Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานคอมสมายดุ๊กดุ๋ย

งานคอมสมายดุ๊กดุ๋ย

Published by ทิพย์ชนก อินทนิล, 2021-02-09 11:21:38

Description: งานคอมสมายดุ๊กดุ๋ย

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยกี ารศกึ ษา (Educational Technology) หมายถงึ การประยกุ ตว์ ทิ ยาการตา่ งๆ นาํ มาใชแ้ ลว้ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ต่ี อ้ งการ เกิด ประโยชนท์ างการศกึ ษาการประยกุ ตด์ งั กลา่ วนอี้ าจจะใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ และเทคนคิ วิธี อยา่ ง ใดอยา่ งหนงึ่ หรอื สองสามอยา่ ง นาํ มาใชร้ ว่ มกนั อยา่ งเป็นระบบก็ได้ - ประกอบไปด้วย 5 คาํ หลกั ๆ ด้วยกนั คือ 1.ขอ้ มลู หรอื Data หมายถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื เหตกุ ารณเ์ กี่ยวกบั สง่ิ ตา่ ง ๆ เชน่ คน สถานท่ี สงิ่ ของตา่ ง ๆ ซงึ่ มกี ารเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถนาํ ไปประมวลผลดว้ ยเครอื่ ง คอมพวิ เตอร์ 2.สารสนเทศ หรอื Information คือ การนาํ ขอ้ มลู มาผา่ นระบบการประมวลผล คาํ นวณ วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายเป็นขอ้ ความที่สามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ น ตา่ งๆ ได้

3.ระบบสารสนเทศ หรอื Information System (IS) หมายถงึ ระบบท่ี ประกอบด้วยส่วนตา่ งๆ ไดแ้ กร่ ะบบคอมพวิ เตอรท์ ง้ั ฮารด์ แวร์ ซอฟทแ์ วร์ ระบบ เครอื ข่าย ฐานข้อมลู ผพู้ ฒั นาระบบ ผใู้ ช้ระบบ พนักงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง และ ผู้เช่ยี วชาญในสาขา ทุกองคป์ ระกอบนีท้ าํ งานร่วมกันเพอ่ื กาํ หนด รวบรวม จดั เกบ็ ขอ้ มลู ประมวลผลขอ้ มลู เพ่ือสร้างสารสนเทศ 4.เทคโนโลยสี ารสนเทศ หรอื Information Technology (IT) หมายถงึ การ นาํ เอาเทคโนโลยมี าใช้สร้างมูลค่าเพม่ิ ใหก้ บั สารสนเทศ ทาํ ใหส้ ารสนเทศมี ประโยชน์ และใช้งานไดก้ วา้ งขวางมากขนึ้ 5.เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอื่ สาร หรอื Information Communication Technology (ICT) หมายถงึ เทคโนโลยที เ่ี กย่ี วข้องกบั ขา่ วสาร ข้อมลู และการส่อื สาร นับตั้งแต่การสรา้ ง การ นาํ มาวิเคราะหห์ รือประมวลผล การรบั และส่งขอ้ มลู การจัดเกบ็ และการนาํ ไปใช้งานใหม่

ความสาํ คญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ▪ ชว่ ยเพม่ิ ประสิทธิภาพการทาํ งาน ▪ ช่วยดา้ นการบรกิ าร มกี ารใชร้ ะบบฐานขอ้ มลู ในเครอื ขา่ ย ▪ ช่วยดาํ เนินการในหนว่ ยงาน เป็นการนาํ เทคโนโลยสี ารสนเทศ มา จดั ระบบการทาํ งาน ▪ ช่วยอาํ นวยความสะดวกในชีวิตประจาํ วนั

คุณสมบตั ขิ องเทคโนโลยสี ารสนเทศทดี่ ี ▪ มีความถกู ตอ้ งแมน่ ยาํ (accuracy) ▪ ทนั ตอ่ เวลา (timeliness) ▪ มีความสมบรู ณค์ รอบถว้ น (complete) ▪ มีความสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้ (relevancy) ▪ สามารถพสิ จู นไ์ ด้ (verifiable)

ฮารด์ แวร์ Hardware ฮารด์ แวร์ หมายถงึ สว่ นทีป่ ระกอบเป็นเครอื่ งคอมพิวเตอร์ รวมอปุ กรณ์ ตอ่ พว่ งตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั คอมพิวเตอร์ ทเี่ ราสามารถมองเห็นและสมั ผสั ได้ เชน่ ตวั เครอื่ ง จอภาพ คยี บ์ อรด์ และเมาส์ เป็นตน้ ซอฟทแ์ วร์ Software ซอฟตแ์ วร์ หมายถึงชดุ คาํ ส่งั หรอื โปรแกรมที่ใชส้ ่งั งานให้ คอมพวิ เตอรท์ าํ งาน ซอฟตแ์ วรจ์ งึ หมายถงึ ลาํ ดบั ขนั้ ตอน การทาํ งานทเี่ ขียนขนึ้ ดว้ ยคาํ ส่งั ของคอมพิวเตอร์ คาํ ส่งั เหลา่ นีเ้ รยี งกนั เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอรค์ อมพวิ เตอร์ เครอื่ งหน่งึ ทาํ งานแตกตา่ งกนั ไดม้ ากมายดว้ ยซอฟตแ์ วรท์ ่ี แตกตา่ งกนั ซอฟตแ์ วรจ์ งึ หมายรวมถงึ โปรแกรม คอมพิวเตอรท์ กุ ประเภทท่ีทาํ ใหค้ อมพิวเตอรท์ าํ งานได้



ความสัมพนั ธร์ ะหว่างเทคโนโลยกี ับนวัตกรรม คาํ วา่ นวตั กรรม เป็นคาํ ที่ใชค้ วบคกู่ บั เทคโนโลยี เสมอๆ ในภาษาองั กฤษใชค้ าํ วา่ Innotech ความจรงิ แลว้ นวตั กรรมและเทคโนโลยีนนั้ มคี วามสมั พนั ธก์ นั อยา่ งใกลช้ ิด เนือ่ งจากนวตั กรรมเป็นเรอื่ งของการคดิ คน้ หรอื การกระทาํ ใหม่ ๆเพือ่ ใหเ้ กิดกาเปลย่ี นแปลง ในทางท่ีดขี นึ้ ซงึ่ อาจจะอยใู่ นขนั้ ของการเสนอความคดิ หรอื ในขนั้ ของการทดลองอยกู่ ็ได้ ยงั ไมเ่ ป็นทคี่ นุ้ เคยของสงั คม สว่ นเทคโนโลยนี นั้ มงุ่ ไปที่การนาํ สงิ่ ตา่ ง ๆรวมทงั้ วธิ ีการเขา้ มา ประยกุ ตใ์ ชก้ บั การทาํ งาน หรอื แกป้ ัญหาใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากทส่ี ดุ ถา้ หากพิจารณาวา่ นวตั กรรมหรอื สง่ิ ทเี่ กิดขนึ้ ใหมน่ นี้ า่ จะนาํ มาใช้ การนาํ เอานวตั กรรมเขา้ มาใชน้ ี้ ก็จดั ไดว้ า่ เป็นเทคโนโลยดี ว้ ย และในการใชเ้ ทคโนโลยนี ถี้ า้ เราทาํ ใหเ้ กิดวธิ ีการหรอื สงิ่ ใหม่ ๆ ขนึ้ สง่ิ นนั้ ก็เรยี กวา่ เป็นนวตั กรรม เราจึงมกั เห็นคาํ นวตั กรรมและเทคโนโลยี อยคู่ วบคกู่ นั เสมอ



ขอบข่ายเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ขอบข่ายเทคโนโลยกี ารศึกษา แนวคิดของสมาคมสอ่ื สารและเทคโนโลยกี ารศกึ ษาแหง่ สหรฐั อเมรกิ า (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) ไดแ้ บง่ ขอบขา่ ยเทคโนโลยีการศกึ ษาตาม Seels anตd Richey ไดศ้ กึ ษาไว้ ประกอบดว้ ย 5 ขอบขา่ ยใหญ่และแตล่ ะ ขอบขา่ ยแยกเป็น 4 ขอบขา่ ยยอ่ ย รวมเป็นขอบขา่ ยยอ่ ยทงั้ หมด 20 ขอบขา่ ย ดงั นี้

1. การออกแบบ (design) คือ กระบวนการในการกาํ หนดสภาพของการ เรียนรู้ 1.1การออกแบบระบบการสอน (instructional systems design) 1.2 ออกแบบสาร (message design) 1.1.3 กลยทุ ธก์ ารสอน (instructional strategies) 1.1.4 ลกั ษณะผเู้ รียน (learner characteristics)

2. การพฒั นา (development) 2.1 เทคโนโลยสี งิ่ พิมพ์ (print technologies) 2.2 เทคโนโลยโี สตทศั นปู กรณ์ (audiovisual technologies) 2.3 เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ (computer – based technologies) 2.4 เทคโนโลยีบรู ณาการ (integrated technologies)

3. การใช้ (utilization) 3.1 การใชส้ ่ือ (media utilization) 3.2 การแพรก่ ระจายนวัตกรรม (diffusion of innovations) 3.3 วิธีการนาํ ไปใช้ และการจดั การ (implementation and institutionalization) 3.4 นโยบาย หลกั การและกฎระเบียบขอ้ บังคบั (policies and regulations)

4. การจัดการ (management) 4.1 การจัดการโครงการ (project management) 4.2 การจดั การแหลง่ ทรพั ยากร (resource management) 4.3 การจดั การระบบสง่ ถา่ ย (delivery system management) 4.5 การจดั การสารสนเทศ (information management)

5. การประเมนิ (evaluation) 5.1 การวิเคราะหป์ ัญหา (problem analysis) 5.2 เกณฑก์ ารประเมนิ (criterion – reference measurement) 5.3 การประเมนิ ความก้าวหน้า (formative evaluation) 5.4 การประเมนิ ผลสรุป (summative evaluation)



ประเภทของเทคโนโลยที างการศกึ ษา 1. เคร่อื งมือ (Hardware) ซ่งึ เป็นผลผลติ ท่เี กดิ จากการพฒั นาทางวิทยาศาสตร์ และอตุ สาหกรรม เป็น เคร่อื งมอื ท่จี ะนาํ เสนอเนอื้ หาสาระ หรือเป็นเคร่อื งมือท่ชี ่วย ในการผลติ 2. วสั ดุ (Software) เป็นสว่ นท่เี กบ็ สาระ เนอื้ หาไวใ้ นตวั ของมนั เอง อาจจะ นาํ เสนอโดยตวั ของมนั เองก็ได้ หรือนาํ เสนอผ่านเคร่อื งมอื ก็ได้ 3. วิธีการ เป็นเทคโนโลยีท่มี ีลกั ษณะเป็นนามธรรม ไมเ่ ป็นวตั ถุ แต่เป็นลกั ษณะการเสนอ การกระทาํ อาจใชร้ วม กบั เคร่อื งมอื หรอื วสั ดุ มกั จะอย่ใู นรูปของกิจกรรม จากวตั ถปุ ระสงคด์ งั กลา่ ว ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศกึ ษาจงึ เป็นหนว่ ยท่ที งั้ อาจารย์ ขา้ ราชการและนกั ศกึ ษา รวมทงั้ สว่ นราชการภายนอกและเอกชนในทอ้ งถ่นิ ใชบ้ ริการตลอดมา แตอ่ ย่างไรกต็ ามฝ่ายเทคโนโลยที างการศกึ ษาก็ได้ จดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั กอ่ นหลงั ดงั นี้ 1. บรกิ ารเพ่อื การสอนของอาจารย์ 2. บรกิ ารเพ่อื กิจกรรมของมหาวิทยาลยั 3. บริการเพ่อื การสนบั สนนุ วิชาการของมหาวทิ ยาลยั 4. บรกิ ารเพ่อื การเรยี นของนกั ศกึ ษา 5. บริการเพ่อื สวสั ดิการของบคุ ลากร 6. บริการเพ่อื สว่ นราชการและบคุ คลท่วั ไป

ประโยชนข์ องเทคโนโลยกี ารศึกษา เมอื่ กลา่ วถึงประโยชนข์ องเทคโนโลยีการศกึ ษา สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็นดา้ น ๆ ดงั นี้ 1. ทาํ ใหผ้ เู้ รยี นมโี อกาสใชค้ วามสามารถของตนเองในการเรยี นรูอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี 2. ผเู้ รยี นมโี อกาสตดั สนิ ใจในการเลอื กเรยี นตามชอ่ งทางทเี่ หมาะกบั ความสามารถของตนเอง 3. ทาํ ใหก้ ระบวนการเรยี นรูง้ า่ ยขนึ้ 4. ผเู้ รยี นมอี สิ ระในการเลือก 5. ผเู้ รยี นสามารถเรยี นรูใ้ นทกุ เวลา ทกุ สถานที่ 6. ทาํ ใหก้ ารเรยี นมปี ระสิทธิภาพมากขนึ้ 7. ลดเวลาในการเรยี นรูแ้ ละผเู้ รยี นสามารถเรยี นรูไ้ ดม้ ากกวา่ เดมิ ในเวลาเทา่ กนั 8. ทาํ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรยี นรูไ้ ดท้ งั้ ในแนวกวา้ งและแนวลกึ 9. ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นรูจ้ กั เสาะหาแหลง่ การเรยี นรู้ 10.ฝึกใหผ้ เู้ รยี น คิดเป็นและสามารถแกป้ ัญหาดว้ ยตนเองได้



นวัตกรรมทางการศึกษา คือ นวตั กรรมทางการศกึ ษา” (Educational Innovation) หมายถงึ การนาํ เอาสงิ่ ใหมซ่ งึ่ อาจจะอยใู่ นรูปของความคิดหรอื การกระทาํ รวมทงั้ สง่ิ ประดิษฐก์ ็ตามเขา้ มาใชใ้ นระบบการศกึ ษา เพอื่ มงุ่ หวงั ท่ีจะ เปลย่ี นแปลงสงิ่ ท่มี อี ยเู่ ดิมใหร้ ะบบการจดั การศกึ ษามีประสทิ ธิภาพยิง่ ขนึ้ ทาํ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเกิดการเรยี นรูไ้ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เกิดแรงจงู ใจในการเรยี น และช่วยใหป้ ระหยดั เวลาในการเรยี น เชน่ การสอนโดยใชค้ อมพวิ เตอรช์ ว่ ย สอน การใชว้ ดี ิทศั นเ์ ชิงโตต้ อบ(Interactive Video) สอ่ื หลายมิติ (Hypermedia) และอินเตอรเ์ นต็ เหลา่ นเี้ ป็นตน้



ประเภทของนวตั กรรมทางการศกึ ษา นวัตกรรมทน่ี าํ มาใช้ทั้งทผี่ ่านมาแล้ว และทจ่ี ะมใี นอนาคต มีหลายประเภทขึน้ อยกู่ ับการประยุกตใ์ ช้นวตั กรรมในดา้ นต่างๆ ซงึ่ จะขอแนะนํานวัตกรรมการศกึ ษา 5 ประเภทดงั นี้ 1.นวัตกรรมทางดา้ นหลักสูตร เป็ นการใช้วธิ ีการใหม่ๆในการพัฒนา หลักสูตรใหส้ อดคล้องกับสภาพแวดล้อมในท้องถนิ่ และตอบสนองความ ต้องการสอนบุคคลใหม้ ากขึน้ เนื่องจากหลักสูตรจะตอ้ งมีการ เปล่ยี นแปลงอยูเ่ สมอ เพอื่ ให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยี เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศและของโลก นวัตกรรม ทางด้านหลักสูตรได้แก่ การพฒั นาหลักสูตรบูรณาการ หลักสูตร รายบุคคล หลักสูตรกจิ กรรมและประสบการณ์ และหลักสูตรท้องถนิ่

2. นวัตกรรมการเรียนการสอน เป็ นการใชว้ ธิ ีระบบในการปรับปรุง และคิดคน้ พฒั นาวธิ ีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียน รายบุคคล การสอนแบบผูเ้ รียนเป็ นศูนยก์ ลาง การเรียนแบบมี สว่ นรว่ ม การเรยี นรูแ้ บบแก้ปัญหา การพฒั นาวิธีสอนจาํ เป็ นตอ้ ง อาศัยวธิ ีการและเทคโนโลยใี หมๆ่ เขา้ มาจัดการและสนับสนุนการ เรยี นการสอน 3. นวตั กรรมสือ่ การสอน เนื่องจากมคี วามก้าวหน้าของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอรเ์ ครอื ขา่ ยและเทคโนโลยโี ทรคมนาคม ทาํ ใหน้ ักการศึกษาพยายามนําศกั ยภาพของเทคโนโลยเี หลา่ นีม้ าใช้ใน การผลิตสอื่ การเรียนการสอนใหมๆ่ จาํ นวนมากมาย ทัง้ การเรียนด้วย ตนเอง การเรยี นเป็ นกลุ่ม และการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสือ่ ทใ่ี ช้ เพอ่ื สนับสนุนการฝึ กอบรมผ่านเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์

4. นวัตกรรมทางดา้ นการประเมินผล เป็ นนวตั กรรมทใ่ี ชเ้ ป็ นเครื่องมอื เพ่อื การวดั ผลและประเมินผลได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และทาํ ไดอ้ ยา่ ง รวดเร็ว รวมไปถงึ การวิจยั ทางการศกึ ษา การวิจัยสถาบนั ด้วยการ ประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรม์ าสนับสนุนการวัดผล ประเมนิ ผล ของสถานศึกษา ครู อาจารย์ 5. นวัตกรรมการบริหารจดั การ เป็ นการใชน้ วตั กรรมทเี่ กย่ี วข้องกับการ ใช้สารสนเทศมาช่วยในการบรหิ ารจัดการ เพอื่ การตัดสนิ ใจของ ผู้บรหิ ารการศกึ ษา ให้มคี วามรวดเรว็ ทนั เหตุการณ์ ทันตอ่ การ เปล่ยี นแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาท่ีนํามาใช้ทางดา้ นการบรหิ าร จะเกีย่ วข้องกับระบบการจดั การฐานขอ้ มูลในหน่วยงานสถานศึกษา



เกณฑก์ ารพจิ ารณาวา่ สง่ิ ใดเป็ นนวัตกรรม 4 ประการ คอื 1.นวตั กรรมจะตอ้ งเป็นสิ่งใหมท่ งั้ หมด หรอื บางสว่ นอาจเป็นของเก่าใชไ้ มไ่ ดผ้ ลในอดีต แตน่ าํ มาปรบั ปรุง ใหม่ หรอื เป็นของปัจจบุ นั ที่เรานาํ มาปรบั ปรุงใหด้ ีขนึ้ 2.มีการนาํ วิธีการจดั ระบบมาใช้ โดยพิจารณาองคป์ ระกอบทงั้ สว่ นขอ้ มลู ท่ีนาํ เขา้ ไปในกระบวนการและ ผลลพั ธ์ โดยกาํ หนดขนั้ ตอนการดาํ เนินการใหเ้ หมาะสมกอ่ นทจ่ี ะทาํ การเปลี่ยนแปลง 3.มกี ารพิสจู นด์ ว้ ยการวจิ ยั หรอื อยรู่ ะหวา่ งการวจิ ยั วา่ \"สง่ิ ใหม\"่ นนั้ จะชว่ ยแกป้ ัญหาและการ ดาํ เนินงานบางอยา่ งไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพสงู ขนึ้ กวา่ เดิม 4.ยงั ไมเ่ ป็นสว่ นหนง่ึ ของระบบงานในปัจจบุ นั หาก \"สิ่งใหม\"่ นนั้ ไดร้ บั การเผยแพรแ่ ละยอมรบั จน กลายเป็นสว่ นหนึง่ ของระบบงานท่ีดาํ เนินอยใู่ นขณะนนั้ ไมถ่ ือวา่ สง่ิ ใหมน่ นั้ เป็นนวตั กรรมแตจ่ ะ เปล่ียนสภาพเป็นเทคโนโลยีอยา่ งเต็มที่

ลักษณะของนวัตกรรม 1.นวตั กรรมใหมอ่ ยา่ งสนิ้ เชงิ (Radical Innovation) หมายถึง ขบวนการเสนอสิ่งใหมท่ ใี่ หมอ่ ยา่ งแทจ้ รงิ สสู่ งั คม โดยการเปล่ยี นแปลง คา่ นิยม (value), ความเชอ่ื (belief) เดิม ตลอดจนระบบคณุ คา่ (value system) ของสงั คม อยา่ งสนิ้ เชิง ตวั อยา่ งเชน่ อินเตอรเ์ น็ท (Internet) จดั วา่ เป็นนวตั กรรมหนึง่ ในยคุ โลกขอ้ มลู ขา่ วสาร การนาํ เสนอระบบอนิ เตอรเ์ น็ท ทาํ ใหค้ า่ นิยมเดมิ ทเ่ี ชอ่ื วา่ โลกขอ้ มลู ข่าวสารจาํ กดั อยู่ ในวงเฉพาะทงั้ ในดา้ นเวลาและสถานที่นนั้ เปลีย่ นไป อนิ เตอรเ์ น็ทเปิดโอกาส ใหค้ วามสามารถในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไรข้ ีดจาํ กดั ทงั้ ในดา้ นของ เวลาและระยะทาง การเปลี่ยนแปลงในครงั้ นี้ ทาํ ใหร้ ะบบคณุ คา่ ของขอ้ มลู ขา่ วสาร เปล่ยี นแปลงไป บางคนเชอ่ื วา่ อินเตอรเ์ น็ทจะเขา้ มาแทนทรี่ ะบบการสง่ ขอ้ มลู ขา่ วสารใน ระบบเดิม อยา่ งสนิ้ เชงิ ในไมช่ า้ อาทเิ ชน่ ระบบไปรษณีย

2. นวตั กรรม ทมี่ ลี กั ษณะคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป เป็นขบวนการการคน้ พบ (discover) หรอื คิดคน้ สงิ่ ใหม่ (invent) โดยการประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ ใหม่ (new idea) หรอื ความรูใ้ หม(่ new knowledge) ทมี่ ีลกั ษณะตอ่ เนื่องไมส่ นิ้ สดุ โดยการประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ ใหมห่ รอื ความรูใ้ หมข่ องมนษุ ยแ์ ละการคน้ ควา้ เทคนิค (technique) หรอื เทคโนโลยี (technology) ใหม่ นวตั กรรมทม่ี ลี กั ษณะคอ่ ยเป็นคอ่ ย ไป จงึ มีลกั ษณะของการสะสมการเรยี นรู้ (cumulative learning) อยใู่ นบรบิ ทของสงั คมหน่ึง ใน ปัจจบุ นั สงั คมไดเ้ ปล่ียนแปลงไปอยา่ งมาก เพราะผลของขบวนการโลกาภิวตั น์ ทาํ ใหส้ งั คมมลี กั ษณะไร ขอบเขต (borderless)เป็นสงั คมของชาวโลกท่ีมีความหลากหลายทางดา้ นสงั คมวฒั นธรรมและ การเมอื ง สง่ ผลใหน้ วตั กรรมมแี นวโนม้ ทีจ่ ะเป็นขบวนการคน้ พบใหมอ่ ยา่ งตอ่ เนื่องในระดบั นานาชาติ มากกวา่ ท่ีจะเป็นนวตั กรรมใหมโ่ ดยสนิ้ เชงิ สาํ หรบั สงั คมหนงึ่ ๆ



ความหมายของการปฏริ ูป การปฏริ ูปการศกึ ษาเป็นกระบวนการท่มี ีความหมายลกึ ซงึ้ กวา้ งไกล หากเป็นการเปล่ยี นแปลงตามปกติ วสิ ยั เราก็ไม่เรียกการเปล่ยี นแปลงนนั้ ว่า \"การปฏิรูป\" และในทางกลบั กนั หากการเปล่ยี นแปลงนน้ั เป็นไปดว้ ย ความรุนแรง ใชล้ าํ หกั ลาํ โคน่ กวาดลา้ งทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งท่ขี วางหนา้ เรากเ็ รยี กการเปล่ยี นแปลงนนั้ วา่ \"การปฏวิ ตั \"ิ \"การปฏริ ูป\" จงึ เป็นการเปล่ยี นแปลงท่คี อ่ นขา้ งขนานใหญ่ เป็นการเปล่ยี นทงั้ ระบบ แต่เปล่ยี นอยา่ งเป็นขนั้ เป็น ตอน ทาํ ใหไ้ มเ่ กิดความรุนแรงหรือกระทบในทางเสียหายนอ้ ยท่สี ดุ เป็นวิถีทางของอารยชน เหมาะสมกบั สงั คม ประชาธิปไตยท่ยี ดึ หลกั การเปล่ยี นแปลงโดยปราศจากการใชพ้ ละกาํ ลงั และความรุนแรงคาํ ถามท่จี ะตอ้ งถามใน เบือ้ งตน้ ก็คอื ทาํ ไมจะตอ้ งปฏิรูปการศกึ ษา? และจะปฏิรูปในเร่อื งอะไรกนั ? คาํ ตอบเบือ้ งตน้ ก็คือ ปัญหา ทางการศกึ ษามีมากมายทบั ถมกนั มานาน แกไ้ ม่ไดด้ ว้ ยวธิ ีการปกติ จาํ เป็นตอ้ ง เปล่ยี นระบบและเปล่ยี น วสิ ยั ทศั นข์ องผปู้ ฏบิ ตั แิ ละผนู้ าํ ทางการศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวคดิ ท่ีถกู ตอ้ ง

ปัญหาสาํ คัญในการจัดการศกึ ษา ปัญหาสาํ คัญในการจัดการศึกษาอาจมีหลายประการ แต่ท่ี สาํ คัญ ควรกล่าวถงึ ในอันดบั แรกๆ น่าจะมี ดังนี้ 1.ปัญหาด้านคุณภาพ จดุ บกพรอ่ งอยทู่ ่กี ารสอนท่ไี มเ่ นน้ การคดิ โดยอสิ ระของผเู้ รียน คือสอนในกรอบของความรูท้ ่ีปรากฎตาม ตวั อกั ษรของตาํ รา มไิ ดส้ อนใหเ้ ขา้ ใจถงึ ท่มี าท่ไี ปของสตู รสาํ เร็จเหลา่ นน้ั และหลกั ความจรงิ ท่นี าํ มาเป็นฐานของขอ้ สรุป คาํ ว่า \"คณุ ภาพและมาตรฐาน\" ในแนวดงั ท่กี ลา่ วมานี้ จงึ เป็นคณุ ภาพมาตรฐานแห่งความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ แตก่ ็ยงั มี แนวคดิ ดา้ นคณุ ภาพท่แี ตกต่างออกไปเชน่ กนั

2.ปัญหาความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาเศรษฐกจิ ขาดนกั วิทยาศาสตรแ์ ละนกั เทคโนโลยี ขาดครูวทิ ยาศาสตร์ ครูคณิตศาสตร์ ขาดผลงานวจิ ยั ท่เี ช่ือมโยงกบั ระบบการ ผลติ ภาคอตุ สาหกรรม ระบบการฝึกอบรมดา้ นอาชวี ศกึ ษาและวิชาชพี ชน้ั สงู ขาดความเช่ือมโยงกบั ตลาดแรงงานและภาคปฏิบตั ิ จาํ เป็นตอ้ งปรบั ทงั้ ระบบเพ่ือใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง จะตอ้ งวางแผนการจดั อดุ มศกึ ษาหรือการศกึ ษาระดบั หลงั ขนั้ การศกึ ษา พนื้ ฐานใหเ้ ป็นระบบท่เี ช่ือมโยงกบั ภาคธรุ กิจ อตุ สาหกรรม และเกษตรกรรม และตอ้ งสง่ เสริมการวจิ ยั และการพฒั นาดา้ น วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี หเ้ ช่ือมโยงกบั ภาคเศรษฐกจิ ดว้ ย 3.ปัญหาของการกระจายโอกาสและความเสมอภาคของโอกาสทางการศกึ ษา ประเด็นเร่ืองนเี้ ป็นประเดน็ ดา้ นความชอบธรรมทางสงั คมท่กี ลไกของระบบกากรเศรษฐกจิ แบบเสรี มกั จะมแี นวโนม้ ชว่ ย ใหผ้ เู้ ขม้ แขง็ ไดเ้ ปรียบผทู้ ่อี อ่ นแอกวา่ ช่วยใหค้ นท่มี ฐี านะดที างเศรษฐกิจและสงั คมไดเ้ ปรียบดา้ นกิจการการศกึ ษา และดา้ น อ่นื ๆ มากกวา่ ผยู้ ากไรแ้ ละขาดปัจจยั ดา้ นการเงนิ แต่สงั คมท่มี ีความม่งั ค่งั ไปกระจกุ ตวั ท่คี นบางกลมุ่ และก่อใหเ้ กดิ ชอ่ งวา่ งระหวา่ ง คนรวยคนจนมากเกินไป มกั จะเป็นสงั คมท่ขี าดเสถียรภาพทางดา้ นการเมอื ง ขาดพนื้ ฐานของสามคั คธี รรม และจะนาํ ไปสกู่ าร แตกแยกและความระส่าํ ระสายในท่สี ดุ 4. ปัญหาของประสิทธิภาพของระบบและกระบวนการจดั การบริหารการศึกษา ประสทิ ธิภาพของระบบการบรหิ ารจดั การเป็นประเด็นปัญหาท่ที บั ถมมานาน หากระบบการบรหิ ารการจดั การมี ประสทิ ธิภาพ ปัญหาอ่นื ๆ ดงั ท่กี ลา่ วมาแลว้ กค็ งไดร้ บั การแกไ้ ขในระดบั หน่งึ แตเ่ พราะระบบการบรหิ ารการจดั การมีปัญหา หมกั หมมมานานปี ก็จาํ เป็นตอ้ งสงั คายนากนั ทงั้ ระบบ

5.ปัญหาของการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ปัญหาของขอ้ นมี้ ิไดม้ ีลกั ษณะเดยี วกบั ขอ้ อ่นื ๆ แต่เป็นประเด็นของการใชโ้ อกาสใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ทาง การศกึ ษาแกป่ ระชาชน ในบริบทของสงั คมข่าวสาร และการปฏิวตั ดิ า้ นเทคโนโลยีของการสอ่ื สาร ควรจะปรบั ระบบตรงนใี้ ห้ เกดิ ระบบการศกึ ษาตลอดชวี ิตได้ และประกอบกบั ความจาํ เป็นของสงั คมแบบใหมท่ ่จี ะตอ้ งเผชิญกบั วิกฤติการณท์ าง เศรษฐกจิ และสงั คมในอนาคตจาํ เป็นตอ้ งใช้ การศกึ ษาเป็นเคร่อื งมือปรบั ความสามารถและทกั ษะของมนษุ ยใ์ หส้ ามารถ เผชิญกบั ปัญหาใหม่ๆ และแกไ้ ขปัญหาใหมๆ่ ได้ เชน่ ปัญหาของวกิ ฤติการณก์ ารเงนิ การคลงั การเศรษฐกจิ ในปัจจบุ นั และผลกระทบ โดยเฉพาะดา้ นอาชีพการงาน เป็นตน้ ประเด็นของการปรบั ระบบใหเ้ กิดการศกึ ษาตลอดชวี ิต จงึ เป็น ประเดน็ หลกั ของการปฏิรูปการศกึ ษา 6. ปัญหาของการระดมสรรพกาํ ลงั เพอื่ การศกึ ษา ปัญหานสี้ มั พนั ธก์ บั การศกึ ษาตลอดชีวิต หากจะใหเ้ กดิ การศกึ ษาตลอดชีวติ ไดก้ จ็ าํ เป็นท่ที กุ ๆ สว่ นของ สงั คมตอ้ งตระหนกั ในภาระหนา้ ท่ที างการศกึ ษาของตน ตงั้ แต่สถาบนั ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รวิชาชีพ องคก์ รการกศุ ล สถาบนั ศาสนา สาํ นกั งาน บรษิ ัทหา้ งรา้ นและเอกชน ส่อื สารมวลชน สถาบนั การเมือง ทกุ ๆ สว่ นในสงั คมลว้ นแลว้ แตเ่ ป็น ทรพั ยากรทางการศกึ ษา สามารถมีสว่ นรว่ มไดท้ งั้ นนั้ ไมใ่ ชเ่ ฉพาะดา้ นการจ่ายภาษีอากร ประเดน็ คือ จะจดั ระบบเพ่อื ใช้ ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรในสงั คมอย่างไร และจะสรา้ งความตระหนกั ใหแ้ กส่ ถาบนั ตา่ งๆ ทางเศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา และ การเมอื งอยา่ งไร ใหม้ าเลน่ บทบาทของการจดั การศกึ ษาในลกั ษณะใดลกั ษณะหนง่ึ เช่น กาํ หนดใหพ้ รรคการเมืองจดั สรร เงินสว่ นหน่งึ เพ่อื ใหก้ ารศกึ ษาแก่ประชาชน เป็นตน้ โดยสรุป ปัญหาดงั กลา่ วมานเี้ ป็นปัญหาหลกั ในเชงิ ระบบ แต่ยงั มีปัญหาอ่นื ๆ อีกมากมายท่เี ก่ยี วขอ้ งกนั เช่น ปัญหาการฝึกอบรมครู การพฒั นาครู และการปฏบิ ตั ิงานของครู ซ่งึ เก่ยี วขอ้ งกบั ปัญหาคณุ ภาพการศกึ ษา ปัญหาการศกึ ษาของเอกชน ซง่ึ เก่ยี วขอ้ งกบั ระบบการบริหารและการระดมสรรพ กาํ ลงั จากภาคเอกชน ปัญหาการศกึ ษาของสงฆ์ ซง่ึ เก่ยี วขอ้ งกบั การศกึ ษานอกระบบ เป็นตน้

ทักษะในศตวรรษที่ 21 ความทา้ ทายดา้ นการศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 ในการเตรียมนักเรยี นใหพ้ รอ้ มกับ ชีวิตในศตวรรษที่ 21 เป็ นเรื่องสาํ คัญของกระแสการปรับเปล่ยี นทางสังคมทเ่ี กิดขึน้ ในศตวรรษที่ 21ส่งผลต่อวถิ กี ารดาํ รงชีพของสังคมอยา่ งท่วั ถึง ครูจึงต้องมีความ ตื่นตวั และเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพ่อื เตรยี มความพร้อมให้นักเรยี นมี ทกั ษะสาํ หรบั การออกไปดาํ รงชีวติ ในโลกในศตวรรษที่ 21 ทเี่ ปล่ียนไปจากศตวรรษ ท่ี 20 และ 19 โดยทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ทส่ี าํ คัญทสี่ ุด คอื ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Skill) สง่ ผลใหม้ กี ารเปล่ียนแปลงการจดั การเรยี นรู้เพ่ือใหเ้ ด็กใน ศตวรรษท่ี 21 นี้ มคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะจาํ เป็ น ซึ่งเป็ นผลจากการ ปฏิรูปเปลีย่ นแปลงรูปแบบการจัดการเรยี นการสอน ตลอดจนการเตรียมความ พรอ้ มด้านต่างๆ

ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 • ความรูเ้ ก่ยี วกบั การเงนิ เศรษฐศาสตร์ ธุรกจิ และการเป็น ผปู้ ระกอบการ • ความรูเ้ ก่ยี วกบั โลก (Financial, Economics, (Global Awareness) Business and Literacy) • ความรูด้ า้ นการเป็นพลเมืองท่ีดี Entrepreneurial (Civic Literacy) • ความรูด้ า้ นสขุ ภาพ • ความรูด้ า้ นสง่ิ แวดลอ้ ม (Health Literacy) (Environmental Literacy)

ทักษะด้านการเรยี นรู้และนวตั กรรม จะเป็นตวั กาํ หนดความพรอ้ มของนกั เรยี นเขา้ สโู่ ลกการ ทาํ งานท่ีมีความซบั ซอ้ นมากขนึ้ ในปัจจบุ นั ไดแ้ ก่ ความรเิ ริม่ สรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและ การแกป้ ัญหา การสื่อสารและการรว่ มมอื ทักษะด้านสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี เน่ืองดว้ ยในปัจจบุ นั มีการเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารผ่าน ทางสอื่ และเทคโนโลยีมากมาย ผเู้ รยี นจงึ ตอ้ งมีความสามารถในการแสดงทกั ษะการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและ ปฏิบตั ิงานไดห้ ลากหลาย โดยอาศยั ความรูใ้ นหลายดา้ น ดงั นี้ • ความรูด้ า้ นสารสนเทศ • ความรูเ้ ก่ียวกบั สื่อ • ความรูด้ า้ นเทคโนโลย ทกั ษะดา้ นชีวิตและอาชีพ ในการดาํ รงชีวติ และทาํ งานในยคุ ปัจจบุ นั ใหป้ ระสบความสาํ เร็จ นกั เรียน จะตอ้ งพฒั นาทกั ษะชีวติ ท่ีสาํ คญั ดงั ตอ่ ไปนี้ • ความยืดหยนุ่ และการปรบั ตวั • การริเร่มิ สรา้ งสรรคแ์ ละเป็นตวั ของตวั เอง • ทกั ษะสงั คมและสงั คมขา้ มวฒั นธรรม • การเป็นผสู้ รา้ งหรือผผู้ ลติ (Productivity) และความรบั ผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) • ภาวะผนู้ าํ และความรบั ผิดชอบ (Responsibility)



เทคโนโลยใี นปัจจุบันมีวิวฒั นาการเปลีย่ นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ ทาํ ให้มวี สั ดุอุปกรณ์ และเ ทคนิควิธีการใหม่ๆ เพอ่ื นนไมาใช้ประโยชน์ ได้อยา่ งไม่มขี ดี จาํ กดั ในทุกวงการ เชน่ เดียวกบั วงการศึกษาทน่ี ํา เทคโนโลยเี หลา่ นี้มาใช้เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพประสทิ ธิผลการเรยี นการ สอนและการบรหิ ารจัดการรวมถงึ ในการกาํ หนดแนวโน้มของการใช้ เทคโนโลยเี พอ่ื ความเปลยี่ นแปลงในอนาคตว่าควรมกี ารปรบั ปรุงปลยี่ น แปลงอยา่ งไรบ้างเพื่อใหม้ กี ารใช้เทคโนโลยอี ยา่ งไดผ้ ลนักเทคโนโลยี การศกึ ษาจงึ ควรทราบถงึ พฒั นาการของเทคโนโลยแี ละแนวโน้มใน อนาคตในการเรียนการสอน ดังนี้

- พฒั นาการของเทคโนโลยแี ละการเรยี นการสอน - การบรรจบกนั ของเทคโนโลยีและสื่อการสอน - การบรรจบกนั ของเทคโนโลยีและสอ่ื การสอน - -พฒั นาการของอีเลริ น์ นิง : Learning Object - Grid Computing- - ความเป็นจรงิ เสมือนและสภาพแวดลอ้ มเชงิ เสมือน- - การรูจ้ กั คาํ พดู และการสอ่ื สาร - ปัญญาประดษิ ฐ์ในการเรยี นการสอน - บทสรุป : วงการศกึ ษาและความเปล่ยี นแปลงในอนาคต - คอมพวิ เตอร์ : อปุ กรณห์ ลกั ในการเรยี นการสอน - ไอซีทแี ละการบรู ณาการการเรยี นการสอน - การเรยี นในสภาพแวดลอ้ มการเรยี นรูเ้ ชิงเสมือน - การเปลย่ี นบทบาทของผสู้ อนและผเู้ รยี น



แหล่งอา้ งองิ ขอ้ มูล - http://elearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdf - https://sites.google.com/site/educationtechnology56/thekhnoloyi-kar- suksa/khwam-samphanth-rahwang-thekhnoloyi-kab-nwatkrrm - https://mintchompoonuch.wordpress.com/ - https://supapon52.wordpress.com/ - http://kob1991041.blogspot.com/2012/02/blog-post_3262.html - https://sites.google.com/site/sghurhoaiykghphgp/extra-credit - https://sites.google.com/site/khunchayyoch/2 - https://innovationforkm.weebly.com/ - https://www.kroobannok.com/24213 - http://sv-sw.esdc.go.th/home/thaksa-ni-stwrrs-thi-21 - http://www.alsedu.ajarn- thidarat.com/files/downloads/567_1391933441.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook