Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore InflationDeflation

InflationDeflation

Published by Wanida Srituam., 2019-01-28 20:45:41

Description: InflationDeflation

Search

Read the Text Version

ภาวะ เงนิ เฟ้ อ/เงนิ ฝืด

คำนำ รำยงำนเลม่ น้ีจดั ทำข้นึ เพอ่ื เป็นสว่ นหน่งึ ของวชิ ำคอมพวิ เตอรแ์ ละวชิ ำเศรษฐศำสตร์ เพอ่ื ใหไ้ ดศ้ ึกษำหำควำมรูใ้ นเร่ืองภำวะเงนิ เฟ้อ/เงนิ ฝืดและไดศ้ ึกษำอย่ำงเขำ้ ใจเพอ่ื เป็น ประโยชนก์ บั กำรเรยี น ผูจ้ ดั ทำหวงั วำ่ รำยงำนเลม่ น้จี ะเป็นประโยชนก์ บั ผูอ้ ่ำน หรอื นกั เรยี น นกั ศึกษำ ทก่ี ำลงั หำขอ้ มลู เร่อื งน้อี ยู่หำกมขี อ้ แนะนำหรอื ขอ้ ผดิ พลำดประกำร ใด ผูจ้ ดั ทำขอนอ้ มรบั ไวแ้ ละขออภยั มำ ณ ทน่ี ้ดี ว้ ย กลมุ่ นางฟ้ า

สำรบญั หนา้ คำนำ ก สำรบญั ภำวะเงนิ เฟอ้ ข 1.1 ลกั ษณะของภำวะเงนิ เฟอ้ 1.2 สำเหตขุ องภำวะเงนิ เฟอ้ 1 1.3 ผลกระทบ 1.4 วิธีกำรแก้ไขปัญหำ 2 ภำวะเงนิ ฝืด 1.1 สำเหตขุ องภำวะเงินฝืด 3 1.2 ผลกระทบ 1.3 วิธีกำรแก้ไขปัญหำ 4 5 6 7 8 9

ภาวะเงนิ เฟ้ อ เงนิ เฟ้อ (Inflation) หมำยถงึ ภำวะทร่ี ะดบั รำคำสนิ คำ้ สูงข้นึ เร่อื ยๆ (rising prices) กำรทส่ี นิ คำ้ มรี ะดบั รำคำสูง (high prices) ไมถ่ อื วำ่ เป็นเงนิ เฟ้อ รำคำจำเป็นตอ้ งสูงข้นึ เร่อื ยๆ จงึ จะเป็นเงนิ เฟ้อ ปจั จยั ทส่ี ำคญั ทช่ี ้แี จงใหท้ รำบวำ่ มภี ำวะเงนิ เฟ้อ คอื เวลำ ไมจ่ ำเป็นวำ่ รำคำสนิ คำ้ ทกุ ชนิดตอ้ งมรี ำคำสูงข้นึ ในเวลำทเ่ี กดิ ภำวะเงนิ เฟ้อ อำจเป็นได้ วำ่ สนิ คำ้ บำงชนิดมรี ำคำลดลง และสนิ คำ้ บำงชนดิ มรี ำคำสูงข้นึ สง่ิ สำคญั คอื ว่ำ เมอ่ื รวมรำคำ ทงั้ หมดโดยเฉลย่ี แลว้ สูงข้นึ สง่ิ ทใ่ี ชว้ ดั กำรเปลย่ี นแปลงของระดบั รำคำ คอื ดชั นีรำคำ (Price Index) กำรทร่ี ำคำสนิ คำ้ สูงข้นึ อย่ำงต่อเน่อื ง ทำใหม้ ลู ค่ำของเงนิ ลดลง แต่กำรเพม่ิ ข้นึ ของ สนิ คำ้ หมำยถงึ สนิ คำ้ ทง้ั หมดในระบบเศรษฐกจิ แต่ถำ้ เพม่ิ ข้นึ เพยี งอย่ำงเดยี วหรอื สองถงึ สำม อย่ำง กไ็ มถ่ อื วำ่ เป็นภำวะเงนิ เฟ้อ ภาวะท่ขี องแพงข้ึน ค่าเงนิ ลดลง ประชาชนมีเงนิ ในมือมาก

ลกั ษณะภาวะเงนิ เฟ้ อแบ่งเป็น 3 ประเภทคอื 1. เงนิ เฟ้ออย่ำงอ่อน (Creeping or Gradual or Mild Inflation) อตั รำเงนิ เฟ้อท่ี เกดิ ข้นึ ไมเ่ กินรอ้ ยละ 5 ต่อปี เงนิ เฟ้อประเภทน้ี จะสำมำรถสงั เกตไดว้ ่ำระดบั รำคำของสนิ คำ้ จะค่อยๆ เพม่ิ ข้นึ อย่ำงชำ้ ๆ แต่ก็เป็นอนั ตรำยและสำมำรถสรำ้ งปญั หำใหก้ บั ประเทศอตุ สำหกรรมไดเ้ช่นกนั นกั เศรษฐศำสตรม์ องว่ำ เงนิ เฟ้อประเภทน้ี อำจใหป้ ระโยชนแ์ ก่เศรษฐกิจในดำ้ นของกำรเพม่ิ สูงข้นึ ของรำคำ จะช่วยกระตนุ้ กำรบรโิ ภคของประชำกร อตั รำกำรลงทนุ สูงข้นึ ดงั นน้ั รำยไดจ้ ะสูงข้นึ แต่ถำ้ กลบั มองในอกี แงห่ น่ึง ถำ้ เรำกำจดั เงนิ เฟ้อประเภทน้ี อำจก่อใหเ้กิดกำรวำ่ งงำนมำกข้นึ 2. เงนิ เฟ้อปำนกลำง (Moderate Inflation) คอื อตั รำเงนิ เฟ้อทเ่ี กดิ ข้นึ เกนิ รอ้ ยละ 5 แต่ไม่ เกนิ รอ้ นละ 20 ต่อปี ประชำชนจะเกิดควำมเดอื ดรอ้ นเน่อื งจำกสนิ คำ้ มรี ำคำแพง ไม่สำมำรถปรบั รำยไดใ้ ห้ สูงข้นึ ตำมรำคำของสนิ คำ้ ทแ่ี พงข้นึ ไดท้ นั ในภำวะเช่นน้ีคนงำนจะเรยี กรอ้ งค่ำจำ้ งใหส้ ูงข้นึ วตั ถทุ ใ่ี ชใ้ นกำร ผลติ รำคำกจ็ ะสูงข้นึ เมอ่ื ตน้ ทนุ สูง ระดบั รำคำก็ตอ้ งสูงตำมไปดว้ ย 3. เงนิ เฟ้ออย่ำงรุนแรง (Hyper Inflation or Galloping Inflation) คอื อตั รำเงนิ เฟ้อทเ่ี กดิ ข้นึ มำกกวำ่ รอ้ ยละ 20 ภำยใน 1 เดอื น เป็นภำวะทข่ี ำ้ วยำกหมำกแพง รำคำของสนิ คำ้ แพงข้นึ มำก จนผูม้ สี นิ คำ้ ไม่อยำกจะเอำออกมำขำย ค่ำของเงนิ ลดตำ่ ลง และในทส่ี ุดกจ็ ะหมดอำนำจในกำรแลกเปลย่ี น ตอ้ งใชท้ องคำซง่ึ รำคำค่อนขำ้ งแน่นอนทำกำรแลกเปลย่ี น ภำวะเช่นน้ีจะเกิดข้นึ เมอ่ื ประเทศอยู่ในภำวะ สงครำม หลงั สงครำม หรอื เกิดจลำจล เป็นตน้

1. เงนิ เฟ้อทเ่ี กดิ จำกอปุ สงค์ (Demand Inflation) เป็นลกั ษณะเงนิ เฟ้อทเ่ี กิดจำกกำรขยำยตวั ของอปุ สงคอ์ ย่ำงรวดเรว็ จนเกนิ กวำ่ อปุ ทำนจะสนองตอบได้ ทง้ั น้ีอำจสบื เน่ืองมำจำกนโยบำยกำรเงนิ ทท่ี ำ ใหป้ รมิ ำณเงนิ ในระบบเศรษฐกิจมมี ำกเกนิ กว่ำปรมิ ำณสนิ คำ้ และบรกิ ำรทม่ี อี ยู่ จนทำใหร้ ำคำสนิ คำ้ และ บรกิ ำรสูงข้นึ สำเหตขุ องเงนิ เฟ้อทเ่ี กิดจำกอปุ สงค์ มดี งั น้ีคอื กำรเพม่ิ ข้นึ ของปรมิ ำณเงนิ กำรเพม่ิ ข้นึ ของค่ำใชจ้ ่ำย กำรเพม่ิ ข้นึ ของค่ำจำ้ งแรงงำน กำรไดเ้ปรยี บของดุลกำรชำระเงนิ 2. เงนิ เฟ้อทเ่ี กิดจำกอปุ ทำน (Supply Inflation) เป็นลกั ษณะของเงนิ เฟ้อทเ่ี กดิ จำกทำงดำ้ น ตน้ ทนุ กำรผลติ ทส่ี ูงข้นึ จนมผี ลใหร้ ำคำสนิ คำ้ สูงข้นึ ตน้ ทนุ ทส่ี ำคญั คือ ค่ำแรงงำน รำคำนำ้ มนั ฯลฯ นอกจำกนน้ั กำรเพม่ิ กำไรของผูป้ ระกอบกำรก็เป็นสำเหตสุ ำคญั ทท่ี ำใหเ้กดิ เงนิ เฟ้อ ดงั จะไดก้ ลำ่ วต่อไปถงึ สำเหตทุ ำงดำ้ นอปุ ทำน ดงั น้ีคือ กำรเพม่ิ ข้นึ ของตน้ ทนุ กำรผลติ กำรลดลงของปรมิ ำณสนิ คำ้ และบรกิ ำร กำรเพม่ิ กำไรของผูป้ ระกอบกำร 3. เงนิ เฟ้อทเ่ี กิดจำกอปุ สงคแ์ ละอปุ ทำนรวมกนั (Mixed Inflation) เป็นลกั ษณะของเงนิ เฟ้อ ทม่ี สี ำเหตจุ ำกทง้ั ทำงดำ้ นอปุ สงคแ์ ละอปุ ทำนพรอ้ มกนั เพรำะในสภำพทเ่ี ป็นจรงิ นน้ั บำงครงั้ ไม่สำมำรถ แยกสำเหตขุ องกำรเกิดเงนิ เฟ้อออกใหช้ ดั แจง้ ไดว้ ่ำเป็นสำเหตจุ ำกอปุ สงคห์ รอื อปุ ทำน ซง่ึ สำเหตจุ ำก ทำงดำ้ นอปุ สงคอ์ ำจเกดิ จำกควำมตอ้ งกำรในสนิ คำ้ และบรกิ ำรสูงข้นึ จงึ มผี ลทำใหร้ ำคำสนิ คำ้ และบรกิ ำร สูงข้นึ และในขณะเดยี วกนั กม็ กี ำรเรยี กรอ้ งค่ำจำ้ งแรงงำนใหส้ ูงข้นึ มผี ลใหต้ น้ ทนุ สนิ คำ้ และบรกิ ำรสูงข้นึ และรำคำสนิ คำ้ และบรกิ ำรสูงข้นึ ตำมไปดว้ ย ซง่ึ เป็นสำเหตทุ ำงดำ้ นอปุ ทำน ดงั นนั้ เงนิ เฟ้อในลกั ษณะน้ี จงึ เป็นเงนิ เฟ้อแบบผสม

1. รำยไดท้ แ่ี ทจ้ รงิ หรอื อำนำจซ้อื เปลย่ี นแปลงไป 2. กำรออมลดลง 3. ผลกระทบต่อดุลกำรคำ้ และดุลกำรชำระเงนิ 4. ผลกระทบต่อกำรใหเ้ครดติ ทำงกำรคำ้ 5. ผลกระทบต่อฐำนะกำรเงนิ ของรฐั บำล

วธิ ีการแกไ้ ขภาวะเงนิ เฟ้ อ มดี งั น้ี นโยบำยกำรเงนิ แบบหดตวั 1.1 เพม่ิ อตั รำดอกเบ้ยี 1.2 เพม่ิ อตั รำเงนิ สดสำรองกฎหมำย 1.3 เพม่ิ อตั รำซ้อื ลด 1.4 ขำยพนั ธบตั รรฐั บำลมำกและซ้อื พนั ธบตั รรฐั บำลคืนนอ้ ย นโยบำยกำรคลงั แบบหดตวั 2.1 เกบ็ ภำษมี ำก 2.2 ใชง้ บประมำณแผ่นดนิ แบบเกินดุล

ภาวะเงนิ ฝืด ภำวะเงนิ ฝืด (Deflation) เป็นทภ่ี ำวะทต่ี รงกนั ขำ้ มกบั ภำวะเงนิ เฟ้อคอื “เป็นภำวะทร่ี ะดบั รำคำสนิ คำ้ และบรกิ ำรลดลงเรอ่ื ยๆ เป็นเวลำนำน” ซง่ึ อำจจะ เกดิ จำกสำเหตหุ ลำยประกำร เช่นเกิดจำกกำรระดมเงนิ ทนุ เกดิ จำกกำรทร่ี ฐั บำล กูย้ มื เงนิ จำกเอกชน เกดิ จำกกำรลดจำนวนธนบตั ร เป็นตน้ ในภำวะทต่ี ลำดซบ เซำทำใหผ้ ูป้ ระกอบกำรต่ำงๆ ตอ้ งกำรเงนิ เพอ่ื มำหมนุ เวยี นในกจิ กำร ทำใหต้ อ้ ง หำทำงเพอ่ื เปลย่ี นสนิ คำ้ ใหเ้ป็นเงนิ ซง่ึ ตอ้ งลดรำคำสนิ คำ้ เพอ่ื จูงใจผูซ้ ้อื มที ง้ั ลด แลก แจก แถม ภาวะท่ขี องถกู คา่ เงนิ เพ่มิ ข้ึน ประชาชนมีเงนิ ในมอื นอ้ ย

1. ความผดิ พลาดในการดาเนินนโยบายการเงินและการคลงั ของรัฐบาล เช่น ข้ึน อตั ราดอกเบ้ียในตลาดการเงินสูงเกินจนสถาบนั การเงินประสบปัญหา เร่ือง ใหส้ ินเช่ือเงินกแู้ ก่ลูกคา้ หรือมีการจดั เกบ็ ภาษีทางตรงสูงมากจนประชาชน เหลือเงินใชจ้ ่ายนอ้ ยเกินไป ทาใหอ้ ุปสงคแ์ ละอุปทานไม่สมดุลกนั นอกจากน้ีอาจเกิดจากรัฐบาลจดั พิมพธ์ นบตั รออกหมุนเวยี นใชไ้ ม่เพียงพอ กบั ความจาเป็นของภาวะเศรษฐกิจขณะน้นั กไ็ ด้ 2. เกิดจากการลดลงของอตั ราแลกเปล่ียน หรือมาตรการปรับลดภาษีของรัฐบาล จนปริมาณเงินหมุนเวยี นมีไม่เพียงพอต่อขนาดของระบบเศรษฐกิจ หรือ ประชาชนไม่ออมเงินในระบบการเงิน แต่หนั ไปออมแบบอ่ืน เช่น เกบ็ ตุนไว้ ในตูเ้ ซฟ จนทาใหเ้ งินออมในระบบลดลง 3. มีการส่งเงินทุนออกนอกประเทศมากเกินไป ท้งั ถูกตอ้ งตามกฎหมายและผดิ กฎหมายในระยะเวลานานติดต่อกนั จึงเป็นเหตุใหเ้ งินทนุ ลดนอ้ ย ภาวะ ดอกเบ้ียจึงสูงข้ึนi

ผลกระทบของภาวะเงนิ ฝืด 1. ภาวะเงินฝืดทาใหเ้ งินมีอานาจซ้ือเพ่ิมข้ึน ผทู้ ่ีไดร้ ับประโยชนอ์ ยา่ งมากกค็ ือ ผมู้ ีรายไดป้ ระจาและเจา้ หน้ี ส่วนผทู้ ี่เสียประโยชน์กค็ ือ ผมู้ ีรายไดจ้ ากการหา เชา้ กินคา่ จากการหากาไรและลูกหน้ี 2. การลงทุน การผลิตลดลงเกิดปัญหาการวา่ งงานทาใหป้ ระชาชนขาดรายได้ อานาจซ้ือต่าลง สินคา้ ตกคา้ งอยใู่ นคลงั จานวนมาก กาไรธุรกิจลดนอ้ ยหรือ เกิดภาวการณ์ขาดทุนอยา่ งรุนแรง สภาพเศรษฐกิจของประเทศตกต่า เงินฝืด มกั จะเป็นผลพวงมาจากภาวะฟองสบู่แตกทาใหเ้ กิดปัญหาเกิดหน้ีเสียและ ความเช่ือมนั่ ต่อการลงทุนลดนอ้ ย ทุกภาคการเงินระมดั ระวงั ตวั เองในการ ปล่อยสินเชื่อ ภาคธุรกิจไม่สามารถหาเงินมาหมุน เวียนจนตอ้ งปิ ดตวั ลง ประชาชนจึงวา่ งงานส่งผลกระทบกนั เป็นลูกโซ่ท้งั ระบบ

วธิ ีการแกไ้ ขภาวะเงนิ ฝืด 1. ลดอตั ราดอกเบ้ีย 2. ลดอตั ราการซ้ือ (โดยเฉพาะในกลุ่มคนมีเงิน) 3. ลดอตั ราเงินสดสารองกฎหมาย 4. ห น้ า | 12ขายพนั ธบตั รรัฐบาลแต่นอ้ ยและซ้ือพนั ธบตั รรัฐบาลคืนมา ใหม้ าก 5. เกบ็ ภาษีนอ้ ยๆ(อาจตอ้ งพจิ ารณาอีกที เพือ่ ไม่ใหเ้ กิดผลเสียต่อรายไดข้ อง รัฐไปอีก) 6.ใชง้ บประมาณแผน่ ดินแบบขาดดุล 7. จะเห็นวา่ ภาวะเงินฝื ดส่งผลกระทบมาก ดงั น้นั รัฐบาลจึงตอ้ งระมดั ระวงั ไม่ใหเ้ กิดปัญหาน้ี!! หรือเตรียมมาตรการแกไ้ ขอยา่ งเร่งด่วน เพอื่ จดั การ ปัญหาท่ีเกิดข้ึนใหห้ มดไปอยา่ งรวดเร็วและไม่ส่งผลกระทบมากเกินไป นน่ั เอง i


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook