Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ok การให้คำปรึกษา

ok การให้คำปรึกษา

Published by anisakpd, 2021-12-22 06:50:58

Description: ok การให้คำปรึกษา

Search

Read the Text Version

การใหค้ ำปรกึ ษา สวัสดีค่ะ วนั นี้เราจะมาทบทวนเร่ืองการให้คำปรึกษา นกั เรียนท่มี ีปัญหาการใชส้ ารเสพติดและ เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอลก์ ันนะคะ การใหค้ ำปรึกษา เปน็ การช่วยใหบ้ คุ คลได้เขา้ ถงึ ปญั หาท่ตี นพบและมองหาลู่ทางที่จะแกไ้ ข ปญั หาไดถ้ ูกต้องยง่ิ ขนึ้ โดยเหตนุ จี้ ึงถอื วา่ บริการ ให้คำปรกึ ษาเป็นหัวใจของการให้การช่วยเหลือ นกั เรยี นทีป่ ระสบปัญหาเกี่ยวกับพฤตกิ รรมนะ คะ โดยวัตถปุ ระสงคข์ องการให้คำปรึกษา ประกอบด้วย 1. เพ่อื ช่วยให้ผมู้ ารบั การปรึกษา ร้จู ักและเขา้ ใจ ตนเอง เกดิ ความสำนกึ ในหนา้ ทแ่ี ละความ รับผดิ ชอบท่ีตนต้องทำ 2. เพื่อให้ผู้มารบั คำปรกึ ษามองเห็นลูท่ างในการ แกไ้ ขปัญหาของตนไดด้ ้วยตนเอง 3.เพื่อให้ผมู้ ารับคำปรึกษายอมรบั ความเปน็ จริง ทเี่ กิดขน้ึ กับตน 4. เพอื่ ให้ผู้มารับคำปรกึ ษามีทักษะในการ แกป้ ญั หา ซึ่งอาจจะเกิดขนึ้ ในโอกาสต่อไป 5. เพ่อื ให้ผมู้ ารับคำปรึกษาสามารถปรับตนเอง เละขจดั ข้อบกพร่องตา่ ง ๆ ของตนเอง สำหรับหลักในการให้คำปรึกษา มดี งั นีค้ ่ะ 1. การใหค้ ำปรึกษาจะไดผ้ ลดี ต้องมีการ วางแผนดำเนนิ งานทดี่ ี 2. ควรคำนึงถึงปัญหาตา่ ง ๆ ของนักเรียนทกุ ๆ ดา้ น

3. การใหค้ ำปรึกษาต้องเตรยี มพร้อมทจ่ี ะให้ คำปรึกษาไดเ้ สนอ 4. ควรจะให้นกั เรียนเกิดความคดิ ทจ่ี ะมาขอรบั คำปรกึ ษาด้วยตนเองยิ่งกว่าท่ีจะมกี ารบังคบั หรือขอร้อง 5. การใหค้ ำปรกึ ษาแก่นักเรยี นนัน้ ผใู้ ห้ คำปรกึ ษาจะต้องยอมรบั ความแตกต่างของแต่ ละบุคคล 6. บริการนมี้ ่งุ ให้นกั เรยี นรู้จักแก้ไขปรบั ปรงุ ตนเอง และรู้จักตดั สินใจไดด้ ้วยตนเอง 7.หลงั จากท่ีได้ใหค้ ำปรึกษาไปแลว้ ควรทำ บันทึกและรายงานทีจ่ ำเปน็ เอาไวเ้ พ่ือจะได้ใชใ้ น ครง้ั ต่อไปและเพื่อการตดิ ตามผล 8. ถ้าหากผใู้ หค้ ำปรึกษาเห็นว่าปญั หาทเ่ี กดิ กบั นักเรียนน้นั เปน็ ปญั หาท่ตี ้องการความชว่ ยเหลือ กค็ วรสง่ ไปพบผู้เช่ยี วชาญในแตล่ ะสาขาได้ เพอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลือได้ถกู ต้องย่ิงขน้ึ ในการใหค้ ำปรกึ ษาผู้ใหค้ ำปรึกษาจะให้ คำปรึกษาตามทฤษฎที ่ตี นยึดถือ ซงึ่ มีอยหู่ ลาย ทฤษฎี ในที่นี้จะกลา่ วถงึ วิธีการให้คำปรึกษา 3 วิธดี ้วยกันคือ 1.การใหค้ ำปรึกษาแบบนำทาง (directive counseling) 2. การใหค้ ำปรึกษาแบบไมน่ ำทาง (non- directive counseling) 3.การให้คำปรึกษาแบบเลอื กใชว้ ธิ ีต่าง ๆ (elective counseling)

มาเริ่มกันที่การให้คำปรึกษาวิธี ที่ 1 หันเลยนะ คะ วิธีแรก ก็คือ การให้คำปรึกษาแบบนำทาง (directive counseling) บางที่เรียกว่าการให้ คำปรึกษาแบบผู้ให้คำปรึกษาเป็นศูนย์กลาง (counselor-centered approach) หรือการให้ คำปรกึ ษาโดยยึดคุณลักษณะของคน (trait and factor theory) ทฤษฎีนี้เชื่อว่าหลักการที่ว่า มนุษย์แต่ละคนมีคุณลักษณะเฉพาะตัว (trait and factor) ซึ่งได้แก่ ความถนัด ความสนใจ เจตคติ การควบคุมอารมณ์ ซึ่งติดตัวมาแต่ กำเนิด และมนุษย์ยังพัฒนาความสามารถของ ตนเองให้เหมาะสมกับงานต่าง ๆ เพียงได้รับ คำแนะนำจากผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ มากกวา่ กระบวนการให้คำปรกึ ษา มดี ังตอ่ ไปนี้ 1) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้มารับคำปรึกษา ซ่ึง ทำได้โดยใช้เทคนิคในการรู้จักช่วยผู้เรียนดังที่ กลา่ วมาแลว้ 2) วินิจฉัยปัญหาและคาดคะเนพฤติกรรม นำ ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ เพื่อช่วยให้การตัดสินใจ เป็นไปอย่างถูกต้อง และช่วยแก้ปัญหาให้ผู้มา รับคำปรึกษาทั้งในด้านการเลือกวิชาการเลือก อาชีพ และการปรับตัว และยังต้องคาดคะเน การตัดสินใจที่เหมาะสมแก่ผู้รับคำปรึกษาอีก ดว้ ย 3) ใช้เทคนิคในการให้คำปรึกษา ผู้ให้คำปรึกษา เป็นเสมือนหน่ึงครผู ู้ทำการสอนมีการชี้แนะหรือ ให้ข้อมูลที่จำเป็น ถือว่าผู้ให้คำปรึกษามีความรู้ และประสบการณ์ดีกว่าผู้มารับคำปรึกษา

เทคนิคที่ใช้คือ การแนะนำ การสอบซัก ชักชวน ชี้แจง ตักเตือน สั่งสอน สรุปและชี้แนะการ ตัดสนิ ใจใหแ้ กผ่ ู้มารบั คำปรึกษา วิธีที่ 2. คอื การให้คำปรึกษาแบบไม่นำ ทาง (non-directive counseling) บางที เรียกวา่ การให้คำปรึกษาแบบผรู้ ับคำปรกึ ษา เป็นศูนย์กลาง (client-centered approach) หลักวิชาการของทฤษฎีนี้ เน้นวา่ ผมู้ ารบั คำ ปรกึ ษาเปน็ ผูม้ ีเหตผุ ลและมีความสามารถท่ีจะ ตดั สินใจดว้ ยตนเอง เพราะแต่ละคนมี ประสบการณ์ซง่ึ ไมเ่ หมืนกนั ไม่มใี ครรู้จักตวั ของ เขาได้ดีกวา่ ตวั ของเขาเอง การให้คำปรึกษาจงึ ควรสร้างสถานการณ์ของการยอมรับ ความ อบอุ่นเข้าใจและรว่ มรับความรสู้ กึ ของผู้มารับคำ ปรึกษา ซึ่งปญั หาอันเนื่องมาจากการไมย่ อมรับ ตนเองตามสภาพที่เป็นจรงิ วิธนี ีต้ อ้ งฟังความรู้สกึ นึกคิดของ นกั เรียนให้มากที่สุด นงั่ ฟังบัญหาของนักเรยี น มี การกระตนุ้ ให้นักเรียนพดู เป็นบางครงั้ เท่านัน้ พยายามใหเ้ กดิ ความมั่นใจแก่เด็ก โดยให้เขา มองเห็นสาเหตุของปัญหาเอง และชว่ ยใหเ้ ขาคดิ แกป้ ญั หาของตนเอง เป็นการถอื เอาเจ้าของ ปัญหาเปน็ สำคัญ ดังนัน้ จึงกล่าวได้ว่า การให้ คำปรกึ ษาแบบไม่นำทางน้ันผู้นำมาของ คำปรึกษาจะไดร้ ับการชว่ ยเหลือให้ร้จู ักชว่ ย ตนเอง ซึง่ เป็นการกระต้นุ ให้นักเรียนทม่ี าของ คำปรึกษารบั ผดิ ชอบในปญั หาของตนเองอกี ดว้ ย การใหค้ ำปรึกษาแบบนี้ มขี นั้ ตอนสำคญั ๆ 3 ขั้นคอื

1) ให้นกั เรยี นระบายความในใจออกมาเพื่อ คลายความตึงเครียด ให้ผู้มารับคำปรึกษาพูดได้ อสิ ระ ผู้ให้คำปรึกษาจะไมแ่ นะนำหรือทกั ท้วง ความเห็นใด ๆ ทัง้ สิ้น ในชนั้ นี้ผ้มู ารบั คำปรึกษา จะรูส้ ึกวา่ ความหวาดวติ ก ความกงั วลใจและ ความกลวั ต่าง ๆ ค่อยเบาบางลงไป 2) ให้นกั เรียนเกิดความเข้าใจในตนเองและ มองเห็นลทู่ างในการแก้ปัญหา หลงั จากผมู้ า ขอรบั คำปรึกษา ไดร้ ะบายความทุกข์ใจต่าง ๆ ออกไปแลว้ ก็จะรสู้ กึ สบายใจขึ้น ซงึ่ จะชว่ ยให้ เขา้ ใจเรือ่ งราวของตนเองได้ดีขึ้น 3) การวางจุดมุ่งหมายใหม่ และแก้ปัญหาตาม แผนทไี่ ดต้ งั้ ไว้ เป็นข้นั ท่ีนักเรียนมองเหน็ ปญั หา อยา่ งแจ่มชัดแลว้ จงึ ตัง้ จุดมุ่งหมายใหม่ เพ่ือ หาทางแก้ไขปัญหาของตนเอง เทคนคิ ท่ีใชม้ ากในการให้คำปรกึ ษาแบบ นค้ี ือ การเงียบและการฟงั การสะท้อน ความรสู้ กึ ซึ่งเทคนิคเหลา่ น้จี ะช่วยให้ผูม้ ารบั คำ ปรึกษารู้จกั ตนเอง เข้าใจปญั หาของตนเองและ กระต้นุ ให้เขามีความรับผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจ ส่ิงตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง วธิ ีท่ี 3 คือ การให้คำปรกึ ษาแบบเลือกใช้วิธี ต่าง ๆ (elective counseling) การให้ คำปรึกษาแบบนี้เป็นการเลอื กวิธกี ารให้ คำปรึกษาจากหลาย ๆ วธิ มี าใช้ ซึง่ มคี วามเหน็ วา่ การให้คำปรึกษาแบบแรกและแบบท่ีสอง ตา่ งกม็ ีข้อดี และความเหมาะสมในการใช้ที่ แตกตา่ งกัน ถา้ นำเอาท้ังสองแบบมารวมกันก็ ได้ผลดี เช่น การให้คำปรึกษาแบบนำทาง ใช้ ได้ผลดีถ้าผมู้ ารบั คำปรึกษาต้องการทราบ

ข้อสนเทศ การให้คำปรกึ ษาแบบไมน่ ำทางอาจ ใช้ได้ผลดีในปัญหาการปรับตัวทางสงั คมและ ปญั หาทางอารมณ์ เทคนิคในการให้คำปรึกษา แบบนี้ ยืดหยุ่นตามท่ีผใู้ ห้คำปรกึ ษาเห็นว่า เหมาะสม ถ้าเห็นวา่ ไมเ่ หมาะสมอาจนำเทคนคิ ของแตล่ ะแบบมาปรบั ปรุงใช้ด้วยตนเองก็ได้ การให้คำปรึกษานักเรียนท่มี ีปยั หาการใชส้ าร เสพติด รวมไปถึงเครื่องดมื่ แอลกอฮอลม์ ี หลกั การดงั น้ี 1) การจัดสถานที่ตอ้ งใหม้ ีบรรยากาศสบาย อบอุ่น เปน็ กนั เอง 2) ผสู้ มั ภาษณ์เป็นกนั เอง ยิ้มแย้มตอ้ นรบั เปน็ มิตรไม่เฉยเมย และเปน็ ไปตามธรรมชาติ ทำ อะไรบางอย่างใหน้ ักเรียนรู้สกึ สบายไม่วติ กกังวล เช่น พดู ถึงเรอื่ งทีส่ นใจรว่ มกนั ก่อนทีจ่ ะเริม่ เขา้ ปัญหา อาจพูดวา่ “มอี ะไรให้ช่วยบ้าง” ใน ทำนองนเ้ี ปน็ การเริม่ ตน้ ที่ดี 3) ตรงต่อเวลาท่นี ัดหมายมิฉะนัน้ เด็กจะคิดวา่ เรื่องของตนไมส่ ำคัญ 4) แสดงความสนใจเด็กท้ังคำพดู และท่าทาง ให้ โอกาสเดก็ เลา่ เร่ืองมากท่ีสดุ เพราะเขาต้องการ ระบายความทกุ ข์ ให้โอกาสนักเรยี นพดู ไม่ควร ขดั จงั หวะ 5) พยายามหาจดุ สำคญั ของปัญหา 6) ช่วยให้เด็กหรือผู้ถูกสมั ภาษณ์มองเหน็ ปญั หา ทกุ แง่ทกุ มุม พจิ ารณาในแง่ตา่ ง ๆ ที่ควรเปน็ ดว้ ยความเทย่ี งธรรม

7) ตัดสนิ การกระทำของเด็กอยา่ งตรงไปตรงมา เพ่อื ใหเ้ ข้าใจตนเอง และเอาความรสู้ กึ ใสล่ งไป ในสภาพและมาตรฐานของตัวเด็กเอง 8) พยายามรกั ษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผใู้ ห้และ ผูร้ บั คำปรกึ ษา แสดงความเห็นอกเห็นใจ และ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื พยายามให้ผ้ถู กู สมั ภาษณ์มี ความรับผิดชอบในการแก้ปัญหาของตนเอง 9) พยายามรวบรวมข้อมลู จากแหล่งตา่ ง ๆ เท่าที่จะหาได้ เชน่ สนทนากับบุคคลอื่น ๆ ที่ ใกลช้ ิด ดูระเบียบสะสม ผลการทดสอบ พยายามรวบรวมข้อมูลเบื้องตันใหม้ ากทีส่ ุด 10) กระตุ้นใหผ้ ้มู ารับคำปรกึ ษาคิดเอง สร้าง แผนการเอง โดยใหร้ ้วู า่ การแก้ปัญหาเป็นเร่ือง ของตนเอง 11) การสัมภาษณค์ วรมีการทบทวนเน้อื เรือ่ ง และสรุปเปน็ ขน้ั ๆ โดยใหผ้ ู้มารบั คำปรึกษาเป็น ผู้สรุป 12) ใหข้ ้อมลู เก่ียวกับแหล่งชว่ ยเหลือในชุมชน และแหลง่ สนับสนุนการเรียนร้เู กย่ี วกับสารเสพ ติดและเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ เชน่ ศนู ย์สขุ วทิ ยา จิต กรมประชาสงเคราะห์ แผนกจิตเวชของ โรงพยาบาลตา่ ง ๆ ฯลฯ 13) ถา้ ปัญหาเกินความสามารถ ควรให้เป็น หนา้ ทีข่ องผเู้ ชีย่ วชาญ แตต่ อ้ งสนใจติดตามเรอ่ื ง และให้ความช่วยเหลือ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook