ โวยวาย ทาตามสงั่ ไมไ่ ด้ 2. แขนขาอ่อนแรง หรอื เดนิ ไมเ่ หมอื นเดิม หรือมีอาการชกั เกร็งกระตกุ ของกล้ามเนอื้ 3. ปวดศีรษะ หรอื มึนศีรษะมากข้นึ กว่าเดิม และไมด่ ีขึ้นหลงั ทานยาแกป้ วดแลว้ 2 ชั่วโมง 4. คล่นื ไส้ อาเจยี น 5. พฤติกรรมเปลีย่ นไป 6. ตาพร่ามัว มองเหน็ ไมช่ ดั หรอื มองเหน็ ภาพซ้อน 7. มเี ลือด หรือของเหลวออกจากรจู มูก หรือรูหู หรอื การได้กลนิ่ หรอื ไดย้ นิ เสยี งผดิ ปกติไป
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: