ท บทที่ 8
การแนะแนวและให้คำปรึกษา ความหมายของการแนะแนวการศึกษา การแนะแนวการศึกษา คือ เป็นกระบวนการหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาความ สามารถ และความถนั ดของแต่ละบุคคล เช่น ช่วยให้นั กเรียนรู้จักวิธีการเรียน การศึกษาค้นคว้า ความรู้เพิ่มเติม รู้จักเลือกวิชาเรียนให้สอดคล้องกับความสามารถ ช่วยให้สามารถวางแผนด้านการศึ กษาต่อในอนาคตได้
จุดมุ่งหมายของการจัดการบริการแนะแนว คือ ทำให้บุคคลพัฒนาด้วยตัวเองอย่างดีที่สุดทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์สังคมและจิตใจ และช่วยให้บุคคลช่วยเหลือตัวเองได้ในทุกเรื่อง เรียนรู้ที่จะดำรงอยู่อย่างมีความสุข
วัตถุประสงค์การแนะแนว 1.เพื่อช่วยให้นักศึกษาได้รับข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการเรียนและสามารถเข้าใจคุณสมบัติของ บุคคลที่จะศึกษาต่อ 2. เพื่อช่วยให้นักศึกษาสามารถปรับตนเองไห้เข้ากับการเรียนในแต่ละสาขาวิชา และวางแผน ทางการศึกษาได้อย่างเหมาะสม 3.เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านของนักศึกษาทั้งทางร่างกาย สติปัญญาอารมณ์ และสังคม 4.เพื่อสร้างเสริมและแก้ไขพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของนั กศึกษา ให้เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง ที่ดี 5.เพื่อช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาให้รู้สมรรถภาพของตนเอง มองเห็นคุณค่าความสำคัญของตนเอง มองเห็นชีวิตในอนาคต
ประเภทของการแนะแนว แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1.1) แนะแนวทางการศึกษา เป็นกระบวนการของการให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทางด้านการ ศึกษา ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเลือกแนวทางการศึกษาได้อย่างเหมาะสมกับความสามารถทาง สติปัญญา ความถนัด ความสนใจ
1.2) แนะแนวทางอาชีพ เป็นกระบวนการของการให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโลกของงาน อาชีพ จะช่วยให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาโลกของงานอาชีพ รู้จักเตรียมตัวทางด้านอาชีพ และช่วยให้ผู้ เรียนหรือผู้รับบริการเลือกงานอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง
1.3) การแนะแนวทางด้านสังคมส่วนตัว เป็นกระบวนการของการให้ความช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จัก ปฏิบัติตนที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถดำเนิ นชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ความหมายของการให้การปรึกษา เป็นกระบวนการที่ผู้ให้การปรึกษาใช้ทักษะต่างๆ เพื่อช่วยเหลือและเอืออํานวยให้ผู้รับการปรึกษา สํารวจและทําความเข้าใจปัญหาสาเหตุของปัญหาและความต้องการของตน ตลอดจนสามารถหาวิธี แก้ไขปัญหาเหล่านั นด้วยตนเอง
บทบาทหน้าที่ของผู้ให้คำปรึกษา 1. ทำหน้าที่ให้บริการ ในการปฏิบัติงานของผู้ให้คำปรึกษา 2. ทำหน้าที่ผู้ไกล่เกลี่ย ผู้ให้คำปรึกษาจะต้องแสดงบทบาทเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยให้เกิดความ สัมพันธ์ของบุคคลหรือกลุ่ม 3. ทำหน้าที่ผู้ประสานงานผู้ให้คำปรึกษาแนะนำทำงานเกี่ยวข้องกับคนจำนวนมาก
วัตถุประสงค์ของการให้คำปรึกษา การให้คำปรึกษาแก่นักเรียนมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยนักเรียนในเรื่อง 1.สำรวจตนเองและสิ่ งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และเข้าใจในตนเองและสิ่ งแวดล้อม 2.ลดระดับความเครียด และความไม่สบายใจที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่ งแวดล้อม 3.พัฒนาทักษะทางสังคม ทักษะการตัดสินใจ และทักษะการจัดการกับปัญหาให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น 4.เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่พึงประสงค์ เช่น มีความรับผิดชอบในหน้าที่ต่างๆมากขึ้น มีพฤติกรรมการเรียนที่ดี และสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
ประเภทของการให้คำปรึกษา การให้คำปรึกษาสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. การให้คำปรึกษารายบุคคล คือ การให้ความช่วยเหลือแก่นั กเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงครั้งละ 1 คน 2. การให้คำปรึกษากลุ่ม คือ การให้การช่วยเหลือแก่นั กเรียนจำนวนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่มี พฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องที่คล้ายคลึงกัน หรือมีความต้องการที่จะพัฒนาตนในเรื่องเดียวกัน
ลักษณะของการให้คำปรึกษา ผู้ที่จะทำหน้ าที่ให้คำปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพควรมีลักษณะส่วนตัวดังต่อไปนี้ 1. รู้จัก และยอมรับตนเอง 2. อดทน ใจเย็น 3. จริงใจ และตั้งใจช่วยเหลือผู้อื่น 4. มีท่าทีที่เป็นมิตร และมองโลกในแง่ดี 5. ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น และช่างสังเกต 6. ใช้คำพูดได้เหมาะสม 7. เป็นผู้รับฟังที่ดีนอกจากนี้ ยังควรมีคุณลักษะที่สำคัญ คือ มีบุคลิกภาพที่ดี และการรักษาความลับ
ทักษะการให้คำปรึกษา 1. ทักษะการใส่ใจ 2. ทักษะการนำ 3. ทักษะการถาม 4. ทักษะการเงียบ 5. การซ้ำความ/การทวนความ 6. ทักษะการให้กำลังใจ 7. ทักษะการสรุปความ 8. ทักษะการให้ข้อมูลและคำแนะนำ 9. ทักษะการชี้ผลที่ตามมา
บทที่ 9
การศึกษารายกรณี ความหมายของการศึกษารายกรณี การศึกษารายกรณี หมายถึง การศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับบุคคล อย่างลึกซึ้งและวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ ทำให้บุคคลมีพฤติกรรมเช่นนั้ น หรือมีพฤติกรรมแปลกไปว่ามีสาเหตุมาจากอะไร รวมทั้งแปลความ หมายของพฤติกรรมนั้ นๆ
ความมุ่งหมายของการศึกษารายกรณี 1. เพื่อสืบค้นหาสาเหตุที่ทำให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่ผิดปรกติ ซึ่งทางโรงเรียนจะได้ให้ความช่วยเหลือ และแก้ไขได้อย่างถูกต้อง 2.เพื่อสืบค้นรูปแบบของพัฒนาการของนักเรียน ทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมและ จิตใจ 3. เพื่อช่วยให้นั กเรียนได้เกิดความเข้าใจในตนเอง สามารถพัฒนาวางแผนชีวิต และตัดสินใจเลือก แนวทางการศึกษาต่อ และเลือกอาชีพที่เหมาะสม 4. เพื่อช่วยให้ผู้ปกครองเข้าใจในตัวเด็กของตนได้ดีขึ้น 5. เพื่อช่วยให้ครูเข้าใจนักเรียนได้อย่างละเอียด ลึกซึ้ง และถูกต้อง
ประโยชน์ของการศึกษารายกรณี ประโยชน์ ต่อครูหรือผู้แนะแนวที่เป็นผู้ศึกษาโดยตรง 1.ช่วยให้ครูหรือผู้แนะแนวได้ทราบรายละเอียด เกี่ยวกับตัวนักเรียนอย่างกว้างขวาง 2.ช่วยให้ครูและผู้แนะแนวเข้าใจถึงสาเหตุและเงื่อนไขต่างๆ ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา ทำให้ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนได้อย่างเหมาะสม 3.ช่วยให้ครูและผู้แนะแนวมีความรู้และมีทักษะในการใช้เครื่องมือและกลวิธีต่างๆ ในการเก็บข้อมูล เกี่ยวกับตัวนักเรียน
บทที่ 10
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปกติและเด็กพิเศษ ความหมายของการศึกษาพิเศษ การศึกษาพิเศษ หมายถึง การศึกษาที่ตัดให้แก่เด็กที่มีความต้องการพิเศษ ทางการศึกษาแตกต่างไปจากเด็กปกติเนื่ องจากมีความจากมีความผิดปกติ ทางร่างกายอารมณ์พฤติกรรม หรือสติปัญญา ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้อย่าง เหมาะสมและได้รับประโยชน์ จากการศึกษาอย่างเต็ที่
รูปแบบการจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กพิการ มีหลักการที่สำคัญคือการเตรียมความพร้อม การจัดการเรียนการสอน และจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะ สมกับเด็กพิการในแต่ละระดับและแต่ละประเภท โดยจัดแบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1.รูปแบบการเรียนในชั้นปกติตามเวลาเป็นรูปแบบการจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีความ บกพร่องหรือผิดปกติน้อยมากเด็กพิการสามารถเข้าเรียนในชั้นเรียนปกติเช่นเดียวกับเด็กปกติได้ ตลอดเวลาที่อยู่ในโรงเรียน 2. รูปแบบการเรียนร่วม เป็นรูปแบบการศึกษาพิเศษ อยู่ในระดับที่สามารถเรียนร่วมกับเด็กปกติได้ การจัดการศึกษาพิเศษในรูปแบบนี้ มุ่งให้เด็กพิการได้รับการศึกษา 3. รูปแบบเฉพาะความพิการ เป็นรูปแบบการจัดการศึกษาพิเศษ
สำหรับเด็กที่มีความพิการค่อนข้างมาก แบ่งเป็น 4 ระดับได้แก่ 3.1 รูปแบบการเรียนการสอนในห้องเรียนพิเศษในโรงเรียนปกติ 3.2 รูปแบบการเรียนในโรงเรียนพิเศษเฉพาะทาง 3.3 รูปแบบการฟื้นฟูในสมรรถภาพในสถาบันเฉพาะทาง 3..4 การบำบัดในโรงพยาบาลหรือบ้าน
1.เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็นจำแนกได้ 2 ประเภท คือ 1.เด็กตาบอด หมายถึง เด็กที่มองไม่เห็น หรืออาจจะมองเห็นบ้างไม่มากนัก 2.เด็กสายตาเลือนลาง หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องทางสายตา สามารถมองเห็นแต่ไม่เท่ากับเด็ก ปกติ
ช่วยเหลือเด็ก ครูควรทำความเข้าใจกับทุกอย่างที่ประกอบขึ้นเป็นระบบในสังคม การปรับพฤติกรรมมีหลายวิธีดังนี้ 3.1 เสริมแรงทางบวก 3.2 เสริมแรงทางลบ 3.3 การแก้ไขให้ถูกต้องเกินกว่าที่ทำผิด 3.4 การเป็นแบบอย่างที่ดี
การเรียนร่วมระหว่างเด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรมกับเด็กปกติ 1.ทัศนคติของเด็กต่อการเรียน 2.ทัศนคติของครู ผู้ปกครองต่อการเรียนร่วม 3.พฤติกรรมของเด็ก ตลอดจนความรุนแรงของพฤติกรรม 4.ความสามารถของเด็กในการควบคุมตนเอง 5.ความพร้อมของครู ที่จะรับเด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรมเข้าเรียนร่วมชั้นปกติ 6.ความร่วมมือจากผู้ปกครองในการปรับพฤติกรรมเด็ก
บทที่ 11
ปรัชญาแนวคิดทฤษฎีทางจิตวิทยา ปรัชญา คือ ศาสตร์ที่ศึกษาหาความรู้ ความจริงของมนุษย์ โลก ธรรมชาติ และชีวิต อย่างลึกซึ้งเพื่อ อธิบายเหตุการณ์ และสิ่งต่างๆ โดยใช้หลักการของเหตุผล ในวิชาตรรกวิทยา เป็นเครื่องมือในการ เข้าถึงความจริงหรือความรู้ที่แน่นอน ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา คือการศึกษาที่เป็นปัจจัยสำคัญยิ่งในการพัฒนาประเทศทั้งในด้าน เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เครื่องมือใน การเตรียมประชากรให้มีคุณภาพ คือ การศึกษาการจัดการศึกษาของชาติจะต้องสอดคล้องกับนโยบาย ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง แนวความคิดหรือความเชื่อในการจัดการศึกษาก็คือ ปรัชญา การศึกษา
แนวคิดทางจิตวิทยามีจุดมุ่งหมายของการเรียนจิตวิทยาการศึกษา คือ เพื่อให้เข้าใจ เพื่อการทำนาย และเพื่อควบคุมพฤติกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์ในสถานการณ์ต่างๆ
แนวคิดทางจิตวิทยามีจุดมุ่งหมายของการเรียนจิตวิทยาการศึกษา คือ เพื่อให้เข้าใจ เพื่อการทำนาย และเพื่อควบคุมพฤติกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์ในสถานการณ์ต่างๆ
ความสำคัญของจิตวิทยา จิตวิทยามีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตอย่างกว้างขวางผู้ศึกษาจิตวิทยาสามารถได้รับประโยชน์ดังต่อไปนี้ 1.ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ เช่น ความต้องการ การแก้ปัญหา การ ปรับตัวอารมณ์และความรู้สึกในสถานการณ์ต่างๆ 2.ช่วยในการแก้ปัญหาทางจิต รู้จักวิธีรักษาสุขภาพจิตได้ดี สามารถเอาชนะปมด้อยต่างๆ รู้วิธีแก้ ปัญหาและปรับตัวอย่างเหมาะสม 3.สามารถเข้าใจ ตัดสินใจ และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลในสังคม 4.ช่วยในการวางแผนการใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสม
บทที่ 12
การนำหลักจิตวิทยาไปใช้ในการพัฒนาศักยภาพของการเป็นครู 1.เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ที่เป็นระบบทั้งด้านทฤษฎีหลักการเเละสาระอื่นๆที่เกี่ยวข้อง กับการเรียนรู้ขอมนุษย์ทั้งเด็กเเละผู้ใหญ่ 2.เป็นการนำความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้เเละตัวผู้เรียนให้เเก่ครูเเละผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษานำไป ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอน 3.เพื่อให้ครูสอนสามารถนำเทคนิคเเละวิธีการเรียนรู้ ไปใช้ในการเรียนการสอนตลอดจนสามารถดำรงตนอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข
จิตวิทยากับการเรียนการสอน ศักยภาพความเป็นครู หมายถึง การทำเด็กมีความรู้มากที่สุดเช่นหลักการเรียนรู้ หลักสูตร การวัด เเละประเมินผล เทคโนโลยีเเละจิตวิทยา เพราะเป็นศาสตร์ที่มีความสำคัญที่สุดสำหรับการเรียนรู้
เเนวทางเเละวิธีการพัฒนาครู
หน้าที่เเละความรับผิดชอบของครู 1.เอาใจใส่เเละพยายามเข้าใจปัญหาเเละความต้องการของเด็ก 2.ทำระเบียบเเละสมุดรายงานนักเรียน 3.หมั่นหาความรู้เเละวิธีการหาความรู้ 4.ค้นคว้าเพิ่มเติ่มเเละหาความรู้ใหม่ๆ 5.เตรียมการสอนเเละทำการบันทึกการสอน 6.ดูเเลบำรุงรักษาห้องเรียนเเละอาคารสถานที่
บทที่ 13
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และรับรู้ -ปัจจัยด้านผู้เรียน ได้แก่ เพศ ระดับชั้น แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เจตคติต่อการเรียน การใช้เวลาเรียนรู้ -ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม หมายถึง สภาพสภาวะ หรือสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบๆตัว อยู่ตามธรรมชาติ หรืออาจเป็นสิ่งที่ถูกจัดทำ หรือจัดสร้างขึ้นอาจจะมีเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
แรงจูงใจในการเรียนรู้ แรงจูงใจในการเรียนรู้ หมายถึง แรงขับเคลื่อนที่อยู่ภายในตัวบุคคล ที่จะกระตุ้นให้บุคคลนั้นเกิดการก ระทำ แรงขับดังกล่าวเกิดจากความต้องการพื้นฐาน แรงผลัก/พลังกดดัน หรือความปรารถนา อันเนื่องมา จากสิ่งล่อใจ ความคาดหวังหรือการตั้งเป้าหมาย ทำให้บุคคลพยายามดิ้นรนเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ ซึ่งแรงจูงใจอาจจะเกิดมาตามธรรมชาติหรือจากการเรียนรู้ก็ได้
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ หมายถึง สภาพสภาวะ หรือสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบๆตัว อยู่ตามธรรมชาติ หรืออาจเป็นสิ่งที่ถูกจัดทำ หรือจัดสร้างขึ้น อาจจะมีเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต แนวทางการจัดสภาพแวดล้อม ตามแนวคิดของมอนเตสซอรี จีระพันธุ์ พูลพัฒน์ได้รวบรวมลักษณะของสิ่งแวดล้อมในการจัด สภาพแวดล้อม
เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ 4 ประเด็น ดังนี้ 1. การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ 2. การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อความสุนทรียะ 3. การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการใช้ปัญญา 4. การจัดสภาพแวดล้อมทางสังคมและอารณ์
จัดทำโดย นางสาว สุธินี หลานอาว์ 082
Search