Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือแรงงานสัมพันธ์ ปี 2566

คู่มือแรงงานสัมพันธ์ ปี 2566

Published by sayanjit, 2022-11-10 08:17:45

Description: คู่มือแรงงานสัมพันธ์ ปี 2566

Search

Read the Text Version

(ก) คำนำ สำนักแรงงานสมั พันธ ดำเนินการจัดทำคมู ือการปฏิบัติงานของเจา หนาทต่ี ามกิจกรรมดานแรงงานสัมพนั ธ ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อใหหนวยงานและเจา หนาที่ผูปฏิบัตงิ านดานแรงงานสัมพันธ มีแนวทางการดำเนินงาน ทส่ี อดคลองกับแผนปฏิบัตริ าชการ กรมสวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน และทิศทางการดำเนินงานดานแรงงานสัมพันธ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยการสงเสริมใหสถานประกอบกิจการมีความรับผิดชอบตอสังคม เสริมสราง ระบบแรงงานสัมพันธใหมีความเขมแข็ง เพ่ือลดความขัดแยง สรางความเชื่อม่ันไววางใจระหวางนายจางและลูกจาง และเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชีวติ แรงงานใหดีขน้ึ สำนักแรงงานสัมพันธหวังเปนอยางย่ิง คูมือการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีตามกิจกรรมดานแรงงานสัมพันธ ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จะเปนประโยชนและเปนกลไกสำคัญในการขับเคล่ือนการปฏิบัติงานดานแรงงานสัมพันธ ในการปองกัน แกไข และพัฒนาไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตลอดจนเปนการสนับสนุน สงเสริม และสรา งความเชือ่ มัน่ แกผ ูประกอบการและนักลงทุนซึ่งจะนำไปสูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจตอไป สำนักแรงงานสัมพันธ ตุลาคม 2565

(ข) สารบญั คำนำ หนา สารบัญ ก สารบัญตาราง ข แผนงานและงบประมาณกจิ กรรมดานแรงงานสัมพนั ธ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ฃ ทศิ ทางการดำเนินงานดานแรงงานสมั พนั ธ ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ค ฅ แผนงาน : พนื้ ฐานดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 1 กิจกรรมที่ 1 : รณรงคสง เสรมิ ใหส ถานประกอบกิจการและรฐั วสิ าหกจิ มีการบริหารแรงงานสัมพันธ 6 กิจกรรมที่ 2 : ดวยระบบทวิภาคี โครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบรหิ ารจัดการทดี่ ี 13 กิจกรรมที่ 3 : ดา นแรงงานสัมพนั ธและสวสั ดิการแรงงาน 16 กิจกรรมท่ี 4 : 2.1 เชิญชวนสถานประกอบกิจการใหเ ขา รว มโครงการสงเสรมิ สถานประกอบกิจการ 18 กจิ กรรมที่ 5 : ใหมรี ะบบการบริหารจดั การแรงงานสัมพนั ธท่ีดี 21 2.2 พัฒนาสถานประกอบกจิ การใหมีระบบการบริหารจัดการแรงงานสมั พันธท่ดี ี 28 ไกลเ กล่ยี ขอ พพิ าทแรงงานและขอขัดแยง 41 จดทะเบียนขอ ตกลงเกี่ยวกับสภาพการจา งและคำชข้ี าดขอพพิ าทแรงงาน จัดงานวันแรงงานแหงชาติ แผนงาน : ยทุ ธศาสตรส รา งหลกั ประกนั ทางสังคม กิจกรรมท่ี 6 : สงเสรมิ ระบบแรงงานสมั พนั ธแบบหุนสว นดว ยรปู แบบ (Model) ท่เี หมาะสม * ** กิจกรรมท่ี 7 : โครงการบรหิ ารจัดการและการดำเนินงานศนู ยอำนวยการแรงงานสมั พนั ธ และศนู ยป ฏบิ ตั ิการแรงงานสัมพันธ กิจกรรมที่ 8 : ตรวจเย่ยี ม ใหค ำปรึกษาแนะนำ และติดตามเฝาระวงั ปญ หาความขดั แยง ในสถานประกอบกจิ การ หมายเหตุ : กิจกรรมทม่ี เี คร่อื งหมาย * คือ กิจกรรมนำสง กจิ กรรมหลกั ** คอื กจิ กรรมนำสง ผลผลิตหรอื โครงการระดับผลผลติ

(ฃ) ภาคผนวก สารบัญตาราง หนา แผนงาน : 45 ตารางท่ี 12 : แผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมสวัสดกิ าร ตารางท่ี 13 : และคมุ ครองแรงงาน (ดานแรงงานสมั พันธ) 47 พื้นฐานดานการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 54 ตารางท่ี 14 : กจิ กรรมรณรงคสง เสรมิ ใหส ถานประกอบกจิ การและรฐั วิสาหกิจมกี ารบริหาร ตารางที่ 15 : แรงงานสมั พนั ธด วยระบบทวิภาคี จำแนกตามหนวยงาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 62 ตารางท่ี 16 : โครงการสงเสริมสถานประกอบกจิ การใหมรี ะบบการบรหิ ารจดั การทด่ี ี 66 แผนงาน : ดานแรงงานสัมพนั ธแ ละสวัสดิการแรงงาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 70 ตารางท่ี 48 : 13.1 กจิ กรรมเชิญชวนสถานประกอบกิจการใหเ ขารว มโครงการสงเสริม ตารางที่ 52 : สถานประกอบกิจการใหมีระบบการบริหารจัดการแรงงานสัมพนั ธทด่ี ี 74 ตารางที่ 53 : 81 ภาคผนวก จำแนกตามหนว ยงาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 85 92 13.2 กจิ กรรมพัฒนาสถานประกอบกิจการใหมรี ะบบการบริหารจดั การ แรงงานสมั พนั ธทดี่ ี จำแนกตามหนว ยงาน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 กจิ กรรมไกลเ กลีย่ ขอพพิ าทแรงงานและขอ ขดั แยง จำแนกตามหนวยงาน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรมจดทะเบียนขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจา งและคำชข้ี าดขอ พิพาทแรงงาน จำแนกตามหนว ยงาน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรมจัดงานวันแรงงานแหงชาติ จำแนกตามหนว ยงาน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 ยุทธศาสตรส รา งหลกั ประกนั ทางสงั คม กจิ กรรมสง เสริมระบบแรงงานสมั พันธแ บบหนุ สว นดว ยรปู แบบ (Model) ที่เหมาะสม * ** จำแนกตามหนว ยงาน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการบริหารจัดการและการดำเนินงานศูนยอำนวยการแรงงานสัมพันธ และศนู ยปฏบิ ัติการแรงงานสัมพนั ธ จำแนกตามหนว ยงาน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรมตรวจเย่ียม ใหค ำปรึกษาแนะนำ และตดิ ตามเฝาระวังปญ หาความขัดแยง ในสถานประกอบกจิ การ จำแนกตามหนวยงาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่ือประชาสมั พนั ธ

(ค) แผนงานและงบประมาณกิจกรรมดานแรงงานสัมพันธ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักแรงงานสัมพันธไดรับการจัดสรรงบประมาณเพื่อดำเนินภารกิจ/ กิจกรรมทีเ่ ชือ่ มโยงยทุ ธศาสตรก ารจัดสรรงบประมาณรายจายประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 ดงั นี้ ยุทธศาสตรที่ 4 : ยุทธศาสตรดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม แผนงาน : พืน้ ฐานดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ผลผลิต : แรงงงานไดร บั การคมุ ครองสิทธิ และนายจา งมีการบรหิ ารจดั การ ดานแรงงานตามกฎหมายสอดคลองกบั มาตรฐานแรงงาน กิจกรรมหลักที่ 1 : กำกบั ดูแลใหน ายจา งปฏิบัตถิ ูกตองตามกฎหมาย แผนงาน : ยุทธศาสตรสรางหลกั ประกันทางสังคม โครงการระดบั ผลผลติ : 3. โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตและผลิตภาพแรงงาน กจิ กรรมหลกั ที่ 1 : สงเสริมและพัฒนาศักยภาพแรงงาน เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวติ และผลติ ภาพแรงงาน

(ฅ) ทิศทางการดำเนินงานดานแรงงานสัมพันธ ปง บประมาณ พ.ศ. 2566 กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน โดยสำนักแรงงานสัมพันธ กำหนดทิศทางการดำเนินงาน ภายใตบริบทที่เกี่ยวของกับการแรงงานสัมพันธ เพื่อใหนายจาง ลูกจาง เอกชน และรัฐวิสาหกิจ องคการ แรงงาน ตลอดจนเครือขา ยแรงงานใหไดรับการคุมครองและรบั บริการทดี่ ีจากกรมฯ ภายใตว สิ ัยทศั น “แรงงาน มคี ุณภาพชีวิตท่ดี ี ไดรับความเปนธรรมอยางท่ัวถึงและยัง่ ยืน” ประกอบดวย 1 การสงเสริมแรงงานสัมพันธเชิงรุก เนนการสรางความสัมพันธและความเขาใจอันดีระหวาง นายจางกับลูกจาง โดยการสงเสริมแรงงานสัมพันธระบบทวิภาคี และระบบหุนสวนดวยรูปแบบ (Model) ที่เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการ กลุมเปาหมายสำคัญ เชน สถานประกอบกิจการที่เคยเกิดขอพิพาท แรงงานและหรือขอขัดแยง มีการจัดตั้งองคกรลูกจาง มีการใชแรงงานขามชาติ หรือสถานประกอบกิจการ ที่ไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19) ดำเนินการติดตาม สถานประกอบกจิ การท่ีมีขอตกลงเก่ยี วกับสภาพการจางใกลหมดอายุ ใหค ำปรกึ ษา แนะนำนายจาง ลูกจางท่ีมี คำรองกรณีการกระทำอันไมเปนธรรม สรางการรับรูและเสริมสรางความเขมแข็งใหเครือขายแรงงาน องคการ แรงงาน รวมถึงขับเคลื่อนศูนยอำนวยการและศูนยปฏิบัติการแรงงานสัมพันธ ใหมีการวิเคราะหแกไขปญหา ดา นแรงงานสมั พนั ธใ นเชิงลกึ พรอมแกไ ขปญหาใหยุตภิ ายในพนื้ ที่ 2 การแกไขขอ พิพาทแรงงานและขอขัดแยง ใหผรู ับบริการมีความพึงพอใจไมเกิดการรองเรียนหรือ การชุมนุมเคลื่อนไหว โดยใหคำปรึกษาหารือแนวทางการปรับปรุงสภาพการจางอยางถูกวิธี การไกลเกลี่ย ขอพิพาทแรงงานและขอขัดแยง ระหวางนายจางกับลูกจาง สนับสนุนการดำเนินงานของหนวยปฏิบัติในสวน ภูมิภาค เพื่อเขารวมแกไขปญหาขอพิพาทแรงงานใหยุติในพื้นที่ สงเสริมระบบการรวมปรึกษาหารือ ในคณะกรรมการระดับทวิภาคีตาง ๆ ยึดหลักสุจริตใจในการเจรจาตอรอง ดำเนินการตามแนวปฏิบตั ิในการใช มาตรการและแนวทางปองกันและแกไขผลกระทบดานแรงงานสัมพันธ มาตรการบรรเทาปญหาการเลิกจาง การกระทำอันไมเ ปน ธรรม การชขี้ าดขอ พิพาทแรงงาน ติดตามการดำเนนิ งานขององคก รแรงงานตามกฎหมาย 3 พัฒนาองคค วามรูและสรางการรับรู แรงงานสมั พนั ธใหแกแรงงาน นายจา ง ลกู จา ง องคกรแรงงาน เจาหนาที่และผูเกี่ยวของ ในแนวทางการดำเนินงานภายหลังจากประเทศไทยใหการรับรองอนุสัญญาองคการ แรงงานระหวางประเทศ (ILO) ฉบับที่ 87 และ 98 พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ใหพรอมตอการปฏิบัติงานและ รับมือกับการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนือ่ ง สรางความรวมมือและแรงจูงใจแกสถานประกอบกิจการ ดวยการเชิญชวน ใหสมัครเขารวมโครงการประกวดสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน และ การเชิญชวนใหรัฐวิสาหกิจเขารวมการประกวดรัฐวิสาหกิจดีเดนดานแรงงานสัมพันธ ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่จะ สรา งสัมพันธภาพทดี่ รี ะหวางนายจา งและลูกจาง เกิดความภาคภมู ิใจในสถานประกอบกิจการและรฐั วิสาหกจิ 4 ปรับกระบวนการทำงาน ใหสอดคลองกับระบบเทคโนโลยี เพื่อกาวสูยุคดิจิทัล และปรับตัวทันตอ โรคอุบัติใหมท่ีอาจจะเกิดขึ้น โดยดำเนินกิจกรรมสงเสริมแรงงานสัมพันธดวยระบบทวิภาคี การไกลเกลี่ย ขอพิพาทแรงงาน การติดตามการปฏิบัติตามขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ผานรูปแบบวีดิทัศนทางไกล ตลอดจนแนะนำใหองคกรแรงงานจัดการประชุมใหญผานสื่ออิเล็กทรอนิกส เพิ่มชองทางการใหบริการ จดทะเบียนและตออายุที่ปรึกษาดานแรงงานสัมพันธผานสื่ออิเล็กทรอนิกส และการดำเนินงานในรูปแบบ คณะกรรมการไตรภาคีตา ง ๆ

(ฆ) 5 ใชหลกั การทำงาน “แรงงานสมั พันธเ ชงิ รกุ ” ซ่ึงมอี งคป ระกอบทสี่ ำคญั ไดแ ก “3 ตอง 2 ไม” 5.1 ตองมีขอมูลที่ครบถวน และถูกตอง เชน ขอมูลสถานประกอบกิจการ นายจาง ลูกจาง สหภาพ แรงงาน ผนู ำสหภาพแรงงาน เปน ตน 5.2 ตอ งนำขอมูลมาวิเคราะหวา มีปญหาดานแรงงานสัมพันธอยางไร เพ่ือนำไปสูการกำหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม ในการดำเนินงานเชิงรุก โดยเฉพาะการทำงานเชงิ รุกดานการปองกนั มใิ หสถานการณลุกลาม บานปลายจนยากจะแกไข หรอื แกไขไดย าก 5.3 ตองสรางความสัมพันธกบั นายจาง ลูกจา ง สหภาพแรงงานใหเ กิดความรกั ความศรัทธา ความไวว างใจ 5.4 ไมม ีอคติ (ความลำเอียง) ในการปฏิบัตงิ าน 5.5 ไมส รา งเง่อื นไข ใหเกดิ สถานการณค วามขัดแยง ……………………………………………………………………………….

กิจกรรมที่ 1 • รณรงคสงเสรมิ ใหส ถานประกอบกิจการและรฐั วสิ าหกจิ มีการบรหิ ารแรงงานสัมพนั ธด ว ยระบบทวภิ าคี (สรส./สรพ./สสค.) 1. ลกั ษณะกจิ กรรม การรณรงคสงเสริมใหสถานประกอบกิจการและรัฐวิสาหกิจมีการบริหารแรงงานสัมพันธดวยระบบทวิภาคี เปนการดำเนินการใหความรู ช้ีแจง แนะนำ และใหคำปรึกษาแกนายจาง ลูกจาง สหภาพแรงงาน และคณะกรรมการ รวมปรึกษาหารือในรูปแบบตาง ๆ (คณะกรรมการลูกจาง และคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ) เก่ียวกบั การเสรมิ สรา งระบบแรงงานสมั พันธท ่ดี ภี ายในสถานประกอบกจิ การ เสนอแนะแนวทางการสรางความรว มมอื และระบบรวมปรึกษาหารือระหวางนายจางกับลูกจาง เพื่อสรางความสัมพันธ และความรวมมือที่ดีตอกันใน สถานประกอบกิจการ ตลอดจนสงเสริมใหมีการนำระบบแรงงานสัมพันธไปใชจัดการกับปญหาขอขัดแยงท่ีเกิดข้ึน ใหยุตโิ ดยเรว็ 2. วตั ถุประสงค 2.1 เพื่อสง เสรมิ ความสัมพันธและความเขา ใจอันดรี ะหวา งนายจางกบั ลูกจาง 2.2 เพ่ือใหคำปรึกษาแนะนำ โนมนาวใหนายจาง ลูกจาง ตระหนักถึงความสำคัญของการสรางความรวมมือ ในสถานประกอบกิจการ เพ่อื นำไปสูการปรับปรุงสภาพการจางและสภาพการทำงานทีเ่ หมาะสม 2.3 เพื่อสง เสริมใหม รี ะบบการรว มปรึกษาหารือที่มีประสิทธิภาพ 2.4 เพ่ือทราบปญหา อุปสรรคและแสวงหามาตรการที่เหมาะสมในการปองกันและแกไขปญหาความขัดแยง ระหวา งนายจางกับลกู จาง 2.5 เพือ่ เผยแพรค วามรแู ละเอกสารท่เี ก่ียวของกบั การแรงงานสัมพนั ธ 2.6 เพื่อลดสถติ ขิ องปญหาขอพพิ าทแรงงานและขอขัดแยง ระหวางนายจางกับลูกจาง 3. แนวทางปฏิบัติตามกิจกรรม หลักการสำคัญของการสงเสริมแรงงานสัมพันธ คือ การเขาไปสงเสริมแรงงานสัมพันธในสถานประกอบกิจการ เพื่อเสริมสรางความสัมพันธและความเขาใจอันดีระหวางนายจางกับลูกจาง ดวยการใหคำปรึกษาแนะนำ เผยแพรความรู และเอกสารเกี่ยวกับแรงงานสัมพันธ ตลอดจนสงเสริมระบบรวมปรึกษาหารือและการจัด กิจกรรมตาง ๆ เก่ียวกับการสรางความรวมมือในสถานประกอบกิจการ เพื่อปองกันไมใหเกิดความขัดแยง หรือระงับความขัดแยงท่ีเกิดขึ้นแลวใหยุติลงโดยเร็ว ดังนั้น สิ่งที่เจาหนาท่ีสงเสริมแรงงานสัมพันธพึงยึดถือ เปนหลกั การในการดำเนินการ คือ 3.1 การเตรยี มการและการวางแผน 1) ศึกษาขอมูลท่ัวไปของสถานประกอบกิจการ เชน ท่ีต้ัง ประเภทกิจการ จำนวนลูกจาง สัญชาติ นายจาง หรือผูรวมทุน ช่ือผูจัดการหรือผูติดตอประสานงาน สถานภาพปจจุบันของสถานประกอบกิจการ เปนเชนไร 2) ศึกษาขอมูลเก่ียวกับสหภาพแรงงาน คณะกรรมการลูกจาง หรือคณะกรรมการรูปแบบอื่น ๆ เชน มีการจัดตั้งหรือไม มีการจัดตั้งขึ้นต้ังแตเมื่อใด มีผูใดเปนประธานและกรรมการ จำนวนสมาชิกเทาใด อยใู นสังกดั สภาองคก ารลกู จา งแหงใดสถานการณป จ จบุ นั เปนเชนใด 3) ศึกษาภูมิหลังและปญหาเก่ียวกับความขัดแยงที่เกิดข้ึนในอดีต ตลอดจนแนวทางในการยุติ ปญหานนั้ ๆ 1

4) ดำเนินการวางแผน เพ่ือกำหนดเปาหมาย แนวทางและรูปแบบในการออกไปสงเสรมิ แรงงานสมั พนั ธ ทั้งน้ี หากเปนไปไดเจาหนา ที่ควรนัดหมาย วนั เวลา ไวล วงหนา โดยอาจทำเปนหนงั สือแจงใหสถานประกอบกจิ การทราบ เพ่ือทั้งฝายนายจางและลกู จางจะไดส ามารถเตรียมขอ มูลและกำหนดตัวบุคคลผูทจี่ ะรวมรับฟงไดอยางเหมาะสม ซึ่งกรณกี ารนัดหมาย ดำเนินการไดเ ฉพาะกรณีท่สี ถานประกอบกิจการนน้ั มีองคก รลูกจา ง 5) จัดเตรียมเอกสารเผยแพร ส่ือตาง ๆ เก่ียวกับการแรงงานสัมพันธ เชน แผนพับ โปสเตอร แนวปฏิบัติ หรือหนังสือคูมือที่เก่ียวของกับการสงเสริมแรงงานสัมพันธ แบบบันทึกรายงานการสงเสริมแรงงานสัมพันธ กฎหมายแรงงาน และเอกสารอื่น ๆ ทเ่ี กยี่ วของ 3.2 แนวปฏบิ ัตริ ะหวางการดำเนนิ การ 1) แนะนำตัว และชแี้ จงถึงวัตถปุ ระสงคของการเขาไปสง เสรมิ แรงงานสัมพันธ 2) สนทนาพูดคุยกับฝา ยนายจางและลูกจา งไปพรอ ม ๆ กัน เพ่ือสอบถามขอมูลและปญ หาอุปสรรคตา ง ๆ ท่ีเกิดขน้ึ โดยพยายามหลีกเล่ยี งการใชว ธิ ี ถาม – ตอบ หรอื ซักถามตามลำดับขอ ในแบบบันทึกรายงาน 3) เจาหนาท่ีควรบันทึกรายละเอียดของขอมูลใหไดมากท่ีสุด โดยเฉพาะอยางยิ่งประเด็นสำคัญ ๆ เกี่ยวกับปญ หาอปุ สรรคและความขดั แยง ที่เกดิ ขึ้นระหวางนายจางกบั ลกู จาง 4) ใหคำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับหลักการและแนวทางการเสริมสรางแรงงานสัมพันธที่ดีในอันที่จะ กอใหเกิดประโยชนตอนายจางและลูกจาง แนวทางเกี่ยวกับการปองกันและแกไขปญหาความขัดแยง แนวคิดและรูปแบบในการสรางความรวมมือในสถานประกอบกิจการ ท้ังนี้ อาจสอดแทรกตัวอยางหรือ ประสบการณของสถานประกอบกิจการที่ประสบผลสำเร็จในดานแรงงานสัมพันธใหนายจางและลูกจาง ไดตระหนักและเห็นความสำคัญในเรื่องดังกลาว โดยอาศัยกลยุทธและวิธีการโนมนาว จูงใจใหนายจางและ ลูกจา งปฏิบัตติ ามมากกวา การบงั คับ 5) แจกเอกสารเผยแพร และสื่อตาง ๆ ท่ีจัดเตรียมไวใหแกนายจางและลูกจาง เพื่อการศึกษาและ เปนแนวทางในการสรางแรงงานสัมพันธที่ดีในสถานประกอบกิจการ หรือชอ งทางการสื่อสารตาง ๆ ในรูปแบบ ออนไลน ซึ่งควรจะใหชื่อเจาหนาท่ีและหนวยงาน ที่ตั้ง และหมายเลขโทรศัพทสำหรับติดตอไดในภายหลัง หากนายจางและลูกจา งตองการไดรับคำปรกึ ษาแนะนำเพ่ิมเตมิ 6) ใหนายจา ง/ฝา ยบริหาร ลูกจาง หรือคณะกรรมการลูกจาง ฯลฯ ท่ีเขารว มรบั ฟงลงลายมือชื่อในแบบ บันทึกการรายงานสง เสรมิ แรงงานสัมพันธแ บบทวภิ าคีทุกครัง้ เพ่อื เกบ็ ไวเ ปน หลกั ฐาน 3.3 แนวปฏิบัติหลังการดำเนนิ การ 1) กรอกแบบบันทึกรายงานการสง เสริมแรงงานสมั พนั ธแตละสถานประกอบกิจการใหส มบรู ณ 2) บนั ทึกขอ มูลในระบบรายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Web Application) ของกรม 3) สรุปและประเมินผลการสงเสริมแรงงานสัมพันธในภาพรวมเปนรายเดือน ราย 6 เดือนและ ราย 12 เดือน วามีปญหาอุปสรรคอยางไร ไดใหคำแนะนำอยางไรและควรมีการปรับปรุงอยางไรนำเสนอตอ ผบู ังคับบญั ชาตามลำดบั ชั้น 4) ควรวิเคราะหต ิดตามผลการสงเสรมิ แรงงานสมั พนั ธใ นสถานประกอบกิจการเปนระยะ ๆ สรปุ ผลงาน รายไตรมาส เพ่ือประเมนิ ผลปรับปรุงแนวทางในการพฒั นาระบบแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงานที่ไดรับ นำมาวิเคราะหเปรียบเทยี บผลการสง เสรมิ ฯ ในแตล ะครงั้ 2

หมายเหตุ: 1. จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควิด 19 (Covid - 19) สง ผลกระทบทำใหเจาหนาที่สงเสริมแรงงานสัมพันธไ มสามารถเขาไปสงเสริมแรงงานสมั พันธในสถานประกอบ กิจการได อาจปรับรูปแบบการสงเสริมแรงงานสัมพันธผานระบบทางไกลผานจอภาพ (Video Conference) เพื่อใชส่ือสารระหวางเจาหนาที่สงเสริมแรงงานสัมพันธและสถานประกอบกิจการแทนการเขาไปสงเสริม แรงงานสัมพันธในสถานประกอบกิจการหรือปรับรูปแบบการสงเสริมแรงงานสัมพันธรูปแบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสมแนะนำมาตรการและแนวทางการปองกันและแกไขผลกระทบดานแรงงานสัมพันธ เพ่ือบรรเทาปญหาการเลิกจางและการเปลี่ยนแปลงสภาพการจางในสถานการณการแพรระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปปรับใชใหเหมาะสมดวยระบบแรงงานสัมพันธที่ดีตามหลักสุจริตใจ ทั้งนี้ หากสถานการณการแพรระบาดดังกลาวคลี่คลายใหเจาหนาที่สงเสริมแรงงานสัมพันธเขาไปสงเสริม แรงงานสมั พนั ธในสถานประกอบกจิ การ 2. เนื่องจากในปง บประมาณ พ.ศ. 2566 กจิ กรรมรณรงคสงเสรมิ ใหส ถานประกอบกิจการและรัฐวิสาหกิจ มีการบริหารแรงงานสัมพันธดวยระบบทวภิ าคี เปนกิจกรรมท่ีไมนำสงผลผลิต จำนวนสถานประกอบกิจการ/ ลูกจาง (แหง/คน) จึงขอให สรพ./สสค. กำกับการปฏิบัติงานใหเปนไปตามเปาหมายท่ีกำหนด เนนการสงเสริม ในสถานประกอบกิจการขนาดเลก็ และผลดำเนินการตองไมเ กินกวา รอยละ 20 3. ผลการดำเนนิ งานตองเปน ไปตามเปาหมายทง้ั แหง /คน 4. กลมุ เปา หมาย/เปาหมาย 4.1 กลมุ เปา หมาย การกำหนดกลุมเปาหมายเพื่อวางแผนเขาไปดำเนินการสงเสริมแรงงานสัมพันธในสถานประกอบกิจการ ใหพิจารณาจากหลกั เกณฑและความสำคญั ของปญหาตามลำดับ ดงั นี้ 1) ขนาดสถานประกอบกิจการ พิจารณาจากจำนวนลูกจางในสถานประกอบกิจการ ตั้งแต 1 คนขึ้นไป โดยพิจารณา ดังนี้ - สถานประกอบกิจการขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญท่ีไมเคยผานการสงเสริมแรงงานสัมพันธ จากฐานขอมลู ของกรมฯ ภายใน 2 ป หรอื เคยผานการสงเสรมิ แรงงานสมั พันธแลว แตยงั ไมบ รรลุผลในการอยูร วมกัน ดวยการมรี ะบบแรงงานสัมพนั ธท ี่ดี - ในกรณีสถานประกอบกิจการขนาดใหญที่มีลูกจางตั้งแต 500 คนขึ้นไป ทเี่ คยเกิดขอพพิ าทแรงงาน หรอื ขอขัดแยง เพ่ือเขาไปดำเนินการสงเสริมแรงงานสัมพันธและขอใหจังหวัดพิจารณาเปาหมายท่ีกรมฯ จัดสรร (จำนวนแหง และจำนวนคน) เพื่อประกอบการบันทึกขอมูลผลการปฏิบัติงานในระบบคอมพิวเตอร ทั้งน้ี เพื่อมใิ หการบันทึกขอ มลู มากเกินไปหรือนอยกวา ท่เี ปาหมายกำหนด 2) สถานประกอบกิจการที่เคยเกิดปญหาขอพิพาทแรงงานหรือขอขัดแยง และคาดวาจะเกิดปญหา ดังกลาวขึ้นอีก 3) สถานประกอบกิจการท่ีมีการจัดตั้งองคกรลูกจาง เชน สหภาพแรงงาน คณะกรรมการลูกจาง คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม ในการทำงาน คณะกรรมการรวมปรกึ ษาหารอื คณะกรรมการหรือชมรมพนักงานในรปู แบบทวิภาคีอื่น ๆ เปนตน โดยเฉพาะสถานประกอบกจิ การทีม่ ีการจัดตั้งสหภาพแรงงานใหม 4) ประเภทกิจการของนายจาง ที่ไดรับผลกระทบจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ หรือ การดำเนนิ ธรุ กิจ ซ่ึงมีความรนุ แรงมากนอ ยแตกตา งกนั 3

5) สถานประกอบกิจการท่ีมีสัญชาติของนายจาง หรือผูรวมลงทุนเปนชาวตางชาติ ซึ่งมีนโยบาย ในการบริหารงานที่เขม งวด เปลย่ี นแปลงนโยบายบอย และอาจกอ ใหเกิดปญ หาแรงงานสัมพันธ 6) สถานประกอบกจิ การทีข่ อตกลงเก่ยี วกับสภาพการจา งใกลหมดอายุ 7) สถานประกอบกจิ การที่มีการใชแรงงานขามชาตเิ ปนจำนวนมาก 8) สถานประกอบกิจการท่ีไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Covid - 19) หรือการแพรระบาดของโรคตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุขท่ีประกาศ ณ ขณะน้ัน 9) ยกเวน กลุมเปาหมายสถานประกอบกิจการที่เขารวมโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการ ใหมีระบบการบรหิ ารจดั การทีด่ ดี า นแรงงานสมั พันธและสวสั ดิการแรงงาน 4.2 เปา หมาย หนว ยงาน สปก.(แหง) ลกู จา ง(คน) 1) สำนกั แรงงานสัมพนั ธ 27 9,376 2) สำนักงานสวัสดกิ ารและคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานครพนื้ ที่ 1,126 78,150 3) สำนกั งานสวัสดกิ ารและคุมครองแรงงานจังหวัด (76 จงั หวดั ) 6,297 379,474 7,450 467,000 รวม 5. หลักฐานอา งอิง รายงานผลการรณรงคสงเสริมใหสถานประกอบกิจการและรัฐวิสาหกิจมีการบริหารแรงงานสัมพันธ ดวยระบบทวภิ าคี 6. การนับผลงาน แหง นับจากจำนวนสถานประกอบกิจการ/รัฐวสิ าหกจิ ที่เขา ไปสง เสรมิ ฯ คน นบั จากจำนวนลกู จางในสถานประกอบกจิ การ/รฐั วสิ าหกจิ ทเ่ี ขา ไปสงเสริมฯ 7. การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน ในระบบรายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Web Application) ของกรม ระบบงาน โปรแกรมบนั ทึกแกไขขอ มูล โปรแกรมพมิ พรายงาน http://eservice.labour.go.th/dlpw บันทึก รายงาน แรงงานสัมพนั ธ LRS2I080 : สงเสรมิ แรงงานสมั พนั ธ LRS2R270 : รายงาน องคก ารลูกจา งองคการนายจา ง ในสถานประกอบกิจการ และบันทึก จำนวนสถานประกอบกจิ การ รายละเอียดใหถ ูกตองครบถว น โดยเฉพาะ ท่ีมีการสงเสริมแรงงาน หัวขอ ประเภทการดำเนนิ การ ตอ งเลือก สมั พันธ  การสงเสริมแรงงานสัมพันธ อยางเดยี วเทาน้ัน และ การบริหารจัดการแรงงานสัมพนั ธ ตอ งเลือก  มี หรือ  ไมม ี ดวย 4

8. เงินงบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจำป พ.ศ. 2566 แผนงาน : พ้ืนฐานดานการสรางโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ผลผลิตที่ 1 : แรงงานไดรับการคุมครองสิทธิ และนายจางมีการบริหารจัดการดานแรงงานตาม กฎหมายสอดคลองกับมาตรฐานแรงงาน กิจกรรมหลักท่ี 1 : กำกับ ดแู ลใหนายจางปฏิบตั ิถูกตองตามกฎหมาย งบดำเนินงาน หมวดคาตอบแทน ใชส อยและวัสดุ รหสั 300 9. หนว ยงานทร่ี ับผิดชอบ หากมีขอสงสัยเก่ียวกับการดำเนินงานตามกิจกรรมรณรงคสงเสริมใหสถานประกอบกิจการและรัฐวิสาหกิจ มีการบริหารแรงงานสมั พนั ธด วยระบบทวภิ าคี สามารถสอบถามขอ มูลเพิม่ เติมไดท ี่ สำนักแรงงานสมั พันธ กรมสวัสดกิ ารและคุมครองแรงงาน กลมุ งานสง เสริมแรงงานสัมพันธ โทรศพั ท/โทรสาร : 0 2660 2190, 0 2660 2192 – 4 กลมุ งานยุทธศาสตรแรงงานสมั พนั ธ โทรศพั ท/โทรสาร : 0 2260 2160 แบบบันทกึ รายงานการสง เสริมแรงงานสัมพันธ 5

กจิ กรรมท่ี 2 • โครงการสง เสริมสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบรหิ าร จัดการที่ดีดา นแรงงานสมั พนั ธแ ละสวสั ดิการแรงงาน (สรพ./สสค.) 2.1 กิจกรรมเชญิ ชวนสถานประกอบกจิ การใหเ ขารวมโครงการสงเสริมสถานประกอบกจิ การใหม รี ะบบ การบริหารจัดการแรงงานสัมพันธท ่ีดี 2.2 กจิ กรรมพัฒนาสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบรหิ ารจัดการแรงงานสัมพันธทีด่ ี 1. ลักษณะกจิ กรรม การสงเสริมใหสถานประกอบกิจการมีระบบการบริหารจัดการท่ีดีดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน เปนการดำเนินการของเจาหนาที่เพ่ือเสริมสรางแรงงานสัมพันธท่ีดีในสถานประกอบกิจการ โดยนายจางลูกจาง ไดตระหนักถึงความสำคัญรวมกันสรางความรวมมือดานแรงงานสัมพันธและแกไขปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นใหยุติ ดวยระบบทวิภาคีและสงเสริมใหนายจาง ลูกจางไดตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาระบบแรงงานสัมพันธ และรูปแบบการจัดสวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกำหนด โดยใชกลไกการมีสวนรวมในองคกร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดีของลูกจาง กระบวนการผลิตของนายจางเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง เปนการประกาศเกียรติคุณใหกับนายจาง ลูกจางท่ีสามารถรวมกันบริหารจัดการดานแรงงานสัมพันธ และสวสั ดกิ ารแรงงานทด่ี ีและมปี ระสทิ ธิภาพอยา งตอเนื่อง 2. วตั ถปุ ระสงค 2.1 เพ่ือสงเสรมิ ใหนายจาง ลูกจา งไดตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาระบบแรงงานสัมพันธท่ีดีมีรูปแบบ การจัดสวสั ดิการแรงงานนอกเหนือจากทก่ี ฎหมายกำหนดไดม าตรฐาน พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ที่ดีของลูกจาง 2.2 เพื่อปลูกจิตสำนึกดานการสงเสริมแรงงานสัมพันธและสวสั ดิการแรงงานท่ีดีในสถานประกอบกิจการ ใหแกนายจางลูกจาง รวมถึงสหภาพแรงงานและคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการโดยใชกลไก ทวภิ าคี การมีสวนรวมในองคก ร 2.3 เพื่อสรางแรงจูงใจตอนายจาง ลูกจางใหเห็นความสำคัญของการแรงงานสัมพันธท่ีดีและการจัด สวัสดกิ ารแรงงานทไี่ ดม าตรฐานในสถานประกอบกิจการ 2.4 เพื่อเปนการประกาศเกียรติคุณแกสถานประกอบกิจการที่มีการสรางระบบแรงงานสัมพันธ และระบบการจัดสวัสดิการแรงงานท่ีดีใหแกนายจาง ลูกจางที่มีสวนรวมในการทำงาน เปนแบบอยางที่ดี แกสถานประกอบกิจการอื่น 3. แนวทางปฏิบตั ิตามกจิ กรรม การดำเนินการสงเสริมใหสถานประกอบกิจการเขารวมโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมีระบบ การบริหารจัดการท่ีดีดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน เพ่ือใหมีระบบแรงงานสัมพันธและสวัสดิการ แรงงานท่ีดีในสถานประกอบกิจการ การดำเนินโครงการฯ จนบรรลุผลสำเร็จ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานสงเสริม แรงงานสัมพันธประชาสัมพันธเชิญชวนสถานประกอบกิจการใหเขารวมโครงการฯ สถานประกอบกิจการเสนอ ช่ือเขารว มโครงการฯ (การสมัคร) มีการตรวจประเมินของคณะทำงานฯ การมอบโลรางวัลและเกยี รติบตั รใหกับ สถานประกอบกจิ การท่ีผานเกณฑการพิจารณา หลกั การสำคญั ของการดำเนินการสงเสรมิ ใหสถานประกอบกจิ การเขารวมโครงการฯ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน สงเสริมแรงงานสมั พนั ธพ งึ ยึดถอื เปนหลกั การในการดำเนนิ การ คอื 6

3.1 การเตรียมการและการวางแผน 1) ดำเนินการวางแผนเพ่ือกำหนดเปาหมายตามกลุมเปาหมายที่กำหนดแนวทางและรูปแบบ ในการสงเสริมแรงงานสัมพันธ ประชาสัมพันธสรางการรับรูในการพัฒนาสถานประกอบกิจการใหมีระบบ การบริหารจัดการแรงงานสัมพันธที่ดี โดยทำเปนหนังสือแจงใหสถานประกอบกิจการทราบ เพื่อใหเปนไปตาม แผนท่ีกำหนดไว 2) เจาหนาที่ตองมีความเขาใจ หลักเกณฑการพิจารณา เกณฑการใหคะแนนในคูมือแบบเสนอช่ือ/ แบบรับรองตนเองในแตละขอกำหนด 3) ศึกษานิยาม ความหมาย และคำจำกัดความในแตละขอกำหนดเพ่ือใชประกอบแนวทางการพิจารณา ชแ้ี จงสรางความเขาใจกับผแู ทนนายจางและลกู จาง 4) จัดเตรียมเอกสารแบบเสนอช่ือเพื่อพิจารณาเปนสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธ และสวสั ดกิ ารแรงงาน และเอกสารทุกอยา งที่เก่ยี วของกับขอกำหนดแตล ะขอ (ถามี) 3.2 แนวปฏิบตั ริ ะหวางการดำเนินการ 1) แนะนำตัว ชแ้ี จงถงึ วตั ถปุ ระสงคของการเขาไปเย่ยี มและสงเสรมิ สถานประกอบกิจการเขา รว มโครงการฯ 2) สรา งแรงจูงใจใหนายจา ง ลกู จางเห็นความสำคัญของการสมัครเขารวมโครงการฯ 3) ประชาสัมพันธสรางการรับรูเผยแพรเอกสารตาง ๆ ซ่ึงจัดเตรียมไวใหแกนายจาง ลูกจางเพ่ือ การศึกษาและเปนแนวทางประกอบการพิจารณาสถานประกอบกิจการสมัครเขารวมโครงการฯ ซึ่งควรจะแจง ช่ือเจาหนาท่ี หนวยงานที่ตั้ง หมายเลขโทรศัพท สำหรับติดตอไดอยางสะดวกในภายหลัง หากสหภาพแรงงาน นายจา งและลูกจา งตองการไดรับคำปรึกษาแนะนำเพิ่มเติม 3.3 แนวปฏบิ ตั หิ ลังการดำเนนิ การ 1) จัดทำรายงาน : สรุปผลการดำเนินโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบริหาร จดั การทด่ี ีดานแรงงานสมั พันธแ ละสวัสดกิ ารแรงงาน ดังนี้ 1.1 กจิ กรรมเชิญชวนสถานประกอบกิจการใหเขารวมโครงการสงเสรมิ สถานประกอบกิจการ ใหมีระบบการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธท่ีดี (การเชิญชวน) ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 กำหนดเปาหมาย ไมนอยกวารอยละ 60 ของสถานประกอบกิจการท่ีมีการเชิญชวนตองยื่นใบสมัครเขารวมโครงการฯ (ตามภาคผนวก ตารางแนบทา ย) โดยใหรายงานผลการเชิญชวนในระบบรายงานผลการปฏิบัติงานในระบบคอมพิวเตอรของ กรมฯ จำนวน 1 คร้งั (ภายในวนั ท่ี 31 มกราคม 2566) 1.2 กิจกรรมพัฒนาสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธท่ีดี กรณีสถานประกอบกิจการเขารวมโครงการฯ (การสมัคร) ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใหยื่นแบบเสนอช่ือ/ แบบรบั รองตนเอง (ใบสมัคร) ในรูปแบบเอกสาร ดังนี้ 1.2.1 สถานประกอบกิจการยื่นแบบเสนอชื่อ/แบบรับรองตนเอง (ใบสมัคร) เลมเล็กพรอม ผลการดำเนินงานและเอกสารหลักฐานในปที่ผานมา (ผลงานตั้งแตวันท่ี 1 มกราคม 2565 – 31 ธันวาคม 2565) ดวยรูปแบบเอกสาร ณ สรพ./สสค. ระหวางวันท่ี 1 ธันวาคม 2565 – 16 มกราคม 2566 พรอมทั้งใหคณะทำงาน ประเมนิ ผลคะแนนฯ ประจำกรุงเทพมหานคร/จังหวัดเปน ผูพจิ ารณาประเมินผลคะแนนสถานประกอบกิจการทง้ั หมด ที่สมัครเขารวมโครงการฯ เพ่ือนำขอมูลไปวางแผนการออกประเมินผลคะแนนสำหรับสถานประกอบกิจการ ท่สี มคั รฯ ปท่ี 1, 5, 10, 15, 20 7

1.2.2 การจัดสงแบบเสนอชื่อ/แบบรับรองตนเอง (ใบสมัคร) เลมเล็ก พรอมหลักฐาน ประกอบการพิจารณาประเมนิ ผลคะแนนสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสมั พันธและสวัสดิการแรงงาน ประจำป พ.ศ. 2566 (สงใหสำนักแรงงานสมั พนั ธ) มรี ายละเอยี ด ดังนี้ รายการ คุณสมบัติ หลักฐาน 1. แบบเสนอชอ่ื สถานประกอบกจิ การเขา รวมโครงการฯ 1. แบบเสนอช่ือฉบับจรงิ 1 ชุด - ปท ี่ 1 พรอมสำเนา 3 ชุด (เลมเล็ก) - ปท ี่ 5 2. หลกั ฐานทเี่ ปนผลการดำเนินงาน - ปท ่ี 10 ในรปู แบบแฟมเอกสาร/ซดี ี/เฟลซไดรฟ - ปท ี่ 15 3. สงหลักฐานตามขอ 1 และขอ 2 - ปท ่ี 20 ใหสำนักแรงงานสมั พันธ ภายในวันที่ 16 มกราคม 2566 2. แบบรบั รองตนเอง สถานประกอบกิจการเขา รว มโครงการฯ แบบรับรองตนเองฉบับจริง 1 ชุด (เลมเล็ก) - ปท่ี 2, 3, 4 เพอ่ื ธำรงรักษาสถานภาพ - ปที่ 6, 7, 8, 9 ใหสำนกั แรงงานสัมพันธ - ปท่ี 11, 12, 13, 14 ภายในวันท่ี 16 มกราคม 2566 - ปที่ 16, 17, 18, 19 - ปที่ 21 1.2.3 รายงานผลการสมัครในระบบรายงานผลการปฏิบัติงานในระบบคอมพิวเตอรของกรมฯ ภายในวันท่ี 31 มกราคม 2566 1.3 รายงานผลคะแนนสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน ประจำป พ.ศ. 2566 ใหกลุมงานสงเสริมแรงงานสัมพันธ สำนักแรงงานสัมพันธ ภายในวันท่ี 16 กุมภาพันธ 2566 ผานทาง โทรสาร 0 2660 2193 หรือ E-mail address : [email protected] ท้ังนี้ กลุมงาน สงเสรมิ แรงงานสัมพนั ธ จะจดั สงแบบรายงานผลคะแนนฯ ใหท ุกหนว ยงานเพอ่ื จัดทำรายละเอยี ดตอ ไป 2) สรุปและประเมินผล : การดำเนินโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบริหาร จดั การที่ดีดา นแรงงานสัมพันธและสวัสดกิ ารแรงงาน กิจกรรมพัฒนาสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบริหาร จัดการแรงงานสัมพันธที่ดี (สมัครเขารวมโครงการฯ) วามีปญหาอุปสรรคอยางไร ไดใหคำแนะนำอยางไร และควรมกี ารปรบั ปรงุ อยางไร นำเสนอตอ ผูบงั คบั บญั ชาตามลำดับชั้น 3) ดำเนินการตอเนื่องจากกิจกรรมพัฒนาสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบริหารจัดการ แรงงานสัมพันธที่ดี (สมัครเขารวมโครงการฯ) ตามโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมีระบบ การบริหารจัดการท่ีดีดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน เพื่อใหไดมาซึ่งผลสำเร็จตามข้ันตอนของ การเปนสถานประกอบกิจการท่ีมีระบบการบริหารจัดการที่ดีดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน โดยมีสถานประกอบกิจการเสนอช่ือเขารวมโครงการฯ การตรวจประเมินของคณะทำงานฯ การมอบโลรางวัล และเกียรติบัตรฯ 8

หมายเหตุ 1. กิจกรรม/โครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมรี ะบบการบริหารจัดการท่ีดีดานแรงงานสมั พันธ และสวัสดิการแรงงานเปนกิจกรรมท่ีดำเนินการเปนประจำทุกป ในปงบประมาณ 2566 กรมฯ ไดกำหนดเปาหมาย การพัฒนาสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธที่ดี (การสมัคร) และเชิญชวน สถานประกอบกิจการใหเขารว มโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมรี ะบบการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธที่ดี (การเชิญชวน) บรรจุในแผนปฏิบัติราชการกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานดวย จึงขอให สรพ./สสค. กำกับ การปฏิบัตงิ านใหเ ปนไปตามเปา หมาย (ตามภาคผนวกตารางแนบทาย) 2. ผลการดำเนนิ งานตองเปน ไปตามเปา หมาย 3. ดำเนินการตอเน่ืองใหบรรลุผลสำเร็จของการไดมาซึ่งสถานประกอบกิจการที่มีระบบการบริหาร จดั การท่ีดีดานแรงงานสัมพันธและสวสั ดิการแรงงาน ประจำปน้นั ๆ โดยมีสถานประกอบกิจการเขารวมโครงการฯ การประเมินพจิ ารณาของคณะทำงานฯ การมอบโลรางวัลและเกียรติบัตรฯ ตามรายละเอียดท่ีกรมฯ จะแจงให ดำเนินการในลำดบั ตอ ไป 4. กลุมเปา หมาย/เปา หมาย 4.1 กลมุ เปาหมาย การกำหนดกลมุ เปาหมายเพ่ือวางแผนเขาไปเยยี่ มและสงเสริมสถานประกอบกจิ การเขารว มโครงการ สงเสริมสถานประกอบการใหมีระบบการบริหารจัดการที่ดีดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงานใหพิจารณา จากหลกั เกณฑด ังน้ี 1) สถานประกอบกิจการท่ีจะสมัครเขารวมโครงการเปนสถานประกอบกิจการที่อยูภายใตบังคับ และปฏบิ ัติถูกตองตามกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ กฎหมายวา ดวยการคุมครองแรงงาน กรณีสถานประกอบ กิจการเปนนิตบิ ุคคลมหี นวยงานหลายหนวยงานหรือหลายสาขา สามารถสง เขารว มโครงการฯ ไดทุกหนวยงาน หรือทุกสาขา 2) การเขารวมสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน ไดแบงขนาด ของสถานประกอบกิจการเปน 3 ขนาด คือ สถานประกอบกิจการขนาดเลก็ มลี ูกจา ง จำนวน 50 – 299 คน สถานประกอบกจิ การขนาดกลาง มีลกู จา ง จำนวน 300 – 999 คน สถานประกอบกิจการขนาดใหญ มลี ูกจา ง จำนวน 1,000 คนขน้ึ ไป โดยแบง สถานประกอบกจิ การเปน 2 ประเภท คือ 1. สถานประกอบกิจการประเภทมีสหภาพแรงงาน เม่ือมีการจัดต้ังหรือมีลูกจางเปนสมาชิก ของสหภาพแรงงาน โดยใหระบุช่ือสหภาพแรงงานที่มีกิจกรรมสำหรับลูกจางในสถานประกอบกิจการมากท่ีสุด เพียง 1 สหภาพแรงงาน 2. สถานประกอบกิจการประเภทไมมีสหภาพแรงงาน ในกรณีท่ีไมมีการจัดตั้งหรือไมมีลูกจาง เปนสมาชิกของสหภาพแรงงาน ใหระบุช่ือคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการเปนองคกร ในระบบทวิภาคี หากมีกลุมกิจกรรม/ชมรมในระบบทวิภาคีท่ีมีบทบาทในการสงเสริมแรงงานสัมพันธและ การจัดสวสั ดิการแรงงานในสถานประกอบกิจการ เชน คณะกรรมการรว มปรกึ ษาหารอื หรอื กลุมสรา งคุณภาพ (Q.C.C) หรือกลุมกิจกรรม 5 ส. ท่ีมีบทบาทหนาที่ในการเสริมสรางแรงงานสัมพันธสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของลูกจางในสถานประกอบกิจการ เปนตน สามารถนำผลการดำเนินงานมาประกอบการพิจารณาประเมิน ผลคะแนนตามขอกำหนดได 9

3) สถานประกอบกิจการแหงใหมท่ีผานการสงเสริมแรงงานสัมพันธดวยระบบทวิภาคีและสงเสริม แรงงานสัมพันธแบบหุนสวน หรือพิจารณาจากสถานประกอบกิจการที่เคยผานการตรวจคุมครองแรงงาน ตรวจความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน และเจาหนาท่ีพิจารณาแลวเห็นวา มีการบรหิ ารจัดการระหวา งนายจาง ลูกจา งดวยระบบทวิภาคที ดี่ ีในสถานประกอบกจิ การ 4.2 เปา หมาย 1) กิจกรรมเชิญชวนสถานประกอบกิจการใหเขารวมโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการ ใหมรี ะบบการบรหิ ารจดั การแรงงานสมั พนั ธท ีด่ ี (การเชญิ ชวน) หนวยงาน สปก. (แหง) 1) สำนกั งานสวัสดิการและคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานครพน้ื ที่ 306 2) สำนกั งานสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงานจังหวดั (76 จังหวัด) 2,024 รวม 2,330 2) กจิ กรรมพัฒนาสถานประกอบกจิ การใหมีระบบการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธท ด่ี ี (การสมคั ร) หนว ยงาน สปก. (แหง) 1) สำนักงานสวัสดกิ ารและคุมครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพื้นท่ี 183 2) สำนักงานสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงานจังหวดั (76 จังหวัด) 1,215 รวม 1,398 5. หลักฐานอางอิง (การรายงานผลการดำเนนิ งาน) 5.1 แบบรายงานผลโครงการสงเสรมิ สถานประกอบกจิ การใหม ีระบบการบริหารจดั การท่ีดีดา นแรงงานสัมพันธ และสวัสดิการแรงงาน กิจกรรมเชิญชวนสถานประกอบกิจการใหเขารวมโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการ ใหมีระบบการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธท่ีดี (การเชิญชวน) ดวยระบบคอมพิวเตอรของกรมฯ ภายใน วันที่ 31 มกราคม 2566 5.2 แบบรายงานผลโครงการสงเสริมสถานประกอบกจิ การใหม ีระบบการบรหิ ารจดั การที่ดีดา นแรงงานสมั พนั ธ และสวัสดิการแรงงาน กิจกรรมพัฒนาสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธท่ีดี (การสมัคร) ดว ยระบบคอมพิวเตอรของกรมฯ ภายในวนั ที่ 31 มกราคม 2566 5.3 โครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบริหารจัดการท่ีดีดานแรงงานสัมพันธและ สวัสดิการแรงงาน ประจำป 2566 กำหนดใหสถานประกอบกิจการสมัครเขารวมโครงการฯ ระหวางวันที่ 1 ธันวาคม 2565 – 16 มกราคม 2566 1) รายงานผลคะแนนสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน ประจำป พ.ศ. 2566 ภายในวันที่ 16 กุมภาพันธ 2566 2) สง แบบเสนอช่ือ/แบบรับรองตนเอง เพื่อพิจารณาเปน สถานประกอบกิจการดเี ดนดานแรงงานสัมพนั ธ และสวสั ดิการแรงงาน ประจำป พ.ศ. 2566 ภายในวนั ที่ 16 กุมภาพนั ธ 2566 6. การนบั ผลงาน แหง นับจากจำนวนสถานประกอบกิจการท่ีสมัครเขารวมโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมี ระบบการบริหารจัดการทีด่ ีดา นแรงงานสมั พันธและสวสั ดิการแรงงาน ประจำป พ.ศ. 2566 10

7. การรายงานผลการปฏิบัติงาน ในระบบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Web Application) ของกรม ระบบงาน โปรแกรมบันทึกแกไ ขขอ มูล โปรแกรมพิมพรายงาน 7.1 กิจกรรมเชิญชวนสถานประกอบกิจการใหเขารวมโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมีระบบ การบริหารจดั การแรงงานสมั พันธท่ีดี http://eservice.labour.go.th/dlpw บนั ทกึ รายงาน วิชาการและสารสนเทศ MIS1I020 : บันทึกผลงานกิจกรรม MIS1R030 : รายงาน สำคัญ โดยเลอื กแบบรายงาน 22 ผลการปฏบิ ตั งิ านจำแนก งานแรงงานสัมพนั ธ ตามกจิ กรรม ในสว นของขอมูลกจิ กรรม โดยเลือกประเภทกิจกรรม 064 สง เสรมิ และเชิญชวนสปก. 064 สง เสรมิ และ ใหมีระบบการบริหารจดั การท่ีดีฯ เชิญชวนสปก.ใหม รี ะบบ (การเชญิ ชวน) และบนั ทึกขอมลู ในชอง การบรหิ ารจัดการที่ดฯี จำนวน แหง และ คน พรอ มทัง้ บันทึก (การเชิญชวน) และเลอื ก ขอ มลู ในสวนของรายชือ่ ผูรับผดิ ชอบ/ แบบรายงาน 22 ผูรายงานดว ย งานแรงงานสมั พันธ 7.2 กจิ กรรมพัฒนาสถานประกอบกจิ การใหม รี ะบบการบรหิ ารจัดการแรงงานสมั พันธท ่ีดี http://eservice.labour.go.th/dlpw บนั ทกึ รายงาน วิชาการและสารสนเทศ MIS1I020 : บันทึกผลงานกิจกรรม MIS1R030 : รายงาน สำคญั โดยเลือกแบบรายงาน 22 ผลการปฏิบัติงานจำแนก งานแรงงานสัมพันธ ตามกจิ กรรม ในสว นของขอ มูลกิจกรรม โดยเลือกประเภทกิจกรรม 065 สมคั รเขารวมโครงการเพื่อให 065 สมคั รเขารวม มีระบบการบริหารจัดการที่ดีฯ โครงการเพ่ือใหม ีระบบ (สงใบสมัคร) และบันทึกขอมูลในชอง การบริหารจดั การทด่ี ฯี จำนวน แหง และ คน (สง ใบสมัคร) กรณีสถานประกอบกจิ การผานเกณฑ 066 สปก.ผานเกณฑ การตรวจพจิ ารณาตามโครงการฯ การพิจารณาใหม รี ะบบ ใหเ ลือกรหสั กจิ กรรม การบรหิ ารจดั การที่ดีฯ (ผานเกณฑ) และเลือกแบบ 066 สปก.ผา นเกณฑการพิจารณา รายงาน 22 งานแรงงาน ใหมีระบบการบริหารจัดการท่ีดีฯ สัมพันธ (ผานเกณฑ) และบนั ทกึ ขอ มูลในชอง จำนวน แหง และ คน พรอมท้ังบนั ทึก ขอ มูลในสว นของรายชือ่ ผรู ับผดิ ชอบ/ ผรู ายงานดว ย 11

8. เงนิ งบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจำป พ.ศ. 2566 แผนงาน : พื้นฐานดานการสรางโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ผลผลิตที่ 1 : แรงงานไดรับการคุมครองสิทธิ และนายจางมีการบริหารจัดการดานแรงงานตาม กฎหมายสอดคลองกับมาตรฐานแรงงาน กิจกรรมหลักท่ี 1 : กำกับ ดูแลใหนายจา งปฏิบัติถูกตองตามกฎหมาย งบดำเนินงาน หมวดคาตอบแทน ใชส อยและวัสดุ รหัส 300 ท้งั น้ี งบประมาณที่ไดจัดสรรใหใชดำเนนิ โครงการท้ังหมดที่เก่ียวของกับโครงการสง เสริมสถานประกอบ กจิ การใหมีระบบการบริหารจดั การท่ีดดี านแรงงานสัมพันธแ ละสวัสดิการแรงงาน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 ท่กี ำหนดไวน อกเหนือจากกิจกรรมพัฒนาสถานประกอบกิจการใหมีระบบการบรหิ ารจัดการแรงงานสัมพันธที่ดี (สมคั รเขา รว มโครงการฯ) ดวย 9. หนวยงานที่รับผดิ ชอบ หากมีขอสงสัยเกี่ยวกับการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมีระบบ การบริหารจดั การที่ดดี า นแรงงานสัมพันธแ ละสวัสดกิ ารแรงงาน สามารถสอบถามขอ มูลเพิม่ เตมิ ไดที่ สำนกั แรงงานสัมพันธ กรมสวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน กลุมงานสงเสริมแรงงานสัมพันธ โทรศัพท/โทรสาร : 0 2660 2190, 0 2660 2192 – 4 กลมุ งานยุทธศาสตรแรงงานสัมพันธ โทรศพั ท/ โทรสาร : 0 2260 2160 12

กิจกรรมที่ 3 • ไกลเกลี่ยขอ พิพาทแรงงานและขอ ขัดแยง (สรส./สสค.) 1. ลักษณะกิจกรรม 1.1 การไกลเกล่ียขอพิพาทแรงงาน เปนการดำเนินการของพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงาน ในกระบวนการรวมเจรจาตอรองเพื่อหาทางยุติขอพิพาทแรงงานระหวางนายจา งกับลูกจาง หรือระหวางนายจาง หรอื สมาคมนายจา งกับสหภาพแรงงานตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 หรอื ระหวางฝายบริหาร กับพนักงานรฐั วสิ าหกจิ ตามพระราชบญั ญตั แิ รงงานรัฐวิสาหกิจสัมพนั ธ พ.ศ. 2543 1.2 การไกลเกล่ียขอขัดแยง เปนการดำเนินการของเจาหนาท่ีในการรวมเจรจาตอรองเพื่อหาทางยุติ ขอขัดแยงในดานแรงงานสัมพันธ ซ่ึงมิใชขอพิพาทแรงงานตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 หรอื พระราชบัญญัตแิ รงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. 2543 2. วตั ถปุ ระสงค 2.1 เพ่ือแกไขปญหาขอพิพาทแรงงานและขอขัดแยงใหย ุติลงไดโดยเร็ว เปนธรรมแกทุกฝาย เกดิ ความสงบ เรียบรอยดานแรงงาน 2.2 เพอ่ื ใหนายจา งและลกู จางสามารถทำงานรว มกนั อยางสันตสิ ขุ 3. แนวทางปฏิบัติตามกจิ กรรม 3.1 การไกลเกลีย่ ขอ พพิ าทแรงงาน เม่ือพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงานไดรับหนังสือแจงขอพิพาทแรงงานใหดำเนินการตรวจสอบ วาไดมีการดำเนินการตามข้ันตอนและวิธีการที่กำหนดไวในกฎหมายแรงงานสัมพันธหรือไม และจัดทำหนังสือ เชิญผูแทนการเจรจาทั้งสองฝายเขารวมเจรจาไกลเกลี่ย จากน้ันใหด ำเนนิ การไกลเกลี่ยเพ่ือหาทางยุติขอพิพาท แรงงานตามระยะเวลาและขั้นตอนท่ีกฎหมายกำหนด โดยรายละเอียดของการปฏิบัติงาน ปรากฏตามแนวปฏิบัติ ดา นการระงบั ขอ พิพาทแรงงาน ตามคูมอื ปฏิบตั ิงานดา นแรงงานสัมพันธ (สำหรบั เจาหนา ท)ี่ กสร.7/2556 ทั้งนี้ ไมว าจะเปน การปฏิบตั ิงานในข้ันตอนใด อาทิ การรับแจงขอ เรียกรอง การรบั แจง ขอ พพิ าทแรงงาน การดำเนนิ การไกลเ กล่ยี ขอ พพิ าทแรงงาน การชีข้ าดขอพิพาทแรงงาน การนดั หยุดงาน/ปดงาน ใหบ ันทึกขอมูล ในระบบรายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Web Application) ของกรมทนั ที และรายงานผูบังคับบัญชาทราบตามลำดับช้นั 3.2 การไกลเกล่ยี ขอขัดแยง เม่ือเจาหนาท่ีไดรับหนังสือรองเรียนหรือรับทราบขอขัดแยง ใหจัดทำหนังสือเชิญผูแทนท้ังสองฝาย เขารวมเจรจาไกลเกล่ีย จากนั้นใหดำเนินการไกลเกล่ียเพื่อหาทางยุติขอขัดแยง โดยรายละเอียดของ การปฏิบัติงานปรากฏตามแนวปฏิบัติดานการระงบั ขอพิพาทแรงงาน ตามคูมือปฏิบัติงานดานแรงงานสัมพันธ (สำหรับเจา หนา ที)่ กสร.7/2556 ท้ังน้ี ไมวาจะเปนการปฏิบัติงานในข้ันตอนใด อาทิ การรับแจงขอขัดแยง การดำเนินการไกลเกลี่ย ขอ ขดั แยง การเกดิ การผละงาน ใหบ นั ทึกขอ มลู ในระบบรายงานผลการปฏิบัตงิ าน (Web Application) ของกรมทนั ที และรายงานผูบงั คับบญั ชาทราบตามลำดับชั้น 13

4. กลุมเปาหมาย/เปา หมาย 4.1 กลุมเปา หมาย 1) นายจา ง สมาคมนายจาง ลูกจา ง และสหภาพแรงงานตามกฎหมายวา ดวยแรงงานสัมพนั ธ 2) รัฐวิสาหกิจ และสหภาพแรงงานรฐั วิสาหกิจตามกฎหมายวา ดวยแรงงานรัฐวสิ าหกิจสมั พันธ 4.2 เปาหมาย หนวยงาน สปก. (แหง) 1) สำนักแรงงานสัมพนั ธ 30 2) สำนักงานสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงานจังหวัด (15 จงั หวัด) 170 รวม 200 5. หลกั ฐานอา งอิง รายงานผลการไกลเกลี่ยขอพิพาทแรงงานและขอขัดแยง (LRS1R020 : แบบ ส.รส. 3 การไกลเกลี่ยระงับ ขอพิพาทแรงงาน) รหัสกิจกรรม LRS1R040 : แบบ ส.รส. 6 การแกไขขอขัดแยงระหวางนายจาง ลูกจาง ประเด็นที่ ทำใหเ กดิ ขอขัดแยง และผลการแกไขขอขดั แยง 6. การนับผลงาน แหง/คร้ัง นับจากจำนวนแหงของสถานประกอบกิจการและรัฐวิสาหกิจท่ีเกิดขอพิพาทแรงงาน/ ขอขัดแยง และจำนวนครง้ั ที่ไดรับการไกลเกล่ียโดยพนักงานประนอมขอ พิพาทแรงงาน/เจาหนา ท่ี 7. การรายงานผลการปฏบิ ัติงาน ในระบบรายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Web Application) ของกรม ระบบงาน โปรแกรมบนั ทึกแกไ ขขอ มูล โปรแกรมพิมพร ายงาน http://service.labour.go.th/dlpw การไกลเกล่ียขอพิพาทแรงงาน รายงาน แรงงานสมั พันธ บันทึก LRS1R020 : แบบ ขอขดั แยง ขอเรียกรอง ขอพิพาท LRS1I010 : บันทกึ ขอ เรยี กรอง ส.รส. 3 การไกลเ กลี่ย แรงงาน และการไกลเ กล่ียขอ พิพาท ระงับขอพิพาทแรงงาน กรณกี ารช้ขี าด LRS1I040 : บนั ทกึ การชีข้ าด ขอพพิ าทแรงงาน และบันทกึ รายละเอยี ดใหถ ูกตอ ง ครบถว น การไกลเ กลีย่ ขอขดั แยง รายงาน บันทกึ LRS1R040 : แบบ เลอื กรหัส LRS1I030 : บนั ทึก ส.รส. 6 การแกไขขอ ขดั แยง ระหวา งนายจา ง – ลูกจาง ขอขัดแยง ประเด็นท่ีทำใหเ กิด และบันทึกรายละเอียดใหถูกตอ ง ขอ ขดั แยงและผลการแกไข ครบถวน ขอ ขัดแยง 14

หมายเหตุ : ผลการปฏิบัติงานของกิจกรรมไกลเกล่ียขอพิพาทแรงงานและขอขัดแยง ใหนำรายงานจาก แบบ ส.รส. 3 และแบบ ส.รส. 6 มารวมกนั 8. เงนิ งบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจำป พ.ศ. 2566 แผนงาน : พื้นฐานดานการสรางโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ผลผลิตที่ 1 : แรงงานไดรับการคุมครองสิทธิ และนายจางมีการบริหารจัดการดานแรงงานตาม กฎหมายสอดคลองกับมาตรฐานแรงงาน กิจกรรมหลักท่ี 1 : กำกับ ดูแลใหนายจางปฏิบตั ิถูกตองตามกฎหมาย งบดำเนินงาน หมวดคา ตอบแทน ใชสอยและวัสดุ รหัส 300 9. หนวยงานท่รี บั ผิดชอบ หากมีขอสงสัยเก่ียวกับการดำเนินงานตามกิจกรรมไกลเกล่ียขอพิพาทแรงงานและขอขัดแยง สามารถสอบถาม ขอมลู เพมิ่ เตมิ ไดท ่ี สำนกั แรงงานสมั พนั ธ กรมสวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน กลุมงานประนอมขอพพิ าทแรงงานและขอ ขดั แยง โทรศพั ท/ โทรสาร : 0 2660 2166, 0 2660 2170 กลุม งานยุทธศาสตรแรงงานสมั พนั ธ โทรศพั ท/โทรสาร : 0 2660 2160 15

กจิ กรรมท่ี 4 • จดทะเบยี นขอตกลงเก่ยี วกับสภาพการจา งและ คําช้ขี าดขอ พพิ าทแรงงาน (สรส./สสค.) 1. ลักษณะกจิ กรรม การจดทะเบียนขอตกลงเก่ียวกับสภาพการจางหรือคำช้ีขาดขอพิพาทแรงงาน คือ การจดทะเบียน ขอตกลงเก่ียวกับสภาพการจาง ตามมาตรา 18 และการจดทะเบียนคำช้ีขาดขอพิพาทแรงงาน ตามมาตรา 29 แหงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 และการจดทะเบียนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ตามมาตรา 27 แหง พระราชบญั ญตั แิ รงงานรฐั วิสาหกิจสัมพนั ธ พ.ศ. 2543 คำนิยาม/ความหมายท่ีเกี่ยวของ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง หมายถึง ขอตกลงระหวางนายจางกับลูกจาง หรือระหวางนายจางหรือ สมาคมนายจา งกบั สหภาพแรงงาน หรอื ระหวางรัฐวิสาหกิจกับสหภาพแรงงานรัฐวสิ าหกิจ เกี่ยวกบั สภาพการจาง ซึ่งไดมาจากการรวมเจรจาตอรองกันเอง หรือจากการไกลเกล่ียของพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงานและ มีการทำเปนหนังสือลงลายมอื ช่อื ผแู ทนในการเจรจาท้งั สองฝา ย คำช้ีขาดขอพิพาทแรงงาน หมายถึง คำตัดสินขอพิพาทแรงงานระหวางนายจางกับลูกจาง หรือระหวาง นายจางหรือสมาคมนายจางกับสหภาพแรงงาน เก่ียวกับสภาพการจาง โดยบุคคลหรือคณะบุคคลในฐานะ ผชู ีข้ าดขอพพิ าทแรงงาน ซงึ่ นายจา งและลกู จา งไดตกลงกนั แตงตั้งขึน้ เพื่อช้ขี าดขอพิพาทแรงงานทีต่ กลงกันไมได 2. วตั ถปุ ระสงค เพือ่ ใหขอ ตกลงฯ มีสภาพบงั คบั เปนไปตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติ แรงงานรฐั วิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. 2543 3. แนวทางปฏบิ ตั ิตามกจิ กรรม การปฏิบัติงานตามกิจกรรมการจดทะเบียนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางและคำช้ีขาดขอพิพาทแรงงาน มดี งั นี้ 3.1 เมื่อไดรับคำขอจดทะเบียนขอตกลงฯ หรือมีหนังสือนำสงคำช้ีขาดมาจดทะเบียน ใหตรวจสอบ ความครบถวนของเอกสารประกอบคำขอจดทะเบียน ซ่ึงไดแก ขอตกลงฯ หรือคำชี้ขาดพรอมสำเนาขอเรียกรอง และหลักฐานการแตง ตั้งผแู ทนเจรจาของทง้ั สองฝา ย 3.2 ตรวจสอบเอกสารและพจิ ารณาขอ เทจ็ จรงิ ตามขอกฎหมาย 3.3 จดั ทำหนังสอื เสนอเรอ่ื งพรอ มความเหน็ ใหอธบิ ดีหรือผูซึ่งอธบิ ดมี อบหมาย เพ่ือพจิ ารณาจดทะเบียน 3.4 มีหนังสือแจงผลการจดทะเบียนใหนายจางหรือผูช้ีขาดขอพิพาทแรงงานทราบ และมอบสำเนาขอตกลง หรอื สำเนาคำชี้ขาดท่ไี ดร ับจดทะเบยี นแลวใหแ กน ายจางหรอื ผูชข้ี าดทย่ี ่นื คำขอ และลูกจางหรือสหภาพแรงงานฯ แลว แตกรณี 3.5 บันทึกขอมูลลงในระบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (Web Application) ของกรม โดยกรอกรายละเอียด ใหถ กู ตอ งครบถว น (รายละเอียดเพิ่มเติมตามคูมือปฏิบตั ิงานดานแรงงานสัมพันธ (สำหรับเจา หนา ท่ี) กสร.7/2556) 16

4. กลุมเปา หมาย/เปา หมาย 4.1 กลุมเปาหมาย นายจาง / รัฐวิสาหกจิ 4.2 เปาหมาย หนวยงาน สปก. (แหง) 1) สำนักแรงงานสมั พันธ 44 2) สำนักงานสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงานจงั หวดั (13 จังหวัด) 306 รวม 350 5. หลักฐานอางองิ รายงานผลการจดทะเบียนขอตกลงเก่ียวกับสภาพการจางหรือคำช้ีขาดขอพิพาทแรงงาน (LRS1R070 : รายงานการจดทะเบียนขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจาง) 6. การนับผลงาน แหง นับจากจำนวนแหงของสถานประกอบกิจการ/รัฐวิสาหกิจที่ไดรับการจดทะเบียนขอตกลงเก่ียวกับ สภาพการจา งหรือคำชข้ี าดขอพิพาทแรงงาน 7. การรายงานผลการปฏิบัตงิ าน ในระบบรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน (Web Application) ของกรม ระบบงาน โปรแกรมบันทึกแกไ ขขอ มูล โปรแกรมพมิ พร ายงาน http://eservice.labour.go.th/dlpw บนั ทกึ รายงาน แรงงานสมั พนั ธ เลือกรหสั LRS1I020 : บันทึก LRS1R070 : รายงาน ขอขัดแยง ขอเรียกรอง ขอพิพาท ทะเบยี นขอตกลงเก่ยี วกบั สภาพการจาง การจดทะเบยี นขอตกลง แรงงาน และบันทึกรายละเอยี ดใหถกู ตอ ง เกี่ยวกับสภาพการจา ง ครบถว น 8. เงนิ งบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจำป พ.ศ. 2566 แผนงานพื้นฐานดานการสรางโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ผลผลิตที่ 1 : แรงงานไดรับการคุมครองสิทธิ และนายจางมีการบริหารจัดการดานแรงงานตาม กฎหมายสอดคลองกับมาตรฐานแรงงาน กิจกรรมหลักที่ 1 : กำกับ ดูแลใหนายจางปฏิบตั ิถูกตองตามกฎหมาย งบดำเนนิ งาน หมวดคา ตอบแทน ใชส อยและวัสดุ รหสั 300 9. หนวยงานท่รี ับผิดชอบ หากมีขอสงสัยเก่ียวกับการดำเนินงานตามกิจกรรมจดทะเบียนขอตกลงเก่ียวกับสภาพการจางและคำช้ีขาด ขอ พพิ าทแรงงาน สามารถสอบถามขอ มลู เพม่ิ เติมไดที่ สำนักแรงงานสมั พนั ธ กรมสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน 17 กลมุ งานประนอมขอพิพาทแรงงานและขอขัดแยง โทรศพั ท/โทรสาร : 0 2660 2166, 0 2660 2170 กลมุ งานยทุ ธศาสตรแ รงงานสัมพันธ โทรศัพท/ โทรสาร : 0 2660 2160

กิจกรรมท่ี 5 • จัดงานวนั แรงงานแหงชาติ (สรส./สสค.) 1. ลกั ษณะกิจกรรม เปนการสนับสนุนการจัดกิจกรรมการจัดงานวันแรงงานแหงชาติ ในวันท่ี 1 พฤษภาคม ของทุกป เพ่ือรณรงค ประชาสมั พันธใหนายจา ง ลกู จาง ประชาชน ผูใชแรงงาน ทง้ั ในสวนกลางและสวนภูมภิ าค ไดตระหนกั ถงึ คุณประโยชน ของผูใชแรงงานท่ีทำประโยชนแกเศรษฐกิจของประเทศ และเพ่ือใหเกิดความสมานฉันทและความสัมพันธ ขององคกรนายจาง องคกรลูกจาง ทั้งน้ี รูปแบบของการจัดงาน ประกอบดวย พิธีทางศาสนา การเดินรณรงค การเสนอประเดน็ ขอเรียกรองของผูใ ชแรงงาน การแขงขันกฬี าระหวางผูใชแรงงาน การจัดนิทรรศการ และการแสดง บันเทงิ ตาง ๆ เปนตน 2. วตั ถุประสงค 2.1 เพ่อื ใหประชาชนทั่วไปไดตระหนักและเหน็ ถึงความสำคญั ของผใู ชแรงงานท่ไี ดท ำประโยชนตอประเทศชาติ 2.2 เพ่อื ใหเ กดิ ความสมานฉนั ทและความเขมแข็งขององคก รนายจา ง องคก รลกู จา ง 3. แนวทางปฏิบตั ิตามกจิ กรรม 3.1 การเตรยี มการและการวางแผน 1) ประชมุ เพอ่ื วางแผนการดำเนนิ งานรูปแบบการสนบั สนนุ และการจัดงานวนั แรงงานแหง ชาติ 2) ประชาสัมพันธเชิญชวนใหกลุมเปาหมายเขารวมงานวันแรงงานแหงชาติท่ีหนวยงานจัดข้ึน เชน หนังสอื เชิญ เว็บไซตข องหนว ยงาน รายการวทิ ยุ บอรด ประชาสมั พันธ 3) ใหการสนับสนุนการจัดงานวันแรงงานแหงชาติ เชน งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ สถานท่ีในการประชุม การอำนวยความสะดวก การติดตอประสานงาน ตลอดจนในงานอ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับการรองขอจากลูกจาง ตามความเหมาะสม 3.2 แนวปฏิบตั ริ ะหวางการดำเนนิ งาน จัดกจิ กรรมเพือ่ ใหเห็นความสำคัญของผูใชแรงงานในวนั แรงงานแหง ชาติ เชน 1) กิจกรรมทำบญุ ตักบาตรรวมกับองคการแรงงานหรือเครือขายแรงงาน 2) กจิ กรรมสาธารณประโยชนรวมกบั องคก ารแรงงานหรอื เครอื ขา ยแรงงาน 3) กจิ กรรมการเดินรว้ิ ขบวนรณรงคตา นยาเสพตดิ ของผูใชแ รงงาน 4) กิจกรรมแขงขันเกมส/กีฬา (สากลและกีฬาพื้นบาน) ของผูใชแรงงาน เชน ฟุตบอล แชรบอล ชกั เยอ ว่งิ กระสอบ ปด ตาตีหมอ 5) การจำหนา ยสินคาราคาประหยดั และสินคา OTOP 6) การใหบริการตรวจสุขภาพและการบริจาคโลหิต 7) การใหบริการของหนวยงานกระทรวงแรงงาน เชน การนัดพบแรงงาน แนะแนวอาชีพ และ ฝก ฝม อื แรงงาน 8) การจัดนิทรรศการของหนวยงานกระทรวงแรงงาน เชน ความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) การปองกันและแกไขปญ หาความขัดแยงดานแรงงาน การเจรจาตอ รองโดยหลักสุจริตใจ การสง เสริมแรงงานสัมพนั ธ ความรเู กีย่ วกับกฎหมายแรงงาน และกฎหมายอื่น ๆ ทเี่ กยี่ วของ 9) กิจกรรมการแสดงดนตรี การประกวดรองเพลงของผูใชแรงงาน การประกวดขวัญใจแรงงาน และกิจกรรมนันทนาการอื่น ๆ พรอ มแจกของรางวัล 10) กจิ กรรมถวายสตั ยปฏญิ าณ และรว มรองเพลงสดุดีและเพลงสรรเสรญิ พระบารมี 18

3.3 แนวปฏบิ ตั ิหลงั การดำเนนิ การ 1) จัดทำรายงานสรุปผลการจัดงานวันแรงงานแหงชาติ เพื่อรายงานผูบังคับบัญชา และแจงให กรมสวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงานทราบ 2) บนั ทกึ ขอ มูลลงในระบบรายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Web Application) ของกรม 4. กลมุ เปาหมาย/เปา หมาย 4.1 กลุมเปาหมาย ลูกจา ง องคก ารแรงงาน 4.2 เปา หมาย หนวยงาน จำนวน (คร้งั ) 1) สำนกั แรงงานสัมพนั ธ 1 2) สำนกั งานสวสั ดกิ ารและคุม ครองแรงงานจงั หวัด (76 จังหวัด) 76 รวม 77 5. หลกั ฐานอา งองิ 5.1 รายงานผลการจดั งานวนั แรงงานแหง ชาติ 5.2 ภาพถา ยการจัดกจิ กรรมตา ง ๆ ในการจัดงานวนั แรงงานแหง ชาติ 6. การนบั ผลงาน คร้งั นับจากจำนวนคร้ังท่ีเขาไปสนับสนุนและจัดกจิ กรรมเพื่อรณรงคใหเห็นความสำคัญของผใู ชแ รงงาน ในวันแรงงานแหงชาติ (1 พฤษภาคม ของทกุ ป) 7. การรายงานผลการปฏิบัตงิ าน ในระบบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Web Application) ของกรม ระบบงาน โปรแกรมบนั ทกึ แกไขขอ มลู โปรแกรมพมิ พร ายงาน http://eservice.labour.go.th/dlpw บนั ทกึ รายงาน วิชาการและสารสนเทศ MIS1I020 : บันทึกผลงานกิจกรรม MIS1R030 : รายงาน สำคญั โดยเลอื กแบบรายงาน 22 ผลการปฏิบตั งิ านจำแนก งานแรงงานสมั พนั ธ ตามกิจกรรม ในสวนของขอมูลกจิ กรรม ใหเลอื กรหัส โดยเลอื กประเภทกิจกรรม 017 : จัดงานวันแรงงานแหง ชาติ 017 : จัดงาน และบนั ทึกขอมูลในชองจำนวน “คร้งั ” วนั แรงงานแหงชาติ และ และ “คน” พรอ มทง้ั บนั ทึกขอมูลในสว น เลอื กแบบรายงาน 22 ของรายช่ือผรู บั ผดิ ชอบ/ผูรายงานดวย งานแรงงานสมั พันธ 19

8. เงินงบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจำป พ.ศ. 2566 แผนงาน : พื้นฐานดานการสรางโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ผลผลิตที่ 1 : แรงงานไดรับการคุมครองสิทธิ และนายจางมีการบริหารจัดการดานแรงงานตาม กฎหมายสอดคลองกับมาตรฐานแรงงาน กิจกรรมหลักท่ี 1 : กำกับ ดูแลใหนายจางปฏิบตั ิถูกตองตามกฎหมาย งบดำเนนิ งาน หมวดคา ตอบแทน ใชส อยและวสั ดุ รหสั 300 9. หนวยงานทีร่ ับผิดชอบ หากมีขอสงสัยเก่ียวกับการดำเนินงานตามกิจกรรมจัดงานวันแรงงานแหงชาติ สามารถสอบถามขอมูล เพิ่มเติมไดท ี่ สำนกั แรงงานสัมพันธ กรมสวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงาน กลมุ งานทะเบียนกลาง โทรศพั ท/ โทรสาร : 0 2660 2165 กลมุ งานยุทธศาสตรแรงงานสัมพนั ธ โทรศพั ท/ โทรสาร : 0 2660 2160 20

กจิ กรรมท่ี 6 • สง เสริมระบบแรงงานสมั พนั ธแบบหนุ สวนดวยรูปแบบ (Model) ที่เหมาะสม * ** (สรส./สรพ./สสค.) 1. ลักษณะกิจกรรม การรณรงคสง เสริมใหสถานประกอบกิจการมีการบริหารแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน เปนการดำเนินการ ใหค วามรู ช้ีแจง แนะนำ เพ่ือใหสถานประกอบกิจการมีแรงงานสัมพันธเชิงสรางสรรค มุง เนน การบริหารจัดการ แรงงานสมั พนั ธแ บบหุนสวนโดยการสรางรปู แบบ Model เพ่อื ใหเกิดความชัดเจนในการแนะนำรูปแบบการบริหาร จัดการแรงงานสัมพันธตามความเหมาะสมของสถานประกอบกิจการแตละขนาด เนนการรณรงคสงเสริม แรงงานสัมพันธเชิงคุณภาพ โดยดำเนินการตอเน่ืองระยะยาวตามแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป สรางความสัมพันธ และความรวมมือที่ดีตอกันในสถานประกอบกิจการ เพื่อปฏิรูปกรอบแนวคิดแรงงานสัมพันธแบบดั้งเดิมจาก “การรวมตัวของลูกจางเพื่อการตอ รองกับนายจา ง” ไปสูก รอบความคิดใหม คือ “นายจางและลูกจา งเปนหุนสวน การทำงานรวมกัน” สงเสริมใหมีการนำระบบแรงงานสัมพันธไปใชจัดการกับปญหาขอขัดแยงที่เกิดข้ึนใหยุติลง โดยเร็ว 2. วตั ถปุ ระสงค 2.1 เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธเชิงคุณภาพ รองรับการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน ไปสู Thailand 4.0 ตามแผนยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป 2.2 เพอ่ื สรา งกรอบแนวคิดแรงงานสัมพันธแบบดง้ั เดิมจาก “การรวมตวั ของลูกจา งเพ่อื การตอรองกับนายจาง” ไปสูกรอบความคดิ ใหม คือ “นายจางและลกู จา งเปน หนุ สวนการทำงานรวมกัน” 2.3 เพื่อสงเสรมิ ความสัมพันธแ ละความเขาใจอนั ดรี ะหวางนายจา งกับลูกจางในระยะยาว 2.4 เพื่อใหคำปรึกษาแนะนำ โนมนาวใหนายจาง ลูกจาง ตระหนักถึงความสำคัญของการสรางความรวมมือ ในสถานประกอบกจิ การ เพือ่ นำไปสูก ารปรับปรงุ สภาพการจา งและสภาพการทำงานที่เหมาะสม 2.5 เพอ่ื สงเสริมใหม ีระบบการรวมปรึกษาหารอื ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ 2.6 เพื่อรับทราบปญหา อุปสรรคและแสวงหามาตรการที่เหมาะสมในการปองกันและแกไขปญหา ความขัดแยงระหวางนายจางกบั ลูกจา ง 2.7 เพ่อื เผยแพรค วามรูแ ละเอกสารท่ีเกี่ยวของกับการแรงงานสมั พันธ 2.8 เพ่ือลดจำนวนและบรรเทาความรุนแรงของปญหาขอพิพาทแรงงานและขอขัดแยงระหวางนายจาง กับลูกจา ง 3. แนวทางปฏบิ ตั ิตามกจิ กรรม หลักการสำคัญของการสงเสริมแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน คือ การเขาไปสงเสริมแรงงานสัมพันธ ในสถานประกอบกิจการเพอ่ื เสริมสรา งความสมั พนั ธและความเขา ใจอนั ดรี ะหวางนายจางกบั ลูกจา ง ดว ยการให คำปรึกษาแนะนำ สงเสรมิ ใหสถานประกอบกิจการมีการบริหารแรงงานสัมพันธแบบหุนสวนตามแบบประเมิน ขอมูลพ้ืนฐานดานแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน (Labour Relations Partnership Checklist : LC) ตามคูมือ การสง เสริมแรงงานสัมพันธแ บบหุนสว น (สำหรบั เจาหนาท)่ี โดย 3.1 ตัวแบบแรงงานสัมพันธสันติสุข (Peace Model) ลูกจาง 50 – 99 คน สงเสริมใหมีการบริหาร แรงงานสัมพันธขัน้ พืน้ ฐาน จะตองมกี ารประเมินข้นั พื้นฐาน (LC) อยา งนอยขอ 1 ถงึ ขอ 8 เนนใหนายจางกับลูกจางไดมีโอกาสประชุมหารือรวมกันในเร่ืองท่ีเกี่ยวของกับสภาพการจาง การสรางความสัมพันธอ นั ดี หรอื เรื่องทว่ั ไป 21

3.2 ตัวแบบแรงงานสัมพันธสรางสรรค (Create Model) ลูกจาง 100 – 499 คน ใหมีการบริหาร แรงงานสมั พนั ธขน้ั กลาง จะตอ งมกี ารประเมนิ ขั้นพนื้ ฐาน (LC) อยา งนอ ยขอ 1 ถึงขอ 16 เนนใหนายจางกับลูกจางตกลงใจรวมกันกำหนดกฎ กติกา มารยาท เพื่อใชเปนแนวปฏิบัติใน การบรหิ ารความรวมมือ การบรหิ ารความเส่ยี ง และการบริหารความขดั แยง 3.3 ตัวแบบแรงงานสัมพันธสมานมิตร (Friendship Model) ลูกจาง 500 คนขึ้นไป สงเสริมใหมี การบรหิ ารแรงงานสมั พันธขั้นกา วหนา จะตองมกี ารประเมนิ ขั้นพ้นื ฐาน (LC) จำนวน 22 ขอ เนนใหน ายจา งกบั ลูกจางรว มกันสรา งนวตั กรรมการบริหารแรงงานสมั พนั ธ 3 ดาน ไดแ ก 1) นวัตกรรมเชิงนโยบาย/ยุทธศาสตร (Policy & Strategy Innovation) โดยการจัดทำนโยบาย และ Action Plan ดา นแรงงานสัมพันธ 2) นวัตกรรมเชิงบริหารองคการ (Organization Administration Innovation) โดยจัดตั้งหนวยงาน บริหารแรงงานสมั พันธโ ดยเฉพาะ เพอ่ื ทำหนา ที่ในการพัฒนาความสมั พันธอ ันดี การมีสวนรว ม และการสือ่ สารองคก ร 3) นวัตกรรมเชิงกระบวนการปฏิสมั พันธ (Process Interaction Innovation) โดยการสรางแนวทาง การปรบั ปรุงสภาพการจาง ตอ งผานการใชว ิธีการปรึกษาหารอื รวมกันอยางเต็มที่เสียกอนหากไมไดผลจงึ ใชวธิ ี การเจรจาเพอื่ สรา งความสมดุลในระบบทวิภาคี เจาหนาที่ประเมินขอมูลพ้ืนฐานดานแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน (LabourRelations Partnership Checklist : LC) โดยพิจารณาจากเอกสาร/ขอมูล/ภาพถาย/บอรด/ขอมูลตามความเปนจริงในการดำเนิน กิจกรรมตา ง ๆ ตามขอกำหนดของแตละตัวแบบแลว หากขาดหรือไมไดมีการดำเนินการในขอใดควรอธิบายและ ใหค ำปรกึ ษาแนะนำเกย่ี วกับหลักการและแนวทางดานการเสรมิ สรางแรงงานสัมพนั ธที่ดีใหส ถานประกอบกิจการ จัดทำหรือจัดใหมีทั้งนี้ เพื่อการอยูรวมกันแบบหุนสวน มีความสามัคคีจนเกิดภาวะสันติสุขขึ้นอยางยั่งยืน ดงั นัน้ สิ่งท่เี จาหนา ท่สี ง เสริมแรงงานสัมพันธ พึงยึดถือเปน หลกั การในการดำเนินการ คอื 1) การเตรยี มการและการวางแผน 1.1 ศึกษาขอมูลท่ัวไปของสถานประกอบกิจการ เชน ท่ีตั้ง ประเภทกิจการ จำนวนลูกจาง สัญชาตินายจาง หรือผูรวมทุน ช่ือผูจัดการหรือผูติดตอประสานงาน สถานภาพปจจุบันของสถานประกอบกิจการ เปนเชนไร 1.2 ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสหภาพแรงงาน คณะกรรมการลูกจาง หรอื คณะกรรมการรูปแบบอื่น ๆ เชน มีการจัดตั้งหรือไม มีการจัดต้ังขึ้นต้ังแตเม่ือใด มีผูใดเปนประธานและกรรมการ จำนวนสมาชิกเทาใด อยใู นสงั กดั สภาองคก ารลูกจางแหงใดสถานภาพปจจบุ นั ของสหภาพแรงงานเปน เชน ไร 1.3 ศึกษาภูมิหลังและปญหาเก่ียวกับความขัดแยงที่เกิดขึ้นในอดีตของสถานประกอบกิจการ ตลอดจนแนวทางในการยุติปญหานัน้ ๆ 1.4 ดำเนินการวางแผน เพื่อกำหนดเปาหมาย แนวทางและรูปแบบในการออกไปสงเสริม แรงงานสัมพันธ ท้ังน้ี หากเปนไปไดเจาหนาท่ีควรนัดหมาย วัน เวลา ไวลวงหนา โดยอาจทำเปนหนังสือแจง ใหสถานประกอบกิจการทราบ เพ่ือทั้งฝายนายจางและลูกจางจะไดสามารถเตรียมขอมูลและกำหนดตัวบุคคล ผูท่ีจะรวมรับฟงไดอยางเหมาะสม ซึ่งกรณีการนัดหมาย ดำเนินการไดเฉพาะกรณีท่ีสถานประกอบกิจการน้ัน มีองคก รลกู จาง 1.5 จัดเตรียมเอกสารเผยแพร และส่ือตาง ๆ เกี่ยวกบั การแรงงานสัมพันธ เชน แผนพบั แนวทาง การสงเสริมแรงงานสมั พันธแบบหุนสวนในสถานประกอบแผนพบั การเจรจาตอรองโดยหลกั สุจรติ ใจ หนงั สอื คมู ือ ที่เก่ียวของกับการสงเสรมิ แรงงานสัมพันธ แบบบันทึกรายการสงเสริมแรงงานสัมพันธแบบหนุ สวน กฎหมายแรงงาน และเอกสารอนื่ ๆ ทีเ่ กี่ยวของ 22

2) แนวปฏบิ ัตริ ะหวา งการดำเนนิ การ 2.1 แนะนำตวั และชีแ้ จงถงึ วตั ถปุ ระสงคของการเขาไปสง เสรมิ แรงงานสัมพนั ธ 2.2 สนทนาพูดคุยกับฝายนายจางและลูกจางไปพรอม ๆ กัน เพ่ือสอบถามขอมูลและปญหา อุปสรรคตาง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยพยายามหลีกเลี่ยงการใชวิธีถาม – ตอบหรือซักถามตามลำดับขอในแบบ บนั ทกึ รายงาน 2.3 เจาหนาท่ีควรบันทึกรายละเอียดของขอมูลใหไดมากที่สุด โดยเฉพาะอยางย่ิงประเด็นสำคัญ ๆ เก่ยี วกบั ปญหาอุปสรรคและความขัดแยง ท่เี กิดข้นึ ระหวา งนายจา งกบั ลกู จาง 2.4 ใหคำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับหลักการและแนวทางการเสริมสรางแรงงานสัมพันธที่ดี ในอันท่จี ะกอใหเกดิ ประโยชนตอนายจางและลูกจาง สง เสริมแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน เพ่ือสรางจติ สำนึกใน การเปนหุนสวนการทำงานรวมกัน โดยใชตัวแบบท่กี ำหนดตามความเหมาะสมของสถานประกอบกจิ การแตละ ขนาด แนวทางเกี่ยวกับการปองกันและแกไขปญหาความขัดแยง แนวคิดและรูปแบบในการสรางความรวมมือ ในสถานประกอบกิจการ ท้ังนี้ อาจสอดแทรกตัวอยางหรือประสบการณของสถานประกอบกิจการท่ีประสบ ผลสำเร็จในดานแรงงานสัมพันธใหนายจางและลูกจางไดตระหนักและเห็นความสำคัญในเรื่องดังกลาว โดยอาศัยกลยุทธ และวิธีการโนม นาว จูงใจใหน ายจา งและลูกจา งปฏิบัติตามมากกวา การบงั คบั 2.5 แจกเอกสารเผยแพร และส่ือตาง ๆ ท่ีจัดเตรียมไวใหแกนายจางและลูกจาง เพ่ือการศึกษา และเปนแนวทางในการสรางแรงงานสัมพันธท่ีดีในสถานประกอบกิจการ หรือชองทางการสื่อสารตาง ๆ ในรูปแบบออนไลนซ่ึงควรจะใหชื่อเจาหนาที่และหนวยงาน ที่ตั้ง และหมายเลขโทรศัพทสำหรับติดตอได ในภายหลงั หากนายจา งและลูกจา งตอ งการไดร บั คำปรกึ ษาแนะนำเพ่ิมเตมิ เพอ่ื ใหนายจางกับลกู จางเขาใจแนวทางการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธแบบหุน สว นตรงกัน ทั้งสองฝา ยจึงควรมสี ว นรวมในการบริหารจดั การเร่อื งนตี้ ั้งแตก าวแรก ดังนี้ 1) เจาหนาที่สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานครพ้ืนท่ี/จังหวัด ใหคำแนะนำเรื่อง “การบริหารจัดการแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน” กับนายจาง ผูแทนนายจาง พรอมกับ ผูแทนลูกจาง ไดแก คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ คณะกรรมการลูกจา ง หรือคณะกรรมการ สหภาพแรงงาน 2) นายจางประชุมหารือกับผูแทนลูกจาง เพ่ือใหท้ังสองฝายไดทำความเขาใจแนวทาง การบรหิ ารจัดการแรงงานสมั พันธแ บบหุนสว น โดยคำแนะนำของเจา หนาที่ 3) นายจางจัดทำและดำเนินการตาม Action Plan รว มกบั ผแู ทนลูกจา ง เพ่ือใหท้ังสองฝาย ไดรว มกนั คดิ รวมกนั ตัดสนิ ใจ และรวมกนั แกไขปญหาตามแนวทาง Model ตา ง ๆ ของแรงงานสัมพันธแ บบหนุ สวน 2.6 ใหคำแนะนำภายหลัง หากนายจา งและลกู จา งตองการไดรับคำปรึกษาแนะนำเพม่ิ เติม 3) แนวปฏบิ ัตหิ ลังการดำเนินการ 3.1 กรอกแบบบันทกึ รายงานการสงเสริมแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน แตละสถานประกอบกิจการ ใหส มบูรณ 3.2 บันทกึ ขอ มลู ในระบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (Web Application) ของกรม 3.3 สรุปและประเมินผลการสงเสริมแรงงานสัมพันธในภาพรวมและปญหาอุปสรรค จากแบบ ประเมินผลความพึงพอใจในคูมือการสงเสริมแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน (สำหรับเจาหนาที่) เปนการเก็บ รวบรวมจากขอมูลจากฝายนายจาง และผูแทนในคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ/คณะกรรมการ สหภาพแรงงาน/อ่ืน ๆ เพื่อประเมินความพึงพอใจของนายจาง ลูกจางในสถานประกอบกิจการ (จำนวนแบบ ประเมินผลตามความเหมาะสมของขนาดสถานประกอบกิจการ น้ัน ๆ จากการดำเนินการตามแบบประเมิน 23

ขอมูลพื้นฐานดานแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน (Labour Partnership Checklist : LC) แลว (หลังจากผาน การดำเนินการตามแบบ LC ใชระยะเวลา 3 เดือน หรือ 6 เดือน) สงใหกรมฯ ราย 6 เดือน หรือ 12 เดือน วามีปญหาอุปสรรคอยางไร (ถามี) ไดใหคำแนะนำอยางไร และควรมีการปรับปรุงอยางไร นำเสนอตอ ผบู ังคบั บัญชาตามลำดบั ช้ัน 3.4 ควรติดตามผลการสง เสริมแรงงานสมั พนั ธแบบหุน สวนในสถานประกอบกิจการเปน ระยะ ๆ เพื่อประเมินผลทไ่ี ดรับ และนำมาเปรยี บเทยี บผลการสงเสริมฯ ในแตละคร้ังเพ่อื ปรับปรุงแนวทางในการพัฒนา ระบบแรงงานสมั พันธในรูปแบบที่เหมาะสมใหย ัง่ ยืนและกาวหนา หมายเหตุ : 1. จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Covid - 19) สง ผลกระทบทำใหเจาหนาท่ีสง เสริมแรงงานสมั พันธไ มสามารถเขาไปสงเสริมแรงงานสมั พันธในสถานประกอบ กิจการได อาจปรับรูปแบบการสงเสริมแรงงานสัมพันธผานระบบทางไกลผานจอภาพ (Video Conference) เพ่ือใชสื่อสารระหวางเจาหนาที่สงเสริมแรงงานสัมพันธและสถานประกอบกิจการแทนการเขาไปสงเสริม แรงงานสัมพันธในสถานประกอบกิจการหรือปรับรูปแบบการสงเสริมแรงงานสัมพันธรูปแบบอื่น ๆ ตาม ความเหมาะสม แนะนำมาตรการและแนวทางการปองกันและแกไขผลกระทบดานแรงงานสัมพันธเพื่อบรรเทา ปญหาการเลิกจางและการเปล่ียนแปลงสภาพการจางในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ไปปรับใชใหเหมาะสมดว ยระบบแรงงานสัมพันธท่ดี ีตามหลักสุจริตใจ ท้ังน้ี หากสถานการณ การแพรระบาดดังกลาวคลี่คลายใหเจาหนาที่สงเสริมแรงงานสัมพันธเขาไปสงเสริมแรงงานสัมพันธใน สถานประกอบกจิ การ 2. เนื่องจากในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรมสงเสริมระบบแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน ดวยรูปแบบ (Model) ท่ีเหมาะสม เปนกิจกรรมท่ีนำสงผลผลิต จำนวนลูกจาง (คน) หากหนวยงานใดมีผล การปฏิบัติงานเกินกวาเปาหมายท่ีไดรับการจัดสรรใหดำเนินการรอยละ 20 ข้ึนไปกรมฯ จะพิจารณาปรับ คะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนลดลง 0.5 คะแนน จึงขอให สรพ./สสค. กำกับการปฏิบัติงานใหเปนไปตามเปาหมายที่กำหนด เนนการสงเสริมในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจาง ตงั้ แต 50 คนข้นึ ไป 3. ผลการดำเนินงานตองเปนไปตามเปา หมายท้ัง แหง /คน 4. การสงเสริมแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน ตามแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป (ตามคูมือสำหรับ เจาหนาท่ี) กำหนดรายช่ือสถานประกอบกิจการเปาหมายในแตละป จำนวนรอยละ 5 ของสถานประกอบกิจการ ทมี่ ีลกู จา งตัง้ แต 50 คนขึ้นไป โดยไมซ ำ้ กันแตล ะป 4. กลุมเปา หมาย/เปา หมาย 4.1 กลมุ เปา หมาย การดำเนินการสงเสริมแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน (Partnership) ตามแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป การกำหนดกลุมเปาหมายเพ่ือวางแผนเขาไปดำเนินการสงเสริมแรงงานสัมพันธแบบหุนสว นในสถานประกอบกิจการ ใหกำหนดรายช่ือสถานประกอบกิจการเปาหมายในแตละป จำนวนรอยละ 5 ของสถานประกอบกิจการที่มี ลูกจางตั้งแต 50 คนขึ้นไป โดยไมซ้ำกันแตละป โดยพิจารณาคัดเลือกจากสถานประกอบกิจการท่ีอยูใน กลุมเส่ียงที่จะกอใหเกิด หรือเคยมีปญหาขอขัดแยง หรือพิพาทแรงงาน ขอตกลงเก่ียวกับสภาพการจาง ใกลหมดอายุ มีการใชแรงงานขามชาติเปนจำนวนมาก ไดรับผลกระทบจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจหรือ การดำเนินธุรกิจซึ่งมีความรุนแรงมากนอยแตกตางกัน มีสัญชาติของนายจาง หรือผูรวมลงทุนเปนชาวตางชาติ ซึ่งมีนโยบายในการบริหารงานท่ีแตกตางกันออกไป และอาจกอใหเกิดปญหาแรงงานสัมพันธตามลำดับ เจาหนาท่ีอาจแยกกลุมเปนสีแดง (เฝาระวังพิเศษ) สีเหลือง (เฝาระวงั ) เพ่ือดำเนินการสงเสริมแรงงานสัมพันธ แบบหุน สวน 24

ยกเวน กลุมเปาหมายสถานประกอบกิจการท่ีเขารวมโครงการสงเสริมสถานประกอบกิจการใหมี ระบบการบริหารจดั การทดี่ ีดานแรงงานสัมพนั ธแ ละสวัสดกิ ารแรงงาน หมายเหตุ กลุมสีแดง (เฝาระวงั พเิ ศษ) 1) สถานประกอบกิจการที่ในอดีตเคยเกิดปญหาขอพิพาทแรงงานหรือขอขัดแยง และคาดวาจะเกิด ปญ หาดงั กลาวข้ึนอีก 2) ประเภทกิจการของนายจางที่ไดรับผลกระทบจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกจิ หรือการดำเนินธุรกิจ ซงึ่ มคี วามรุนแรงมากนอยแตกตา งกนั 3) สถานประกอบกิจการที่มีสัญชาติของนายจาง หรือผูรวมลงทุนเปนชาวตางชาติ ซ่ึงมีนโยบาย ในการบริหารงานทีแ่ ตกตา งกันออกไป และอาจกอ ใหเกดิ ปญหาแรงงานสัมพันธ 4) สถานประกอบกจิ การทีม่ ีการจดั ต้งั สหภาพแรงงานใหม 5) สถานประกอบกิจการที่ไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควดิ 19 (Covid - 19) กลุม สีเหลือง (เฝาระวัง) 1) สถานประกอบกิจการท่ีมีการจดั ตงั้ องคกรลูกจาง เชน สหภาพแรงงาน 2) สถานประกอบกจิ การทม่ี ีขอตกลงเกย่ี วกบั สภาพการจา งใกลห มดอายุ 3) สถานประกอบกิจการทม่ี ีการใชแ รงงานขา มชาติเปนจำนวนมาก 4) สถานประกอบกิจการที่ไมเ คยผา นการสง เสรมิ แรงงานสมั พันธ 4.2 เปาหมาย หนว ยงาน สปก.(แหง) ลกู จา ง(คน) 1) สำนักแรงงานสัมพนั ธ 10 5,548 2) สำนกั งานสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพื้นที่ 223 45,950 3) สำนักงานสวัสดกิ ารและคุมครองแรงงานจงั หวัด (75 จังหวัด) 667 198,502 900 250,000 รวม 5. หลกั ฐานอา งอิง รายงานผลการสงเสริมใหส ถานประกอบกิจการมีการบริหารแรงงานสัมพันธแบบหุนสวน (LRS2R420 : รายงานการสงเสรมิ แรงงานสัมพันธแ บบหุนสวนจำแนกตามรปู แบบ) 6. การนบั ผลงาน แหง นับจากจำนวนสถานประกอบกิจการทเ่ี ขาไปสง เสรมิ ฯ คน นับจากจำนวนลูกจา งในสถานประกอบกิจการทเ่ี ขาไปสง เสริมฯ 25

7. การรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน ในระบบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Web Application) ของกรม ระบบงาน โปรแกรมบนั ทกึ แกไขขอมลู โปรแกรมพมิ พร ายงาน http://eservice.labour.go.th/dlpw บนั ทกึ รายงาน แรงงานสมั พนั ธ LRS2I080 : สงเสรมิ แรงงานสัมพนั ธ LRS2R420 : รายงาน องคการลูกจา งองคการนายจา ง ในสถานประกอบกจิ การและบนั ทึก การสง เสริมแรงงานสมั พนั ธ รายละเอียดใหถูกตองครบถว น โดยเฉพาะ แบบหนุ สว นจำแนกตาม หัวขอ ประเภทการดำเนนิ การ ตองเลอื ก รูปแบบ  สง เสรมิ แรงงานสมั พันธแ บบหุน สวน และ หัวขอ การบริหารจัดการแรงงาน สัมพนั ธ ตองเลือก  มี หรือ  ไมมี ดว ย สำหรบั ในชอ งหมายเหตุ ใหบันทึกผล การประเมนิ ของสถานประกอบกิจการ ตามแบบประเมนิ ขอมลู พื้นฐาน ดานแรงงานสัมพันธแบบหนุ สวน (Labour Relations Partnership Checklist : LC) โดยพิมพคำวา “สปก. มีการดำเนินการตามแบบ check list ขอ .........” และ หวั ขอ ประเภทตวั แบบแรงงานสัมพนั ธ ตองเลอื ก  แรงงานสัมพันธส ันติสุข (Peace Model) ลูกจา ง 50 - 99 คน (ตองดำเนนิ การตามแบบ LC อยา งนอย ขอ 1 - ขอ 8) หรอื  แรงงานสมั พนั ธสรางสรรค (Create Model) ลูกจา ง 100 - 499 คน (ตอ งดำเนนิ การตามแบบ LC อยางนอย ขอ 1 - ขอ 16) หรือ  แรงงานสัมพันธส มานมิตร (Friendship Model) ลกู จา ง 500 คน ขึ้นไป (ตองดำเนินการตามแบบ LC อยา งนอยขอ 1 - ขอ 22) และ หัวขอ สถานการณป ระเมนิ ขัน้ พนื้ ฐาน ตองเลอื ก  ครบตามเกณฑ หรอื  ไมค รบตามเกณฑ 26

8. เงนิ งบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจำป พ.ศ. 2566 แผนงาน : ยุทธศาสตรสรา งหลักประกันทางสังคม โครงการท่ี 3 : โครงการยกระดับคุณภาพชีวิต และผลิตภาพแรงงาน กิจกรรมหลักที่ 1 : สงเสริมและพัฒนาศักยภาพแรงงาน เพ่อื เพ่ิมคณุ ภาพชีวิตและผลิตภาพแรงงาน งบดำเนนิ งาน หมวดคา ตอบแทน ใชสอยและวัสดุ รหัส 300 9. หนวยงานทรี่ ับผดิ ชอบ หากมีขอสงสัยเกี่ยวกับการดำเนินงานตามกิจกรรมสงเสริมระบบแรงงานสัมพันธแบบหุนสวนดวยรูปแบบ (Model) ทเี่ หมาะสม สามารถสอบถามขอมูลเพิ่มเตมิ ไดท ่ี สำนักแรงงานสัมพนั ธ กรมสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงาน ☺ กลุมงานสง เสริมแรงงานสัมพนั ธ โทรศัพท/ โทรสาร : 0 2660 2190, 0 2660 2192 - 4 ☺ กลมุ งานยุทธศาสตรแ รงงานสมั พนั ธ โทรศัพท/ โทรสาร : 0 2260 2160 แบบบนั ทึกรายงานการสง เสริมแรงงานสมั พนั ธแบบหุน สว น 27

กิจกรรมท่ี 7 • โครงการบรหิ ารจดั การและการดาํ เนินงานศูนยอํานวยการ แรงงานสัมพันธและศูนยปฏบิ ัติการแรงงานสมั พนั ธ (สรส./สสค.) 1. ลกั ษณะกิจกรรม โครงการบริหารจัดการและการดำเนินงานศูนยอำนวยการแรงงานสัมพันธและศูนยปฏิบัติการแรงงานสัมพันธ ดำเนินการภายใตหลักการสำคัญของ “แรงงานสัมพันธ” คอื ความสัมพันธระหวางนายจางกบั ลูกจาง ซึ่งหากมี แรงงานสัมพันธท่ีดี ยอมทำใหเกิดความสงบสุขในองคกร สงผลใหนายจางมีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น ลูกจางไดรับ ผลประโยชนแ ละสภาพการจาง สภาพการทำงานท่ีดีและในทางกลับกันหากแรงงานสัมพันธไมดีนายจางกับลูกจาง มีความไมเขาใจกัน ยอมสงผลใหเกิดความไมสงบสุขในองคกร และนำไปสูความขัดแยงหรือขอพิพาทแรงงาน ในทส่ี ดุ กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานมีคำส่ังท่ี 166/2561 ลงวันท่ี 13 มีนาคม พ.ศ. 2561 เร่ือง จัดต้ัง ศูนยอำนวยการแรงงานสัมพันธและศูนยป ฏิบัติการแรงงานสมั พันธ โดยสำนักแรงงานสัมพันธเปนศูนยอำนวยการ แรงงานสัมพันธ เปนศูนยกลางในการอำนวยการ สนับสนุน และประสานการดำเนนิ การปองกันและแกไขปญหา ความขัดแยงดานแรงงานในภาพรวมของประเทศ และใหศูนยปฏิบัติการแรงงานสัมพันธระดับภูมิภาค ต้ังอยู ณ สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดลำพูน พระนครศรีอยุธยา นครราชสีมา ชลบุรี และสงขลา เปน ศูนยกลางในการปอ งกันและแกไขปญ หาความขัดแยงดานแรงงานในระดับภูมภิ าค ซ่ึงมอี ำนาจหนาที่ ดังน้ี ศูนยอ ำนวยการแรงงานสมั พนั ธ มีอำนาจหนาท่ี ดงั นี้ 1) สง เสริมและพฒั นาระบบแรงงานสัมพนั ธและแรงงานรฐั วิสาหกจิ สัมพนั ธ 2) เฝาระวัง ปองกนั และแกไ ขปญหาความขดั แยงดา นแรงงานสัมพันธ 3) กำหนดแนวทาง มาตรการ และวิธีปฏบิ ตั ดิ านแรงงานสัมพนั ธแ ละแรงงานรัฐวิสาหกิจสมั พนั ธ 4) ปฏิบัตงิ านรว มกบั หรอื สนบั สนุนการปฏบิ ัติงานของหนว ยงานอ่ืนทีเ่ กีย่ วขอ งหรือท่ไี ดร ับมอบหมาย 5) ปฏบิ ัติหนาทอี่ ่นื ตามที่ไดร ับมอบหมาย ศูนยป ฏิบัตกิ ารแรงงานสมั พันธ มอี ำนาจหนา ที่ ดงั น้ี 1) เปนศูนยปฏิบัติการเชิงรุกและประสานความรวมมือกับทุกภาคสวน เพื่อเฝาระวัง ปองกนั และแกไ ขปญหา ความขดั แยง ดานแรงงานในระดบั ภมู ิภาคอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 2) ปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วในการแกไขปญหาความขัดแยงดานแรงงาน ทั้งในมิติการแรงงานสัมพันธ การคุมครองแรงงาน ความปลอดภัยแรงงาน และมติ อิ ืน่ ๆ ท่ีมีผลกระทบดานแรงงาน 3) ปฏิบัติการขาวในการเฝาระวัง ติดตาม วิเคราะหสถานการณและประเมินแนวโนมผลกระทบท่ีมีตอ ระบบแรงงานสมั พนั ธ เศรษฐกิจและสังคม 4) จัดทำระบบฐานขอมูลสถานประกอบกจิ การและสถานการณแรงงานในระดบั จังหวดั และระดบั ภมู ิภาค ใหสามารถนำมาใชป ระโยชนร วมกันทั้งระดับพน้ื ท่ีอยา งมปี ระสิทธิภาพ 5) เสนอแนะหรอื ใหความเห็นเก่ียวกับสถานการณแรงงานในระดบั จังหวดั และระดับภมู ิภาคตอ ศนู ยอำนวยการ แรงงานสมั พันธ เพื่อปอ งกนั และแกไ ขปญหาความขดั แยงดานแรงงานที่อาจจะขยายวงกวา ง 6) รายงานผลการดำเนินงานของศูนยปฏิบัติการแรงงานสัมพันธใหศูนยอำนวยการแรงงานสัมพันธทราบ ทกุ ระยะ 7) ปฏบิ ตั หิ นาท่ีอน่ื ตามท่ีไดร บั มอบหมาย 28

2. วตั ถปุ ระสงค 2.1 เพอ่ื ดำเนินการตามอำนาจหนา ท่ีของศูนยอำนวยการแรงงานสมั พันธ 2.2 เพอ่ื ดำเนินการตามอำนาจหนา ท่ขี องศูนยปฏิบัติการแรงงานสัมพันธ 3. แนวทางปฏิบตั ติ ามกิจกรรม 3.1 กิจกรรมการจัดทำรายงานวิเคราะหสถานการณและแนวโนมดานแรงงานสัมพันธ รายละเอียดตาม กจิ กรรมที่ 3.1 และ 3.2 3.2 กจิ กรรมการจดั ประชุมคณะกรรมการศูนยป ฏิบตั ิการแรงงานสัมพนั ธ รายละเอียดตามกจิ กรรมที่ 3.3 4. กลุม เปาหมาย/เปา หมาย 4.1 กลมุ เปาหมาย 1) นายจาง ลูกจา ง องคการแรงงาน เครือขา ยแรงงานสัมพนั ธ 2) คณะกรรมการศนู ยอำนวยการแรงงานสัมพนั ธ และคณะกรรมการศูนยปฏบิ ัติการแรงงานสมั พันธ 4.2 เปาหมาย หนวยงาน กิจกรรม จำนวน (คร้งั ) ศนู ยอำนวยการแรงงานสัมพันธ 1. จัดทำรายงานวิเคราะหส ถานการณ 4 (สำนักแรงงานสัมพนั ธ) และแนวโนมดานแรงงานสมั พันธ 2. จัดประชมุ คณะกรรมการ 1 ศนู ยอำนวยการแรงงานสมั พันธ ศูนยป ฏิบตั กิ ารแรงงานสัมพนั ธ 5 ภาค 1. จดั ทำรายงานวเิ คราะหส ถานการณ 20 (จังหวัดลำพนู พระนครศรีอยุธยา และแนวโนม ดานแรงงานสมั พนั ธ 10 นครราชสีมา ชลบุรี และสงขลา) 2. จัดประชุมคณะกรรมการ ศูนยปฏิบัติการแรงงานสัมพันธ สำนกั งานสวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงานจังหวัด จดั ทำรายงานวิเคราะหส ถานการณและ 284 แนวโนม ดานแรงงานสัมพนั ธ 71 จงั หวัด รวม 319 5. เงินงบประมาณ เบิกจากงบประมาณประจำป พ.ศ. 2566 แผนงาน : ยุทธศาสตรสรา งหลักประกันทางสังคม โครงการที่ 3 : โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตและผลิตภาพแรงงาน กิจกรรมหลักที่ 1 : สงเสริมและพัฒนาศักยภาพแรงงาน เพอ่ื เพ่ิมคณุ ภาพชีวิตและผลติ ภาพแรงงาน งบดำเนนิ งาน หมวดคาตอบแทน ใชส อยและวัสดุ รหสั 300 6. หนว ยงานที่รบั ผดิ ชอบ หากมีขอสงสัยเกี่ยวกับการดำเนินงานตามโครงการบริหารจัดการและการดำเนินงานศูนยอำนวยการ แรงงานสมั พันธและศูนยป ฏบิ ตั ิการแรงงานสัมพันธ สามารถสอบถามขอ มูลเพิ่มเติมไดท่ี สำนักแรงงานสัมพันธ กรมสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงาน ☺ กลุมงานยทุ ธศาสตรแรงงานสัมพันธ โทรศัพท/ โทรสาร : 0 2660 2160 29

กิจกรรมท่ี 7.1 การจดั ทำรายงานวิเคราะหส ถานการณแ ละแนวโนมดา นแรงงานสัมพันธ โดย : ศนู ยอำนวยการแรงงานสัมพันธ/ ศูนยป ฏบิ ตั กิ ารแรงงานสมั พันธ 1. ลักษณะกจิ กรรม การจัดทำรายงานวิเคราะหสถานการณและแนวโนมดานแรงงานสัมพันธ เปนการเฝาระวัง ติดตาม วิเคราะหสถานการณและประเมินแนวโนมผลกระทบท่ีมตี อระบบแรงงานสัมพันธ เพ่อื ปองกันและแกไขปญหา ความขัดแยงดานแรงงานของสถานประกอบกิจการที่มีความเคลื่อนไหวดานแรงงานในพ้ืนที่ศูนยปฏิบัติการ แรงงานสัมพันธ 5 ภาค อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 2. แนวทางปฏิบัติตามกิจกรรม การดำเนินงานของศูนยปฏบิ ัตกิ ารแรงงานสมั พันธ 2.1 จัดทำระบบฐานขอมูลสถานประกอบกิจการ และวิเคราะหสถานการณดานแรงงานในจังหวัด ท่ีตัง้ ศนู ย 5 ศูนย (จงั หวดั ลำพูน พระนครศรีอยธุ ยา นครราชสีมา ชลบรุ ี และสงขลา) 2.2 รวบรวมแบบรายงานสถานการณและวิเคราะหแนวโนมดานแรงงานสัมพันธท่ีสำคัญเปนรายเดือน ตามแบบ ศ.รส. 1 จากสำนักงานสวสั ดิการและคุมครองแรงงานจังหวดั ในพ้ืนทีศ่ ูนยปฏิบตั ิการแรงงานสัมพันธ ภายในวันท่ี 30 หรือ 31 ของทกุ เดือน 2.3 รวบรวมแบบรายงานสถานการณดานแรงงานและวิเคราะหแนวโนมดานแรงงานสัมพันธเปนรายไตรมาส ตามแบบ ศ.รส. 2 จากสำนกั งานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดในพ้ืนท่ีศนู ยปฏิบัติการแรงงานสัมพนั ธ ภายในวนั ท่ี 30 หรือ 31 ของเดือนสดุ ทายในแตละไตรมาส 2.4 จัดทำรายงานวิเคราะหสถานการณดานแรงงานและแนวโนมดานแรงงานสัมพันธเปนรายไตรมาส ในภาพรวมของศูนยฯ ตามแบบ ศ.รส. 2 โดยวิเคราะหสถานการณดานแรงงานและแนวโนม ดา นแรงงานสมั พันธ จากประเด็นดานแรงงานท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนที่ เชน การขอปรับคาจาง การเรียกรองเพ่ือเปล่ียนแปลงสภาพการจาง สภาพเศรษฐกิจปจจุบนั ผลกระทบท่เี กดิ ขึ้นตอ การจางงาน การเกิดขอ ขัดแยง ขอพพิ าทแรงงาน การนัดหยดุ งาน การปด งาน และการประชุมขององคก ารแรงงาน เปน ตน 2.5 จัดสงเอกสารใหศูนยอำนวยการแรงงานสัมพันธ ภายในวันท่ี 5 ของเดือนถัดไป (หลังส้ินไตรมาส) และจัดสงทาง E-mail : [email protected] พรอมบันทึกผลงานการวิเคราะหสถานการณ และแนวโนมดานแรงงานสัมพันธในระบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (Web Application) ของกรม ใหเสร็จส้ิน ตลอดจนจดั สงรายงานตามแบบ ศ.รส. 2 รายไตรมาส จำนวน 4 คร้งั ดังน้ี ครั้งที่ 1 บันทกึ ผลงานในระบบฯ ภายในเดอื นธันวาคม 2565 จดั สงเอกสารภายในวนั ที่ 5 มกราคม 2566 คร้ังที่ 2 บันทึกผลงานในระบบฯ ภายในเดือนมีนาคม 2566 จดั สงเอกสารภายในวนั ท่ี 5 เมษายน 2566 คร้งั ที่ 3 บนั ทึกผลงานในระบบฯ ภายในเดอื นมิถนุ ายน 2566 จัดสง เอกสารภายในวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2566 คร้ังท่ี 4 บนั ทึกผลงานในระบบฯ ภายในเดอื นกนั ยายน 2566 จัดสงเอกสารภายในวนั ที่ 5 ตลุ าคม 2566 3. กลุมเปาหมาย/เปาหมาย 3.1 กลุมเปาหมาย คณะกรรมการศนู ยอ ำนวยการแรงงานสัมพันธ คณะกรรมการศูนยปฏิบัตกิ ารแรงงานสัมพันธ 5 ภาค และเจาหนา ทผ่ี เู กีย่ วของ 30

3.2 เปาหมาย หนวยงาน จำนวน (ครง้ั ) 1) ศูนยอำนวยการแรงงานสมั พันธ 4 2) ศนู ยปฏบิ ตั กิ ารแรงงานสัมพันธภ าคเหนอื (จังหวัดลำพูน) 4 3) ศนู ยปฏิบตั ิการแรงงานสมั พนั ธภ าคกลาง (จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา) 4 4) ศูนยปฏิบัตกิ ารแรงงานสัมพนั ธภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (จังหวัดนครราชสีมา) 4 5) ศนู ยปฏบิ ัติการแรงงานสมั พันธภ าคตะวันออก (จงั หวัดชลบุร)ี 4 6) ศูนยปฏิบตั ิการแรงงานสัมพนั ธภาคใต (จงั หวัดสงขลา) 4 24 รวม 4. หลักฐานอางองิ รายงานสถานการณและแนวโนมดานแรงงานสัมพันธท่ีสำคัญ (แบบ ศ.รส. 1) และรายงานการวิเคราะห สถานการณตาง ๆ (แบบ ศ.รส. 2) (MIS1R030 : รายงานผลการปฏิบัติงานจำแนกตามกิจกรรม รหัสกิจกรรม 056 รายงานการวเิ คราะหสถานการณตา ง ๆ) 5. การรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน ในระบบรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน (Web Application) ของกรม ระบบงาน โปรแกรมบนั ทกึ แกไ ขขอมูล โปรแกรมพมิ พรายงาน http://eservice.labour.go.th/dlpw บันทกึ รายงาน วิชาการและสารสนเทศ MIS1I020 : บนั ทึกผลงานกิจกรรม MIS1R030 : รายงาน สำคญั โดยเลือกแบบรายงาน 22 ผลการปฏิบัตงิ านจำแนก งานแรงงานสัมพนั ธ ตามกิจกรรม ในสว นของขอ มูลกจิ กรรม โดยเลือกประเภทกิจกรรม 056 รายงานการวิเคราะห 056 รายงาน สถานการณตาง ๆ และบนั ทึกขอมลู ใน การวิเคราะหส ถานการณ ชอ งจำนวน คร้ัง พรอมท้ังบันทกึ ขอมูล ตา ง ๆ และเลอื กแบบรายงาน ในสวนของรายช่ือผรู บั ผิดชอบ/ 22 งานแรงงานสัมพันธ ผรู ายงานดวย 31

กจิ กรรมท่ี 7.2 การจัดทำรายงานวเิ คราะหสถานการณแนวโนมดานแรงงานสัมพันธ โดย : สำนกั งานสวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงานจังหวดั 1. ลักษณะกิจกรรม การจัดทำรายงานวิเคราะหสถานการณและแนวโนมดานแรงงานสัมพันธ เพื่อเปนการเฝาระวัง ติดตาม วิเคราะหสถานการณและประเมินแนวโนมผลกระทบที่มตี อระบบแรงงานสัมพันธ เพอ่ื ปองกันและแกไขปญหา ความขัดแยงดา นแรงงานในระดับภูมภิ าคใหเปน ไปอยางมีประสิทธิภาพ 2. แนวทางปฏิบตั ิตามกจิ กรรม สำนกั งานสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงานจังหวดั 71 จงั หวัด ดำเนนิ การดงั น้ี 2.1 จดั ทำระบบฐานขอมลู สถานประกอบกิจการและสถานการณดานแรงงานในระดบั จงั หวดั 2.2 จดั ทำรายงานสถานการณและแนวโนมดานแรงงานสมั พันธท่ีสำคญั เปน รายเดือน ตามแบบ ศ.รส. 1 จดั สงใหศ นู ยปฏิบัตกิ ารแรงงานสัมพนั ธ ภายในวันท่ี 30 หรือ 31 ของเดือน โดยไมตองสำเนาสงสำนักแรงงาน สมั พนั ธ 2.3 จัดทำรายงานวเิ คราะหสถานการณและแนวโนม ดานแรงงานสมั พันธรายไตรมาส ตามแบบ ศ.รส. 2 โดยวิเคราะหสถานการณดานแรงงานสัมพันธ จากประเด็นดานแรงงานที่เกิดขึ้น เชน การขอปรับคาจาง การเรียกรองเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพการจาง สภาพเศรษฐกิจปจจุบัน ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นตอการจางงาน การเกิดขอขัดแยง ขอพิพาทแรงงาน การนัดหยุดงาน การปดงาน และการประชุมขององคการแรงงาน เปนตน และจัดสงแบบรายงาน ศ.รส. 2 ใหศูนยปฏิบตั กิ ารแรงงานสัมพันธ ดงั นี้ 1) ศูนยปฏิบัติการแรงงานสมั พันธ ภายในวันที่ 30 หรือ 31 ของเดอื นสดุ ทายในแตละไตรมาส โดยไมต อง สำเนาสง สำนักแรงงานสัมพันธ 2) บันทึกผลงานการวิเคราะหสถานการณและแนวโนมดานแรงงานสัมพันธในระบบรายงาน ผลการปฏิบตั งิ าน (Web Application) ของกรม ใหเสร็จสิน้ จำนวน 4 ครั้ง ดังน้ี ครง้ั ท่ี 1 บันทึกผลงานในระบบฯ ภายในเดือนธนั วาคม 2565 คร้ังท่ี 2 บันทกึ ผลงานในระบบฯ ภายในเดอื นมนี าคม 2566 ครง้ั ท่ี 3 บันทกึ ผลงานในระบบฯ ภายในเดอื นมิถุนายน 2566 ครง้ั ท่ี 4 บนั ทึกผลงานในระบบฯ ภายในเดอื นกันยายน 2566 3. กลุมเปา หมาย/เปาหมาย 3.1 กลมุ เปา หมาย เจา หนาท่ีทร่ี ับผดิ ชอบงานดานแรงงานสมั พันธของสำนกั งานสวสั ดิการและคุมครองแรงงานจังหวัด 3.2 เปา หมาย หนว ยงาน จำนวน (คร้งั ) สำนกั งานสวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงานจังหวดั 71 จงั หวัด 284 รวม 284 32

4. หลักฐานอา งองิ รายงานสถานการณและแนวโนมดานแรงงานสัมพันธท ่ีสำคัญ (แบบ ศ.รส. 1) และรายงานการวิเคราะห สถานการณตาง ๆ (แบบ ศ.รส. 2) (MIS1R030 : รายงานผลการปฏิบัติงานจำแนกตามกิจกรรมเลือกประเภท กจิ กรรม 056 รายงานการวเิ คราะหสถานการณต า ง ๆ) 5. การรายงานผลการปฏิบัติงาน ในระบบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Web Application) ของกรม ระบบงาน โปรแกรมบนั ทึกแกไขขอ มูล โปรแกรมพมิ พรายงาน http://eservice.labour.go.th/dlpw บันทึก รายงาน วชิ าการและสารสนเทศ MIS1I020 : บันทึกผลงานกิจกรรม MIS1R030 : รายงาน สำคญั โดยเลอื กแบบรายงาน 22 ผลการปฏิบัติงานจำแนก งานแรงงานสัมพันธ ตามกจิ กรรม ในสว นของขอมลู กจิ กรรม โดยเลือกประเภทกิจกรรม 056 รายงานการวิเคราะห 056 รายงาน สถานการณตาง ๆ และบันทึกขอ มลู ใน การวิเคราะหสถานการณ ชอ งจำนวน คร้งั พรอมท้งั บันทกึ ขอมูล ตาง ๆ และเลือกแบบรายงาน ในสว นของรายชื่อผูรบั ผิดชอบ/ 22 งานแรงงานสัมพนั ธ ผูร ายงานดว ย 33

กิจกรรมที่ 7.3 จดั ประชุมคณะกรรมการศนู ยป ฏิบตั กิ ารแรงงานสมั พนั ธ โดย : ศนู ยอ ำนวยการแรงงานสมั พันธ/ ศูนยปฏิบัตกิ ารแรงงานสัมพันธ 5 ภาค 1. ลกั ษณะกจิ กรรม การจัดประชุมคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการแรงงานสัมพันธ มีวัตถุประสงคเพื่อกำหนดแนวทาง การดำเนินการรวมกัน วิเคราะหและติดตามสถานการณดานแรงงานสัมพันธท ี่เกิดขนึ้ ในพ้ืนท่ี ตลอดจนวิเคราะห สถานการณและแนวโนมดานแรงงานสัมพันธ รวมท้ังกำหนดกลยุทธการสรางความรวมมือในระบบแรงงานสัมพันธ และการแกไขปญหาความขัดแยงดานแรงงานและเพื่อปองกันและแกไขปญหาความขัดแยงดานแรงงาน ในระดับจังหวัดและระดับภูมิภาค มิใหสง ผลตอระบบแรงงานสัมพนั ธและระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ 2. แนวทางปฏบิ ัติตามกิจกรรม กิจกรรมการดำเนินงานของศูนยปฏบิ ัติการแรงงานสมั พันธ 2.1 รวบรวมขอ มูลและสถิตดิ านแรงงานสัมพนั ธ เชน สถิติขอ ขดั แยง ขอพพิ าทแรงงาน การนัดหยุดงาน การปด งาน การประชุมขององคก ารแรงงาน ฯลฯ ตามกิจกรรมที่ 7.1 ใหเ ปนปจจบุ ันและใชเ ปนขอมูลประกอบ การดำเนินงาน และการกำหนดแนวทางปองกันปญหาดานแรงงานสัมพันธในพื้นที่และประกอบการประชุม คณะกรรมการศูนยป ฏิบัตกิ ารแรงงานสมั พนั ธ 2.2 ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการศูนยป ฏิบัติการแรงงานสัมพันธ และเชิญกรรมการศูนยปฏิบัติการ แรงงานสัมพันธในพื้นท่ี เขารวมประชุมเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินการรวมกัน และติดตามสถานการณ ดานแรงงานสัมพันธ ตลอดจนวิเคราะหสถานการณแ ละแนวโนมดานแรงงานสัมพนั ธ กรณีศึกษาหรือถอดบทเรียน จากเหตุการณดานแรงงานท่ีสำคัญท่ีเกิดขึ้นในพื้นท่ี จำนวน 2 ครั้ง คร้ังท่ี 1 ภายในเดือนมีนาคม 2566 โดยเปนการจดั ประชุมในรปู แบบวีดิทศั นทางไกล (Video Conference) และครงั้ ท่ี 2 ภายในเดอื นสงิ หาคม 2566 พรอมรายงานผลการจดั กิจกรรมการประชุมคณะกรรมการฯ ตามแบบ ศ.รส. 3 และจัดสงรายงานการประชุม พรอมรูปภาพการดำเนินกิจกรรมใหศูนยอำนวยการแรงงานสัมพันธ ภายใน 15 วันหลังดำเนินการแลวเสร็จ และบนั ทึกขอ มูลในระบบรายงานผลการปฏบิ ัติงาน (Web Application) ของกรม 3. กลุม เปา หมาย/เปาหมาย 3.1 กลุม เปา หมาย ศูนยอำนวยการแรงงานสัมพันธ ศูนยปฏิบัติการแรงงานสัมพันธ 5 ภาค สำนักงานสวัสดิการและ คมุ ครองแรงงานจงั หวดั 71 จังหวดั และเจา หนาท่ีผเู กีย่ วขอ ง 3.2 เปาหมาย หนวยงาน จำนวน (ครงั้ ) 1) ศนู ยอ ำนวยการแรงงานสัมพันธ 1 2) ศนู ยปฏิบตั กิ ารแรงงานสัมพนั ธภาคเหนือ (จงั หวัดลำพูน) 2 3) ศนู ยปฏบิ ตั ิการแรงงานสมั พนั ธภ าคกลาง (จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา) 2 4) ศูนยปฏิบัติการแรงงานสัมพนั ธภ าคตะวันออกเฉยี งเหนือ (จังหวัดนครราชสมี า) 2 5) ศูนยป ฏบิ ตั ิการแรงงานสัมพนั ธภาคตะวนั ออก (จังหวดั ชลบุร)ี 2 6) ศนู ยป ฏิบตั กิ ารแรงงานสัมพนั ธภ าคใต (จังหวดั สงขลา) 2 รวม 11 34

4. หลักฐานอา งองิ แบบรายงานผลการจดั ประชุม/กิจกรรม (แบบ ศ.รส. 3) และรายงานผลการจัดประชุมพรอมภาพถายกิจกรรม (MIS1R030 : รายงานผลการปฏิบัติงานจำแนกตามกิจกรรม รหัสกิจกรรม 046 ประชุมคณะกรรมการศูนยอำนวยการ/ ศูนยปฏิบัตกิ าร) 5. การรายงานผลการปฏิบัติงาน ในระบบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน (Web Application) ของกรม ระบบงาน โปรแกรมบันทึกแกไขขอมูล โปรแกรมพิมพร ายงาน http://eservice.labour.go.th/dlpw บันทกึ รายงาน วชิ าการและสารสนเทศ MIS1I020 : บันทึกผลงานกจิ กรรม MIS1R030 : รายงาน สำคญั โดยเลือกแบบรายงาน 22 ผลการปฏบิ ตั ิงานจำแนก งานแรงงานสัมพนั ธ ตามกิจกรรม ในสว นของขอมลู กิจกรรม โดยเลือกประเภทกิจกรรม 046 ประชมุ คณะกรรมการศูนย 046 ประชุม อำนวยการ/ศูนยป ฏบิ ัติการ และบันทึก คณะกรรมการศูนย ขอมูลในชองจำนวน คร้งั พรอ มทั้งบันทกึ อำนวยการ/ศูนยปฏิบัติการ ขอ มลู ในสวนของรายช่อื ผูร ับผิดชอบ/ และเลือกแบบรายงาน 22 ผรู ายงานดวย และใหจดั สงรายงาน งานแรงงานสัมพันธ ตามแบบ ศ.รส. 3 ใหส ำนักแรงงาน สมั พันธ ทาง E-mail : [email protected] 35



36

แบบ ศ.รส. 2 ปรับปรงุ ก.ย. 2565 แบบรายงานสถานการณดา นแรงงานและประเมินแนวโนม ดา นแรงงานสัมพันธ ไตรมาสท่ี............ระหวางเดือน...................................ถึง...............................................  ศนู ยปฏิบตั กิ ารแรงงานสัมพันธภ าค.............................................  สำนกั งานสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงานจงั หวดั ........................ ------------------------------------- รายงานสถานการณด านแรงงาน  1. ไมม ีขอขดั แยง  2. มีขอ ขดั แยง เกิดขนึ้ (ระบุ) 2.1 สปก./ประเภทกจิ การ : ............................................................................................................ ประเดน็ ที่ทำใหเกิดขอขัดแยง...................................................................................................... 2.2 สปก./ประเภทกิจการ : ............................................................................................................ ประเด็นที่ทำใหเกิดขอขัดแยง......................................................................................................  3. มขี อ ขดั แยงเกิดข้นึ ถงึ ข้ันผละงาน/หยุดงาน (ระบุ) 3.1 สปก. : ........................................................................................................................................ รายละเอยี ด................................................................................................................................. 3.2 สปก. : ........................................................................................................................................ รายละเอยี ด................................................................................................................................. 4. สถานการณทีม่ คี วามสำคัญ (ระบ)ุ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ รายงานประเมินแนวโนม ดานแรงงานสัมพันธ  1. เหตกุ ารณป กติ  2. แนวโนม สถานการณด า นแรงงานสัมพนั ธทอี่ าจเกิดข้ึน (ระบุ) 2.1 สปก./ประเภทกจิ การ : ............................................................................................................ รายละเอยี ด................................................................................................................................. 2.2 สปก./ประเภทกิจการ : ............................................................................................................ รายละเอยี ด.................................................................................................................................  3. แนวโนม /ความเคลื่อนไหว/เหตุการณ ดานแรงงานสัมพันธที่สำคัญ (ระบ)ุ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ผูร ายงาน………………………….………………………………. ตำแหนง..................................................................... วันท.ี่ ............เดือน..............................พ.ศ................. หมายเหตุ : 1. เพือ่ ใหก ารรายงานสถานการณแรงงานครบถว นทุกประเด็น สามารถเพ่มิ แบบรายงานได 2. การจัดทำรายงานวเิ คราะหสถานการณและแนวโนมดานแรงงานสมั พันธ ขอใหค ณะกรรมการศนู ยปฏิบัติการ แรงงานสัมพันธ และศูนยปฏิบัติการแรงงานสัมพันธ ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 7.1, 7.2 และจัดสงภายในระยะเวลา ท่ีกำหนดทาง E-mail : [email protected] พรอมบันทึกขอมูลในระบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (Web Application) ของกรม 37

คำอธิบายเบ้ืองตน : “สถานการณ” (Situation) หมายถึง ความเปนไปของเหตุการณ โดยระบุเก่ียวกับสถานที่ สภาพแวดลอม รวมถงึ ความรสู ึกของผทู ีอ่ ยทู า มกลางสถานการณ ซ่ึงจะทำใหเกดิ บรรยากาศของสถานการณดว ย “เหตกุ ารณ” (Event) หมายถึง เรอื่ งราวท่เี กิดข้นึ โดยอาจไมตอ งระบุรายละเอยี ดเชนเดยี วกับสถานการณ สถานการณ = เหตกุ ารณ + สถานท่ี + สภาพแวดลอ ม + ความรูสกึ + บรรยากาศ ตวั อยา ง (1) เหตุการณ (Event) เชน “ขณะน้ีกลุมลูกจางของ บริษทั ............................จำกัด จำนวนประมาณ..........คน กำลงั ชุมนมุ เรียกรอ ง พรอ มยกปายประทวง...........” (2) สถานที่ (Place) เชน “.....อยูท่ีช้นั ลา ง อาคารกระทรวงแรงงาน.....” (3) สภาพแวดลอม (Environment) เชน “.....ซ่ึงมีลักษณะเปนโถงเปดโลง เหมาะสมตอการใชเปนพ้ืนที่ชุมนุม......” หรือ “.....ทอ งฟา แจม ใส ไมเปน อปุ สรรคตอ การชุมนมุ .....” (4) ความรสู ึก (Feeling) เชน “.....ไดรวมกันปลุกใจ โดยการรองเพลงเพือ่ ชีวิต และโหรอ งแสดงความรูสึกไมพอใจ เปนระยะ ๆ .....” (5) บรรยากาศ (Atmosphere) เชน “.....ทำใหบรรยากาศในที่ชุมนุมคอนขางตึงเครียด.....” ความเหลื่อมซอน ของสถานการณดานแรงงานสัมพันธก ับดานคมุ ครองแรงงาน สถานการณดานแรงงานสัมพันธ อาจเปนเรื่องราวของปญหาที่มีความเหลื่อมซอนกับปญหา ดานคุมครองแรงงาน โดยไมใชปญหา “ดานแรงงานสัมพันธ” โดยตรง ซ่ึงไมใชปญหาอันเกิดจากการใชสิทธิ ตาม “พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 หรือพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. 2543” แตเ ปนปญหาอันเกิดจากการไมมีสวนรวมในการดำเนนิ การเร่ืองใด เรอ่ื งหนึ่ง ทเ่ี ก่ยี วขอ งกับสภาพการจาง ตวั อยา ง : การรายงานสถานการณฯ สถานการณดานแรงงานสมั พันธท่เี กดิ ข้นึ ในภาค......../จังหวดั ............ คือ สถานการณความขัดแยง ระหวางนายจางกับลูกจาง สวนใหญเปนปญหาอันเกิดจากความจำเปนท่ีนายจางตองลดภาระคาใชจายและ ลดคาจางในกิจการ หัตถกรรม ส่ิงทอ และอัญมณี โดยลูกจางไมมีสวนรว มในการแกไขปญหา ซ่ึงมีสาเหตุมาจาก (1) การขาดสภาพคลองทางการเงิน เนื่องจากลูกคาตางประเทศชะลอการสั่งซ้ือสินคา อันเปน ผลกระทบมาจากวิกฤตทางการเงินในสหภาพยุโรป /.................. ทำใหนายจางคางจายคาจาง ลดวันทำงาน ใหลากิจพิเศษโดยไมจายคาจาง และมีการหยุดกิจการชั่วคราว ลูกจางจึงรองทุกขตอพนักงานตรวจแรงงาน และไดรับการแกไขปญหาตามสภาพการณท่ีเกิดขึ้น โดยการออกคำส่ังใหนายจางจายคาจาง และไกลเกลี่ย ทำความเขาใจกับท้ังสองฝายถึงแนวทางในการแกไขปญหารวมกัน เชน การกำหนดมาตรการบรรเทาปญหา การเลกิ จา งและการเตรยี มความพรอมเพื่อรองรบั ผลกระทบจากการปรบั อัตราคา จาง ภาวะเศรษฐกจิ เปนตน (2) วัตถุดิบมีราคาสูงขึ้น และไมสามารถปรับราคาสินคาใหสูงขึ้นได นายจางจึงเสนอใหลูกจาง สมคั รใจลาออก และจายเงินชว ยเหลือจำนวนหน่ึง • แนวโนม หมายถึง การประเมินแนวโนมดานแรงงานสัมพันธ โดยการตีคาระดับทิศทางการเปลี่ยนแปลง ของเรื่องใดเร่ืองหนึ่งดานแรงงานสัมพันธ ภายหลังจากการวิเคราะหขอมูลสถานการณดานแรงงานสัมพันธ ท่ีเกิดข้ึนแลวในอดีต หรือกำลังเกิดขึ้นในปจจุบัน เพื่อคาดการณส่ิงที่จะเกิดข้ึนในอนาคต อยางเปนเหตุเปนผล ซึ่งอาจเปนไปในทิศทางที่เกินคาด คาดไมถึง หรือเปนไปตามท่ีคาดการณไวก็ได โดยมีความมุงหมายเพ่ือเตรียมการ ปองกันและระงับยับย้ังหรือแกไขปญหา ซ่ึงอาจมีความเก่ียวของกับสถานการณที่กำลังเกิดขึ้นในปจจุบันหรือ อาจมคี วามเช่อื มโยงกับสถานการณท ี่เกิดข้นึ แลวในอดตี 38

ตวั อยา ง : การเขียนแนวโนม (1) หากการส่ังซื้อสินคาของลูกคาเขาสภู าวะปกติ หรือนายจางไดผูรว มทุนรายใหม คาดวานายจาง จะมีสภาพคลองทางการเงินดีข้ึน ปญหาความขัดแยงและความไมเขาใจกันอันเกิดจากการคางจายคาจาง การลด วันทำงาน การใหลากิจพิเศษโดยไมจายคาจาง และการหยุดกิจการช่ัวคราว อาจลดลง นายจางและลูกจาง มีความเขา ใจตอกันดียิ่งข้ึน (2) หากนายจางจำเปนตองปรับลดจำนวนลูกจางลงอีก อาจทำใหลูกจางไมพอใจ ถาไมใชการสมัครใจ ลาออกและจา ยเงินชว ยเหลือใหจำนวนหนึ่ง • สถานประกอบกิจการท่ีมีความเส่ียงตองเฝาระวัง หมายถึง สถานท่ีหรือสถานประกอบกิจการที่ตอง ใหความสนใจ เพราะวา มีความเส่ียงท่ีอาจจะเกิดปญหาดานแรงงาน อันเกิดจากปญหาเศรษฐกิจ หรือปญหา ความขดั แยง หรือมีความเสี่ยงตอ การเขาใชเ ปน พืน้ ทช่ี มุ นมุ ------------------------------------------------------- สำนกั แรงงานสัมพันธ กลุมงานยุทธศาสตรแรงงานสัมพนั ธ ณ วันที่ 24 กันยายน 2565 39



40

กจิ กรรมที่ 8 • ตรวจเยยี่ ม ใหคําปรกึ ษาแนะนํา และติดตามเฝา ระวัง ปญ หาความขดั แยงในสถานประกอบกิจการ (สรส./สสค.) 1. ลกั ษณะกิจกรรม เปน การดำเนินการ 2 กจิ กรรม ไดแ ก 1.1 กิจกรรมติดตามการปฏิบัติตามขอตกลงเก่ียวกับสภาพการจาง เปนการเขาตรวจเยี่ยม สถานประกอบกิจการที่มีขอตกลงเก่ียวกับสภาพการจาง เพื่อติดตามผลการปฏิบัติตามขอตกลงฯ ของนายจาง และลกู จาง/สหภาพแรงงาน และสรางความเขาใจกับท้ังสองฝายเกี่ยวกับขอตกลงฯ เพ่ือไมใหมฝี ายหน่ึงฝายใด ฝาฝน ขอตกลงฯ อันจะนำมาซง่ึ ความขดั แยงในสถานประกอบกิจการ 1.2 กิจกรรมตรวจเย่ียมเพ่ือเฝาระวังปญหาความขัดแยงในสถานประกอบกิจการ เปนการเขาตรวจเย่ียม สถานประกอบกิจการที่เปนกลุมเสี่ยง เพ่ือใหคำปรึกษาแนะนำเก่ียวกับแนวทางการอยูรวมกันบนพ้ืนฐานของ หลักการแรงงานสัมพันธท่ีดี กฎหมายแรงงานสัมพันธและกฎหมายอ่ืนที่เกี่ยวของ ตลอดจนแลกเปล่ียนขอมูล ขาวสารซ่ึงกันและกนั พรอมเสนอแนะแนวทางแกไขปญหาแกนายจางและลกู จาง/สหภาพแรงงาน เพื่อเฝาระวัง ปญ หาความขัดแยงท่ีอาจเกดิ ข้ึนภายในสถานประกอบกิจการ 2. วัตถปุ ระสงค เพอ่ื เปน การปอ งกันปญ หาความขัดแยง ที่อาจเกดิ ขึน้ ในสถานประกอบกจิ การ 3. แนวทางปฏิบตั ิตามกิจกรรม 3.1 กจิ กรรมติดตามการปฏิบตั ติ ามขอ ตกลงเก่ยี วกบั สภาพการจา ง เปนการเขาตรวจเยย่ี มสถานประกอบกิจการที่มีขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจา ง เพ่ือตดิ ตามผลการปฏิบัติ ตามขอตกลงฯ ของนายจา งและลูกจาง/สหภาพแรงงาน และสรา งความเขาใจกบั ทัง้ สองฝา ยเก่ยี วกับขอตกลงฯ เพื่อไมใ หม ีฝายหนึ่งฝายใดฝาฝนขอตกลงฯ อนั จะนำมาซึ่งความขัดแยงในสถานประกอบกจิ การ โดยดำเนินการ ดงั น้ี 1) การเตรียมการและการวางแผน 1.1 ตรวจสอบขอมลู สถานประกอบกจิ การท่มี ขี อตกลงเก่ยี วกับสภาพการจาง 1.2 นัดหมายสถานประกอบกิจการทราบลวงหนา เพ่ือใหสามารถเตรียมขอมูลและกำหนด บคุ คลทีจ่ ะใหขอ มูลไดอยา งเหมาะสม 2) แนวปฏบิ ัตริ ะหวา งการดำเนนิ การ 2.1 แนะนำตัว และชี้แจงถึงวัตถุประสงคของการเขาไปติดตามผลการปฏิบัติตามขอตกลง เกี่ยวกบั สภาพการจาง 2.2 สอบถามขอเท็จจริงตาง ๆ เก่ียวกับการปฏิบัติตามขอตกลงฯ จากท้ังสองฝายโดยสราง บรรยากาศการพูดคยุ ท่ีดี และเปดโอกาสใหทั้งสองฝายไดรวมหารือทำความเขาใจซง่ึ กันและกันเก่ียวกับขอตกลงฯ 2.3 หากพบวามีการไมปฏิบัติตามขอตกลงฯ ใหสอบถามประเด็นปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นและ ใหข อ เสนอแนะแกท ้ังสองฝายเกย่ี วกบั แนวทางการแกไขปญ หาดังกลาว 2.4 เปดโอกาสใหสถานประกอบกิจการ นายจาง ลูกจาง/สหภาพแรงงานไดแลกเปลี่ยนขอมูล ซักถามขอ สงสยั หรือกฎหมาย รวมทั้งรบั ฟง ขอเสนอแนะตาง ๆ เพื่อประโยชนในการพฒั นางานแรงงานสมั พันธ 2.5 บันทึกผลการปฏิบัติตามขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเปนหนังสือและขอความรวมมือ ทงั้ สองฝา ยลงสายมอื ชื่อเพือ่ เปน หลกั ฐาน 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook