Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit15

unit15

Published by vanich.bu, 2017-07-23 21:56:10

Description: unit15

Search

Read the Text Version

1 บทท่ี 15 การเพิ่มผลผลติ โดยหลกั การบริหาร สาระการเรียนรู 1. การบริหารงานทเ่ี ปนระบบ 2. การเพมิ่ ผลผลติ โดยใชก ิจกรรม 5 ส 3. การเพ่ิมผลผลิตโดยใชก จิ กรรมกลมุ คณุ ภาพ (QCC) 4. การเพิ่มผลผลิตโดยใชระบบบรหิ ารคุณภาพ ISO 9000 5. การเพม่ิ ผลผลิตโดยใชก ารศึกษางาน 6. การเพิ่มผลผลิตโดยลดความสูญเสยี และเพม่ิ ความประหยดั ในปจ จัยการผลติ 7. เคล็ดลับเพือ่ เพ่ิมความสาํ เรจ็ ในการเพม่ิ ผลผลติ ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง 1. อธิบายการบริหารงานที่เปนระบบได 2. อธบิ ายการเพม่ิ ผลผลติ โดยใชกิจกรรม 5 ส 3. อธิบายการเพมิ่ ผลผลติ โดยใชก จิ กรรมกลมุ คุณภาพ (QCC) ได 4. อธิบายการเพม่ิ ผลผลติ โดยใชระบบบรหิ ารคุณภาพ ISO 9000 ได 5. อธิบายการเพมิ่ ผลผลติ โดยใชก ารศกึ ษางาน 6. อธิบายการเพม่ิ ผลผลิตโดยลดความสูญเสียและเพิ่มความประหยดั ได 7. บอกเคล็ดลบั เพอ่ื การเพม่ิ ความสําเร็จในการเพม่ิ ผลผลติ ได 8. อภปิ รายเทคนคิ วิธใี นการเพมิ่ ผลผลิตอน่ื ๆ ได การบริหาร (Management) คือ การประสมประสานทรพั ยากรตาง ๆ อันไดแ ก คน ทนุวิทยาการ วสั ดอุ ปุ กรณ เครอ่ื งจกั ร ลกู คาและเวลา เพือ่ ใหการดําเนินงานเปน ไปอยา งมีประสิทธิผลบรรลผุ ลสําเร็จตามวตั ถุประสงคทก่ี าํ หนดไว (สุโขทยั ธรรมาธริ าช , 2543 : 6) ดังน้ันการบรหิ ารจัดการในองคกรใหม ปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผล ยอ มประสบผลสาํ เร็จตามวตั ถปุ ระสงคท ่อี งคก รต้งั ไว หลกั การเพม่ิ ผลผลิตโดยการบรหิ ารจดั การมีเทคนคิ วธิ กี ารตาง ๆ ดงั น้ี1. การบรหิ ารงานท่เี ปน ระบบ ซ่ึงมีองคป ระกอบดังน้ี 1.1 การวางแผน (Planning) เปนการกาํ หนดจดุ มุง หมายการปฏิบตั งิ านไวล วงหนา วา จะทําอะไร ทาํ ทําไม ทาํ ทไ่ี หน กับใคร เม่อื ไร และทําอยางไร โดยคาํ นงึ ถงึ อปุ สรรคและส่งิ แวดลอ มตา ง ๆ เชนเงินทนุ เวลา แรงงาน สภาพเศรษฐกจิ ภายในประเทศ การเมือง สงั คม คแู ขงทางการคา เปนตน 1.2 การจัดองคกร (Organization) เปน การจดั โครงสรางขององคกรวาจะมแี ผนกหรือฝา ย

2อะไรบา ง และทาํ หนาที่อะไร มผี ูป ฏบิ ัติงานอะไร จาํ นวนเทา ไร มกั จะเรยี กวา แผนภูมิการบรหิ ารงาน ผูจัดการบรษิ ัทหัวหนาฝา ยธุรการ หัวหนา ฝายการตลาด หวั หนา ฝายการผลติ หวั หนา ฝา ยบริการ รูปท่ี 15.1 แผนภูมิการบรหิ ารองคก ร 1.3 การอาํ นวยการ (Directing) เปนภาระหนาทข่ี องผบู ริหารทกุ ระดับ ที่จะสง่ั การใหผใู ตบ งั คับบญั ชาทาํ งานใหส าํ เรจ็ ลลุ วงตามเปาหมายขององคกร โดยผูบ รหิ ารจะตองมคี วามสามารถในการจงู ใจการติดตอ สอ่ื สาร และความเปนผนู ํา มิฉะนัน้ อาจจะมปี ญหาในการอํานวยการใหผ ใู ตบ ังคับบัญชาทํางานได 1.4 การควบคมุ (Controlling) เปนการกาํ หนดมาตรฐานการปฏิบตั งิ านท่จี ะตอ งปฏบิ ัตใิ นองคก ร เชน งานชิน้ หนงึ่ จะตอ งประกอบใหแ ลว เสร็จในเวลา 1 ชว่ั โมง เปนตน มกี ารควบคมุ และประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานของพนกั งาน ถา ปฏิบัติงานไมด ีหรือไมไดม าตรฐานจะตอ งมกี ารปรบั ปรุงแกไขทง้ั การทาํ งานหรอื แกไขมาตรฐานการทํางาน นอกจากนี้ยงั มีองคป ระกอบของการบริหารเพือ่ การเพิม่ ผลผลิตอกี รปู แบบหนึง่ ดงั นี้ (ปย ดาดิลกปรชี ากุล, 2545 : 252) 1. กําหนดนโยบายและวสิ ยั ทัศนข ององคก รโดยฝา ยบรหิ ารระดบั สูง วา องคกรจะไปทิศทางใด เชน ผลติ สนิ คา และใหบ รกิ ารทีม่ ีคณุ ภาพ ลูกคา พงึ พอใจ ชว ยเหลือสงั คม เปน ตน 2. กาํ หนดเปาหมายและวตั ถปุ ระสงคใ หส อดคลอ งกบั นโยบายขององคกร เชน เพมิ่ ผลผลิตรอ ยละ 15 ลดการรองเรยี นของลกู คาลงรอยละ 20 เปน ตน 3. จัดทําแผนหลกั ขององคกร (Master Plan) และแผนปฏิบัตงิ านประจําป เพ่อื ใหบ รรลุเปา หมายทกี่ ําหนดไว 4. กาํ หนดแผนกลยุทธ (Strategies Plan) เพื่อการแกป ญ หาและสรางองคกรใหมคี วามเขม แขง็เอาชนะคแู ขงทางการคา 5. บรหิ ารจดั การตามหลกั การบริหาร เพ่อื ใหหนว ยงานตาง ๆ ภายในองคก รสามารถดําเนนิ งานไดต ามเปาหมาย 6. ประเมินผลการดาํ เนินงานขององคก รเปนระยะ ๆ และแจงผลการประเมนิ ใหห นวยงานภายในองคก รทราบและปรับปรงุ แกไ ข 7. มีระบบการวเิ คราะหผลการประเมิน และสรุปผลการดําเนินงานและแจงใหทกุ คนในองคกรไดร บั รู

38. ปรับปรงุ งานอยา งตอ เนือ่ งใหดแี ละมปี ระสิทธภิ าพข้นึ เรอ่ื ย ๆ สามารถศกึ ษารปู แบบการบริหารอืน่ ๆ ไดจากหนังสอื การบริหารงานท่วั ไปนอกจากน้ลี เู ธอร กูลลิกด (Luther Gulick) ไดจ ําแนกหนา ท่ีทางการบริหารงานทีม่ ีประสิทธภิ าพไวเ ปน 7 ขนั้ ตอนทเ่ี รียกวา “POSDCORE Models” ซง่ึ มชี อ่ื เรยี กดงั นี้P = Planning หมายถงึ การวางแผนO = Organization หมายถงึ การจดั องคก รS = Staffing หมายถงึ การจดั คนเขา ทํางาน (ตามโครงสรางการจัดองคก ร)D = Directing หมายถึง การอาํ นวยการ (การส่ังการใหพ นกั งานทาํ งาน)Co = Coordinating หมายถงึ การประสานงาน (ท้งั ภายในและนอกองคกร)R = Reporting หมายถึง การรายงานB = Budgeting หมายถึง การจดั ทาํ งบประมาณ2. การเพมิ่ ผลผลิตโดยใชกจิ กรรม 5 ส (5 S) กจิ กรรม 5 ส เปนกจิ กรรมทมี่ งุ สรา งความเปนระเบยี บของสถานทที่ าํ งาน สุขลกั ษณะและกิจนิสยั ทดี่ ีของบุคลากรขององคก ร ซงึ่ มกี จิ กรรมท่ตี อ งทาํ อยู 5 ขนั้ ตอน คอื 1. การสะสาง เปน การแยกแยะสิง่ ของทจี่ าํ เปนตอ งใชและไมจ ําเปน ซ่งึ ตอ งทิง้ ออกจากกนั 2. สะดวก เปนการจดั วางสิ่งของทจ่ี าํ เปน ตองใชใ หเปน ระเบยี บ หยิบงาย และปลอดภยั 3. สะอาด เปนการทําความสะอาด กําจัดสงิ่ สกปรกในสถานทที่ าํ งาน และบรเิ วณที่รบั ผิดชอบ 4. สุขลักษณะ เปน การกําจดั ตน เหตขุ องความสกปรก สง่ิ รบกวนตาง ๆ ใหหมดไป เพือ่ ใหสขุ ภาพของพนักงานดที ง้ั กายและใจ 5. สรางนิสยั เปน การปลูกฝงนสิ ยั ใหพ นักงาน ทํากิจกรรมทงั้ 4 ขนั้ ตอนอยางตอ เนือ่ งและรกั ษากฎระเบยี บทีอ่ งคก รกาํ หนดอยางเครง ครดั ถา องคกรสามารถปลูกฝงพฤตกิ รรมของพนักงานใหปฏบิ ัติไดอ ยา งตอ เน่ืองจะทาํ ใหม ีประสิทธ-ิภาพในการทาํ งานของบคุ ลากรและเพมิ่ ผลผลติ ขององคกร รวมทง้ั จะนาํ ไปสูการทํากจิ กรรมอยา งอนื่ ไดเปนอยา งดี เชน QCC, ISO 90003. การเพ่ิมผลผลิตโดยใชก ิจกรรมกลุมคุณภาพ (Quality Control Circle : QCC) กลมุ คิวซี เกดิ จากการรวมตวั ของพนักงานในแผนกหรืองานเดียวกนั ทาํ กจิ กรรม เพอ่ื แกปญหางานและพฒั นาตนเองใหมีคณุ ภาพ โดยใชห ลักวงจรเดมงิ่ หรือวงจร PDCA กลมุ คิวซจี ะตอ งมีความรู ความเขา ใจวิธกี ารแกปญ หาโดยอาศยั วิธีการวทิ ยาศาสตร มีความรูดา นพฤตกิ รรมศาสตร เชน มนษุ ยส ัมพนั ธ การทาํ งานเปน ทมี การระดมสมอง ความเปน ผูนาํ รจู ักเทคนิคเครือ่ งมอื อยา งนอ ย 7 ประการ เชน ใบตรวจสอบ ตารางจําแนกขอ มูล แผนภาพสาเหตุและผล ฯลฯ เพื่อ

4นํามาใชใ นการเกบ็ ขอ มลู และการวเิ คราะหห าสาเหตแุ ละวิธกี ารแกไ ขปญ หา รูขั้นตอนการทํากิจกรรม 7ขัน้ ตอน และประการสดุ ทายจะตองมีความรูในวธิ กี ารนาํ เสนอผลงานตอสาธารณะชน ดังน้นั พนกั งานทกุ คนในองคก รทีท่ าํ กจิ กรรมควิ ซี ตามนโยบายขององคก รและทําอยา งตอเนือ่ งยอ มไดค ุณภาพท้ังงานทร่ี ับผิดชอบและตวั พนักงานขององคก ร การทํากิจกรรมควิ ซี จะนาํ ไปสกู ารทาํกจิ กรรมคณุ ภาพอยางอน่ื ตอ ไป4. การเพมิ่ ผลผลิตโดยใชร ะบบบรหิ ารคุณภาพ ISO 9000 ระบบบรหิ ารคุณภาพ ISO 9000 เปน มาตรฐานสากลท่ใี ชใ นการบรหิ ารงานคณุ ภาพภายในองคก ร ทเ่ี นนการควบคมุ คณุ ภาพและการประกนั คุณภาพ เพ่ือความพึงพอใจของลกู คาเปนสาํ คัญ บนพน้ื ฐานการบรหิ ารที่วา เมอ่ื กระบวนการผลิตและบรกิ ารดี ผลผลิตทีอ่ อกมายอ มจะดตี ามไปดว ย ระบบบรหิ ารคุณภาพ ISO 9000 ฉบับป ค.ศ. 2000 หรือ ISO 9000 : 2000 ประกอบดว ยมาตรฐานหลกั 3 ฉบบั 1. ISO 9000 ระบบบริหารคุณภาพ : หลักการพนื้ ฐานและคาํ ศัพท 2. ISO 9001 ระบบบรหิ ารคุณภาพ : ขอกําหนด 3. ISO 9004 ระบบบรหิ ารคุณภาพ : แนวทางการปรบั ปรงุ และมี ISO 19011 : 2001 : มาตรฐานผูตรวจและการตรวจประเมนิ ระบบบริหารคณุ ภาพ ISO 9000 : 2001 : กลา วถึงการบรหิ ารคณุ ภาพในองคกร 5 เรื่องใหญ ๆคือ 1. ระบบบริหารคณุ ภาพ (Quality management system) 2. ความรบั ผดิ ชอบของฝา ยบริหาร (Management responsibility) 3. การจดั การทรพั ยากร (Resource management) 4. การจดั ทาํ ผลติ ภัณฑ (Product realization) 5. การจดั การวเิ คราะห และการปรบั ปรุง (Measurement analysis and inprovement)5. การเพม่ิ ผลผลติ โดยใชการศึกษาการทํางาน (Work Study) การศึกษาการทํางาน เปนการศกึ ษาเกย่ี วกบั ชวงเวลาทแี่ นน อนท่ีใชใ นการปฏบิ ัตงิ านหน่ึง ๆเชน การประกอบชิ้นสวน การผลิตช้ินสว น การขนสง วัตถดุ ิบระหวา งผลิต เปน ตน ในการปฏิบตั ิงานเหลาน้ีมที ั้งเวลาและข้ันตอนทีจ่ ะเปน ตอ การทาํ งานจริง ๆ และข้นั ตอนทไ่ี มจาํ เปน ดงั นนั้ การศกึ ษาการทาํ งานจะขจดัขน้ั ตอนท่ีไมจาํ เปนออกไปหรือปรับปรุงใหม และจะไดเ วลาทาํ งานมาตรฐานในแตละข้ันตอนหรือแตล ะงานซง่ึ เปน เวลาเฉลี่ยท่ีพนกั งานทวั่ ไปทําได การศกึ ษาการทาํ งานจะทําใหเ กิดการเพิม่ ผลผลติ ไดดงั นี้ (ธีรวุฒิ บญุ ยโสภณและวรี พงษเฉลมิ จริ ะวัฒน, 2521 :133) 1) เปนวธิ ีการเพมิ่ พนู ประสิทธิภาพของการผลิตในหนว ยงานผลิตใหสูงข้ึน ดวยการจดั

5ระบบการทํางานใหม โดยไมเสียคา ใชจายหรอื ลงทุนเพมิ่ หรือเสียคาใชจา ยเพยี งเล็กนอ ย 2) การศึกษางานอยางเปนระบบ เชน ใชว ีดที ศั นเ ปนเครือ่ งมอื จบั การเคลื่อนไหว จะทาํ ใหมัน่ ใจไดว าไมม ีการมองขามปจจยั ใดทม่ี ีผลตอประสทิ ธิภาพในการผลติ ไปทง้ั ในการวเิ คราะหง านท่ีปฏบิ ตั อิ ยูเดมิ หรือในการวเิ คราะหงานทป่ี ฏิบตั ใิ นงานหรือโครงการที่เสนอใหม 3) เปน แนวทางในการจัดทาํ มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน เพอ่ื นาํ ไปใชใ นการวางแผนและควบคมุ การทํางานไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 4) ผลการศึกษาการทาํ งานและการนาํ ไปประยกุ ตใ ชงานในองคก รจะชว ยประหยดั ทงั้ คาใชจ า ยและเวลาในกระบวนการผลิต 5) เปนเครอ่ื งมือ ท่สี ามารถนาํ ไปใชก บั การทํางานทกุ ลักษณะทั้งงานผลิตและงานบริการ 6) เปน เครอ่ื งมอื ท่ใี ชไดชัดเจนที่สุดสาํ หรับฝายบรหิ ารในการใชเ พอ่ื วิเคราะหประสิทธภิ าพขององคก รและหาจดุ บกพรอ งในสว นตาง ๆ ทีม่ ตี อสมรรถนะขององคก รสญั ลักษณท ี่ใชแ ทนกิจกรรมหรอื ข้นั ตอนในการทํางาน สําหรบั การศึกษางานสญั ลกั ษณ ความหมาย การปฏบิ ัติงาน (Operation) การขนสง (Transportation) การตรวจสอบ (Inspection) การรอหรือเก็บไวช่ัวคราว (Delay) การเก็บรักษาหรือเก็บถาวร (Storage) รปู ที่ 15.2 สญั ลักษณท ใี่ ชในการศกึ ษางาน 1) การปฏิบตั ิงาน หมายถึง การท่วี ัสดุในกระบวนการผลติ ไดรบั การเปลยี่ นแปลงลกั ษณะรปู รา งหรือคณุ สมบั ตทิ ัง้ ทางฟส กิ สแ ละเคมี รวมทง้ั การใสประกอบเขา หรอื การถอดประกอบออกจากวัสดอุ น่ืหรอื การท่ีวัสดถุ กู จดั เตรยี มเพื่อรอการดาํ เนินการในขนั้ ตอ ไป หรือรอการขนสง รอการตรวจสอบหรอื รอเกบ็รกั ษา เปนตน เชน การทาํ นอต จะมีข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ าน ดังนี้ (1) ตดั เหล็กดวยเลื่อยมอื (2) กลงึ ปอกดว ยเครื่องกลึง (3) กลงึ เกลยี ว (4) ทดสอบเกลยี ว

6 2) การตรวจสอบ หมายถึง การท่วี ัสดุ หรือชน้ิ สว นไดรับการตรวจเช็คดว ยเคร่อื งมือ เพอ่ื ใหทราบคุณสมบัติตามมาตรฐานทง้ั รปู ราง ลักษณะ ทางกายภาพและทางเคมี เปน ตน 3) การขนสง หมายถึง ชวงของการขนยา ยชนิ้ สว น หรอื งานผลิตจากหนว ยผลิตหน่งึ หรอืเคร่อื งจักรกลหนึง่ ไปยงั หนว ยผลิตถัดไป ทงั้ ดว ยแรงคนหรอื รถยนตห รือระบบการขนสง อยางอ่นื เชน รอกเคลน เปนตน 4) การรอ หมายถงึ การท่ีชน้ิ สวนหรืองานผลิตหยดุ การปฏิบตั ิในข้นั ตอ ไปช่วั ครู เพ่อื รอการเรียงลาํ ดบั กอนหลงั หรือรอเครื่องจักร หรือเพอ่ื รอใหห นว ยผลติ ทีอ่ ยูถัดไปวาง 5) การเก็บรักษา หมายถึง การจดั เกบ็ วัสดุหรอื ชิ้นสว นใด ๆ สําหรบั กระบวนการผลติ เพอ่ืรอนาํ ออกมาใชงาน หรือเกบ็ ผลิตภัณฑส าํ เรจ็ รูป6. การเพ่มิ ผลผลติ โดยการลดความสญู เสยี และเพ่มิ ความประหยดั ในปจ จยั การผลติ ถา องคกรสามารถลดปจจยั การผลติ ไดโ ดยสนิ คาหรือบรกิ ารไมลดคณุ ภาพ มีกจิ กรรมตางๆ ท่ีนํามาใช เชน 4 Zero (ลดการสญู เสียใหเ ปน ศูนย) 5 R (การนาํ วัตถดุ บิ หรอื ผลิตภัณฑกลับมาใชใ หม) ดงั นี้ 1) Zero Defect คือ การลดความสูญเสียและความสนิ้ เปลอื งดานพลังงานในการผลิต การขนสงหรอื การบริการ การใชวตั ถุดิบทด่ี อยคุณภาพ การตดิ ตง้ั เครอ่ื งจักรในการผลติ ครั้งแรกไมดี จากการขาดงานหรือการลาออกของพนกั งาน การทําใหพนกั งานไมมีความเชี่ยวชาญในการผลติ ซ่ึงสาเหตุตา ง ๆเหลานจ้ี ะตอ งแกไขโดยใชห ลักวิชาการและกจิ กรรมสงเสริมทัศนคติ เชน การฝกอบรม, กิจกรรม 5ส , กจิ กรรมQCC , การซอ มบาํ รงุ เปน ตน 2) Zero Delay คอื การลดความสญู เสยี เวลาในการรอหรอื การเสยี เวลาในกระบวนการผลติ อยา งตอ เน่อื ง อาจจะมาจากประสิทธภิ าพของเครอื่ งจักรไมดพี อ วัตถุดิบไมเ พียงพอ ขาดการวางแผนการผลิตที่มีประสิทธภิ าพ พนกั งานไมม วี นิ ัยและไมตรงตอเวลารวมทัง้ ขาดความรับผดิ ชอบ ผบู ริหารขาดความเอาใจใสในการควบคมุ ดูแล ซ่งึ สาเหตตุ าง ๆ เหลาน้จี ะตองแกไ ขโดยปรบั ปรุงการบรหิ ารงานทม่ี ีประสิทธิภาพ ใชระบบบริหารคณุ ภาพในองคกร รวมทงั้ ใชก จิ กรรมเพ่ือสรา งทศั นคติใหเ กดิ กับพนักงานทกุระดับ เชน การ ฝกอบรม, กิจกรรม 5 ส, กจิ กรรม QCC, การบรหิ ารคณุ ภาพดว ย ISO 9000 เปนตน 3) Zero Inventory คอื การลดการตกคา งของวตั ถดุ ิบ หรือสนิ คาในคลังสินคาอาจจะมาจากการวางแผนการผลิตไมดี ขอ มูลการตลาดไมเ พียงพอ การจดั การคลงั สินคาไมมีประสิทธภิ าพทําใหอ งคกรตอ งผลติ สินคา มากเกนิ ความตอ งการ ตอ งสง่ั วตั ถุดิบมาสํารองมาก สินคาและวัตถดุ บิ เหลา นีถ้ ามีสงู เกินไปยอ มจะเปนตน ทนุ ขององคก รดว ย อาจจะแกไขโดยการวางแผนการผลติ แบบทันเวลาพอดี (Just InTime : JIS) ระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ISO 9000 เปน ตน 4) Zero Accident คือ การลดการเกดิ อุบตั ิเหตุใหเ ปนศูนย โดยการสรางจิตสํานึกในเร่อื งของความปลอดภยั ใหเกดิ แกพ นกั งานทุกคน ตรวจสอบและปรับปรงุ เคร่อื งมือ เคร่อื งจักรใหมปี ระสทิ ธ-ิภาพ จดั สภาพแวดลอ มท่ีมคี ณุ ภาพ จัดหาและบังคบั ใชอ ุปกรณป อ งกนั อบุ ตั เิ หตุสวนบุคคลแกพ นกั งานทกุ คนเปน ตน

7 สําหรบั 5 R (การนําวตั ถดุ ิบหรอื ผลติ ภณั ฑกลบั มาใชใหม) มีดังนี้ 5) Reuse คือ การนาํ กลับมาใชใ หม เปน การนําปจจยั การผลติ บางอยางท่ีสามารถใชงานไดอกี โดยไมซ้อื ใหม เชน วัสดุ ชนิ้ สวนทจี่ ดั เก็บไวใ นหอ งเก็บวสั ดุ ดงั น้ันการทํากิจกรรม 5 ส ท่ีพนักงานปฏบิ ตั ิจะสามารถนาํ ชิ้นสวนทีม่ อี ยแู ลว มาใชได ไมจําเปนตน ไปจดั ซอื้ ใหม 6) Repair คอื การซอมแซมอุปกรณหรอื เครอื่ งจักร เน่ืองจากอุปกรณห รอื เคร่อื งจักรท่ใี ชใ นกระบวนการผลิต ชาํ รดุ หรอื จะหมดอายกุ ารใชง าน ดังน้ันถา ซอมแซมปรบั ปรงุ อกี บา งกจ็ ะมตี นทนุไมส ูงเกินไป แตท าํ ใหผลผลิตเพิม่ ขน้ึ ได 7) Recycle คือ การนาํ วสั ดทุ ่ีเหลือจากกระบวนการผลติ หรอื ผลติ ภณั ฑทม่ี ขี อบกพรอง นํากลับมาปรบั ปรงุ และใชใ นกระบวนการผลติ ใหมท ําใหล ดตน ทุนการผลิตได บางเรือ่ งอาจจะตอ งลงทุนทางเทคโนโลยบี า งในการปรับปรงุ คุณภาพของวัสดุเหลอื ใช เชน การปรับปรุงน้ําเสยี กลบั มาใชในกระบวนการทําคามสะอาดผลิตภัณฑ เปน ตน 8) Re-product คอื การนาํ วัสดุ อุปกรณจ ากกระบวนการผลิตทใี่ ชไ มไดแลวมาประกอบหรือทาํ ผลิตภณั ฑใหม ซง่ึ ตองใชบ ุคลากรทม่ี ีความคิดสรางสรรคมาประดิษฐคิดคน เชน การการเพิ่มเติมสว นประกอบของผลิตภัณฑ ทาํ ใหส ามารถใชง านไดมากกวา ผลิตภัณฑท ่ีออกแบบไวเ ดมิ 9) Reject คือ การแยกหรอื ทาํ ลายผลิตภณั ฑทบ่ี กพรอ งตามขอกาํ หนด เพอ่ื ไมใหสนิ คา ทบ่ี กพรอ งตกถึงมือลกู คา ซง่ึ จะทาํ ใหภาพพจนขององคก รเสียหายได ยกเวน จะมขี อตกลงบางประการในเรือ่ งของสินคากับลกู คา เปนการเฉพาะ การทาํ กิจกรรมตาง ๆ เหลา นจี้ ะมที งั้ การใชหลักวชิ าการ ใชเ ทคโนโลยี หลกั การบรหิ ารและการพฒั นาพนกั งาน จงึ ตองศึกษารายละเอยี ดในระดบั ตอ ไป นอกจากนย้ี ังมกี จิ กรรมตาง ๆ เพ่ือการเพมิ่ ผลผลิต อีกหลายกจิ กรรมเชน การปรับรื้อระบบ(Reengineering) วงจรเดมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) การบริหารคุณภาพทงั่ ทั้งองคกร (Total QualityControl : TQC) หลกั กายศาสตร (Ergonomics) (ใชออกแบบเครอ่ื งจกั ร อุปกรณแ ละบริเวณท่ีเหมาะสมกบัพนักงาน) การสรางความปลอดภยั ในองคก ร การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการส่ือสารภายใน องคก ร กจิ กรรมขอ เสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรงุ งาน เปน ตน ซ่ึงผูสนใจสามารถศกึ ษาไดจากหนงั สอื การควบคุมคุณภาพ หรือการบรหิ ารคุณภาพทัว่ ไป7. เคล็ดลบั เพือ่ ความสําเรจ็ ในการเพมิ่ ผลผลิต การเพ่ิมผลผลติ ใหป ระสบความสาํ เรจ็ มีหลกั การ ดังนี้ (สมเกยี รติ จรี ะเชียรนาก อางอิงจากวชิ ยั แหวนเพชร, 2543 :185) 1) ตอ งมุงมั่นตอ การปรับปรงุ คณุ ภาพ 2) จัดหาความชํานาญเพิม่ เตมิ เชน การเพมิ่ ความรู ทกั ษะและประสบการณแ กพ นกั งานทกุ ระดับ 3) ใหโ อกาสพนกั งานไดแ สดงออก เชน แสดงความรู ความสามารถหรือผลงานท่ที าํ ได

8 4) สรา งผนู ําใหเ กดิ ขึน้ ในองคก ร โดยเปด โอกาสใหทุกคนกา วไปสูความสําเรจ็ ซึ่งจะเกดิผลดีตอ การเพมิ่ ผลผลติ 5) ระบบการใหร างวัลทางดา นจิตใจ หรือตัวเงินตอ งนาํ มาใช 6) ทาํ อยา งตอ เนอ่ื งและจริงจงั 7) ความยตุ ธิ รรมและโปรง ใส การบรหิ ารงานในองคกรจะตองตรวจสอบได อธิบายเหตุผลตอผูเกี่ยวขอ งได 8) การบริหารตอ งเปนระบบ กลาวคอื กําหนดนโยบายและเปาหมายขององคกร กาํ หนดแผนงานและขั้นตอนการทํางาน ระยะเวลาการทาํ งาน ความรบั ผิดชอบของแตละฝาย ใหช ดั เจน รวมทง้ั การประเมินผลการทํางานและการปรับปรงุ การทํางานอยา งตอเน่ือง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook