Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พื้นฐานการเขียนโปรแกรม (4)

พื้นฐานการเขียนโปรแกรม (4)

Published by Thidarat Phimmalang, 2021-08-28 04:18:52

Description: พื้นฐานการเขียนโปรแกรม (4)

Keywords: COMPUTERS

Search

Read the Text Version

เร่ือง พ้ืนฐานการเขียนโปรแกรม จดั ทาโดย นางสาว ธิดารัตน์ พิมมะลงั 621061100213 นางสาว ณฐิกา แกว้ อินธิ 621061100015 นางสาว สิรินคน์ ภา ชาสงวน 621061100262 นางสาว นงคล์ กั ษ์ แกว้ มุกดา 621061100114 นางสาว วนี สั ขนั ขวา 621061100106 เสนอ อาจารย์ ศิวโรจน์ จินดา รายงานน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของวชิ า โปรแกรมมลั ติมิเดียเพอ่ื การนาเสนอ(0601) หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ 3 สาขาคอมพวิ เตอร์ ปี การศึกษา 2564 วิทยาลยั นาหวา้ มหาวทิ ยาลยั นครพนม

คำนำ เน่ืองจากในปัจจุบนั มีการพฒั นางานดา้ นธุรกจิ ในหลาย ๆ ดา้ นไม่ว่าจะดา้ นบญั ชี การเงิน การส่ือสาร การ บริหาร การประเมิน การตรวจสอบ ดา้ นบุคลากร ดา้ นการบริการ ดา้ นการจดั การระบบ ดา้ นการคานวณ ฯลฯ ต่างกเ็ร่ิมหันมาใชเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ในการบริหารมากยง่ิ ข้ึน สงั เกตไดโ้ ดยไม่ว่าจะสถานท่ีใด ๆ กต็ ่าง มีเครื่องคอมพิวเตอร์ไวท้ างานท้ังน้ัน แต่อยา่ งไรกต็ ามการท่ีมีเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือฮาร์ดแวร์ เพียง อยา่ งเดียวน้ันกไ็ ม่อาจจะดาเนินงานตามท่ีตอ้ งการไดค้ รบตามวตั ถุประสงค์ได้ จาเป็ นตอ้ งประกอบอีก 2 ส่วนสาคญั คือ บุคลากร และ ซอร์ฟแวร์ เพอ่ื พฒั นาธุรกจิ การงานการอาชีพให้สาเร็จ และมปี ระสิทธิภาพ ยง่ิ ข้ึน โดยการเรียนการสอนรายวชิ าโปรแกรมมลั ติมเิ ดียเพ่ือการนาเสนอ กเ็พื่อใหผ้ ศู้ ึกษาเรียนรู้มีความรู้ ความสามารถในการวเิ คราะห์ระบบการทางานของโปรแกรมที่ตอ้ งการเขียน เรียนรู้การเขียนโครงสร้างผงั งาน มคี วามรู้เบ้ืองตน้ เกย่ี วกบั การเขียนโปรแกรม สามารถเร่ิมตน้ เขียน เร่ิมตน้ การใชง้ านโปรแกรม ภาษาที่ ใชอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั งานหรือธุรกจิ ที่ตอ้ งการ เพ่ือพฒั นาซอร์ฟแวร์หรือโปรแกรมท่ีต้องการนาไปใช้ไดอ้ ยา่ ง มีคุณภาพ แผนการจดั การเรียนรู้วิชาโปรแกรมมลั ติมิเดียเพ่อื การนาเสนอ มงุ่ หวงั ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถนาความรู้ ความสามารถออกไปพฒั นาอาชีพของตนเอง หรือธุรกจิ ไดใ้ นอนาคต หากแผนการจดั การเรียนรู้น้ีมขี อผดิ พลาดประการใดทางผจู้ ดั ทาขออภยั มา ณ ท่ีน้ีด้วย คณะผจู้ ดทา 22/08/2564

สำรบญั โปรแกรมระบบ (System Software) 1 โปรแกรมใชง้ านหรือโปรแกรมประยกุ ต์ (Application Software) 1 ภาษาคอมพิวเตอร์(computer languages) 2 ภาษาระดบั ต่า (Low-level Language) 2 ภาษาระดบั สูง (High-level Language) 2 ตวั แปลโปรแกรมหรือคอมไพเลอร์ (Compiler) 4 ตวั แปลคาสง่ั หรืออินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) 4 ข้นั ตอนการพฒั นาโปรแกรม 6 การเขียนผงั งานและซูโดโคด้ (Pseudocoding) 6 การเขียนโปรแกรม (Programmig) 8 การทดสอบและแกไ้ ขโปรแกรม (Program Testing and Debugging) 8 ทาเอกสารและบารุงรักษาโปรแกรม (Program Documentation and Maintenance) 9

พื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรม 1. โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (Computer Program) โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ คือ ชุดคาสง่ั ท่ีมขี ้นั ตอนตมลาดบั หรือตามเงื่อนไข ท่ีกาหนด เพื่อให้คอมพวิ เตอร์ทางานตามวตั ถปุ ระสงค์ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญๆ่ คือ 1. โปรแกรมระบบ (System Software) หรือท่ีเรียกวา่ ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System) ใชส้ าหรบั ควบคุมการทางานหลกั ต่างๆ ท่ีเกย่ี วกบั เครื่องคอมพิวเตอร์ ตวั อยา่ งของระบบปฏิบตั ิการ ไดแ้ ก่ดอส (DOS) วินโดวส์ (Windows) ยนู ิกซ์ (Unix) 2. โปรแกรมใชง้ านหรือโปรแกรมประยกุ ต์ (Application Software) ใชส้ าหรบั ประมวลผลขอ้ มลู ต่างๆ เช่น โปรแกรมประมวลผลคา (Word Processor) หรือโปรแกรมใชง้ านดา้ นต่างๆ โดยอาจเป็นโปรแกรมสาเร็จรูป หรือเป็ น โปรแกรมที่เขียนข้ึนเพ่ือใชง้ านเฉพาะอยา่ ง ในการใชง้ านคอมพิวเตอร์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์จะตอ้ งมีระบบปฏิบตั ิการและโปรแกรมใชง้ านติดต้งั อยภู่ ายในกอ่ น ผูใ้ ชง้ านทว่ั ไปจึงจะสามารถเรียกใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูปหรือโปรแกรมใชง้ านน้นั ได้ ผูใ้ ชง้ านทว่ั ไปไม่จาเป็ นตอ้ งเขียนโปรแกรมข้ึนเอง การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทาได้ โดยนกั เรียนโปรแกรม (Prorammer) ซ่ึงตอ้ งเขียนอย่างมีข้นั ตอนถูกตอ้ งตามหลกั การเขียนโปรแกรมที่ดี ตรงตามวตั ถุประสงคข์ องการใชง้ านและเลือกภาษาท่ีใชเ้ ขียนโปรแกรมภาษาใดภาษาหน่ึงหรือหลายภาษากไ็ ด้ ตามความเหมาะสม

2. ภำษำคอมพวิ เตอร์ (Computer Languages) คอมพวิ เตอร์ทางานโดยภาษาเคร่ือง (Machine Language) ซ่ึงทาความเขา้ ใจยาก เน่ืองจากเป็นรหสั ตวั เลขแบบต่างๆ ไม่สะดวกต่อการเขียนโปรแกรม จึงไดม้ ีการพฒั นาภาษาท่ีใช้ กบั คอมพวิ เตอร์ข้ึนมาหลายภาษา แบ่งเป็ น 2 ระดบั คือ 1. ภาษาระดบั ต่า (Low-level Language) เป็นภาษาท่ีเขา้ ถึงการทางานในระดบั เครื่อง เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ซ่ึงใชร้ หสั ตวั อกั ษรสาหรับ ใชแ้ ทนภาษาเคร่ือง แต่ยงั ไม่สะดวกกบั ผใู้ ชง้ านทว่ั ไป 2. ภาษาระดบั สูง (High-level Language) เป็นภาษาที่สามารถศึกษาและทาความเขา้ ใจ ไดง้ ่ายข้ึน เหมาะสาหรับการใชง้ านในลกั ษณะต่างกนั มีหลายภาษาตามวตั ถุประสงคข์ องการพฒั นาภาษาเพื่อใชง้ าน ดงั ตวั อยา่ ง ภำษำ ใช้สำหรับ BASIC โปรแกรมใชง้ านทว่ั ไปสาหรับผเู้ ร่ิมตน้ COBOL โปรแกรมใชง้ านดา้ นธุรกจิ FORTRAN โปรแกรมใชง้ านดา้ นวทิ ยาศาสตร์และวศิ วกรรม Pascal ศึกษาโปรแกรมแบบโครงสร้าง JAVA โปรแกรมใชง้ านบนเวบ็ (Web Application) SQL C โปรแกรมใชง้ านดา้ นฐานขอ้ มูล โปรแกรมระบบ (System Programming) และการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structured Programming) เพอ่ื ใชง้ านทว่ั ไป

C++ โปรแกรมแบบโครงสร้างและแบบเชิงวตั ถุ (Object-Oriented Programming) เพ่อื ใชง้ านทวั่ ไป หมำยเหตุ BASIC ช่ือเตม็ Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code COBOL ช่ือเต็ม Common Business Oriented Language FORTRAN ช่ือเตม็ Formula Translator SQL ช่ือเต็ม Structured Query Language

3. ตัวแปลภำษำ ตวั แปลภาษามี 2 แบบ คือ 1. ตวั แปลโปรแกรมหรือคอมไพเลอร์ (Compiler) จะทาการแปลโปรแกรมพร้อมกนั ท้งั โปรแกรมใหเ้ ป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมท่ีเขียนดว้ ยภาษาใดๆ เรียกวา่ โปรแกรมตน้ ฉบบั (Source Program) หรือรหสั ตน้ ฉบบั (Source Code) เม่ือทาการแปล โดยตวั แปลโปรแกรมแลว้ จะไดผ้ ลหรือโปรแกรมภาษาเคร่ืองที่เรียกวา่ \"โปรแกรมจุดหมาย\" (Object Program) หรือรหสั จุดหมาย (Object Code) 2. ตวั แปลคาส่ังหรืออินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) จะทาการแปลโปรแกรมตน้ ทางทีละ ประโยคคาสง่ั (Statement) ใหเ้ ป็ นคาสัง่ ภาษาเครื่องแลว้ ทางานตามคาสัง่ น้นั เม่ือทางานตามคาสง่ั เสร็จแลว้ กจ็ ะทาการแปลประโยคคาสัง่ ต่อไปอีกเรื่อยๆ จนจบโปรแกรม ตวั แปลคาสงั่ เหมาะสาหรับโปรแกรมท่ีไม่ยาวมาก และตอ้ งการผลลพั ธ์ทนั ที ตวั แปลแบบน้ีจะมีช่ือเรียกตามภาษาน้นั เช่น ตวั แปลคาสงั่ ภาษาเบสิก

( BASIC Interpreter) ภาษาคอมพิวเตอร์ที่กาลงั เป็นท่ีนิยมในปัจจบุ นั จะเป็นแบบดูง่าย พฒั นาง่ายหรือ ท่ีเรียกกนั วา่ แบบวชิ วล เช่น Visual BASIC , Visual C++ ซ่ึงมลี กั ษณะ การเขียนโปรแกรมเชิงวตั ถุท่ีง่ายข้ึน อยา่ งไรกต็ ามถา้ ไม่มีพ้ืนฐานการเขียนโปรแกรมที่ดีพอ กไ็ ม่สามารถพฒั นาโปรแกรมใชง้ านที่ดีได้ ดงั น้นั ไม่ว่าจะเขียนโปรแกรมโดยใชภ้ าษาใดกต็ าม จาเป็ นที่จะตอ้ งศึกษาข้นั ตอนการเขียน และพฒั นาโปรแกรมใหด้ ีเสียกอ่ น

4. ข้นั ตอนกำรพฒั นำโปรแกรม การเขียนและพฒั นาโปรแกรม มี 5 ข้นั ตอน ดงั น้ี 1. กาหนดและวเิ คราะหป์ ัญหา (Problem Definiatio and Problem Analysis) ข้นั ตอนน้ีเป็นข้นั ตอนแรกสุดที่ตอ้ งทา การใหค้ อมพวิ เตอร์แกป้ ัญหาต่างๆ ให้เราน้นั จะตอ้ งมีแนวทางท่แี กไ้ ขปัญหาที่เหมาะสม เพื่อใหก้ ารทางานเป็ นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยมีข้นั ตอนดงั น้ี 1) กำหนดขอบเขตของปัญหำ โดยกาหนดรายละเอียดใหช้ ดั เจนว่าจะใหค้ อมพิวเตอร์ ทาอะไร ตวั แปร ค่าคงทที่ ี่ตอ้ งใชเ้ ป็นลกั ษณะใด 2) กำหนดลกั ษณะของข้อมูลเข้ำและออกจำกระบบ (Input/Output Specification) โดยตอ้ งรู้ว่าขอ้ มูลทีจ่ ะส่งเขา้ ไปเป็นอย่างไร มีอะไรบา้ ง เพื่อใหโ้ ปรแกรมทาการประมวลผลและแสดงผลลพั ธ์ เช่น การรับค่าจากคียบ์ อร์ด การใชเ้ มาส์ การกาหนดป่ ุมต่างๆ ลกั ษณะการแสดงผลทางหนา้ จอว่าจะใหม้ ีรูปร่างอยา่ งไร โดยคานึงถึงผใู้ ชง้ านเป็นหลกั ในการออกแบบโปรแกรม 3) กำหนดวิธีกำรประมวลผล (Process Specification) โดยตอ้ งรู้วา่ จะ ใหค้ อมพวิ เตอร์ทาการประมวลผลอยา่ งไร จึงไดผ้ ลลพั ธ์ ตามตอ้ งการ ตวั อย่ำง โปรแกรมรับค่าขอ้ มูล 3 ค่าและแสดงผลลพั ธค์ ่าเฉล่ียทางจอภาพ 2. การเขียนผงั งานและซูโดโคด้ (Pseudocoding) หลงั จากวิเคราะหป์ ัญหาแลว้ จะตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือช่วยในการออกแบบโปรแกรมซ่ึงยงั ไม่ไดเ้ ขียนเป็น โปรแกรมจริงๆ แต่จะช่วยใหเ้ ขียนโปรแกรมไดง้ ่ายข้ึน และทาใหผ้ ูอ้ ่ืนนาโปรแกรมของเราไปพฒั นาต่อไดง้ ่ายข้ึน โดยเขียนเป็นลาดบั ข้นั ตอนการทางานของโปรแกรมที่เรียกวา่ \"อลั กอริทึม\" ซ่ึงจะแสดงข้นั ตอนการแกป้ ัญหา

โดยอลั กอริทึมน้นั อาจเขียนใหก้ ารทางานเพยี งพอท่ีจะนาไปเขียนเป็ นโปรแกรมใหท้ างานไดจ้ ริง อาจเขียนอยู่ในรูป ของรหสั จาลองหรือซูโดโคด้ (Pseudo-Code) หรือเขียนเป็นผงั งาน (Flowchart) กไ็ ด้ โดยซู โดโคด้ จะเป็นคาอธิบายข้นั ตอนการทางานของโปรแกรม เป็ นคาย่อไม่มีรูปแบบเฉพาะตวั โดยแต่ละส่วนจะเป็นแนวทางในการเขียนโปรแกรมซ่ึงทาใหเ้ ขียนโปรแกรมเป็ นภาษาต่างๆ ไดง้ ่ายข้ึน ส่วนผงั งานจะใชส้ ญั ลกั ษณ์ต่างๆ แทน การทางานและทิศทางของโปรแกรม ตวั อย่ำง การเขียนอลั กอริทึม คานวณหาพ้นื ที่รูปสี่เหลยี่ มผนื ผา้ อลั กอริทมึ หาพ้ืนท่ีรูปส่ีเหลี่ยมผนื ผา้ ซูโดโค้ด หาพ้นื ที่รูปสี่เหล่ียมผืนผา้ 1) เร่ิมตน้ 1) START 2) รับค่าความกวา้ งเกบ็ ในตวั แปร X 2) READ X 3) รับค่าความยาวเกบ็ ในตวั แปร Y 3) READ Y 4) คานวณหาพ้นื ท่ี Area = X*Y 4) Compute Area = X*Y 5) แสดงผลพ้นื ที่ที่เกบ็ ไวใ้ นตวั แปร Area 5) PRINT Area 6) จบการทางาน 6) END ผงั งำน หาพ้ืนท่ีรูปสี่เหล่ยี มผนื ผา้

3. การเขียนโปรแกรม (Programmig) หลงั จากผา่ นข้นั ตอนท้งั สองแลว้ ต่อไปจะตอ้ งเขียนเป็นโปรแกรม เพ่อื ใหค้ อมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ โดยเขียนข้นั ตอนการทางานใหอ้ ยู่ ในรูปรหสั ภาษาคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมจะตอ้ งเขียนตามภาษาท่ีคอมพวิ เตอร์เขา้ ใจ โดยอาจใชภ้ าษาระดบั สูง หรือระดบั ต่า ซ่ึงสามารถเลือกไดห้ ลายภาษา การเขียนโปรแกรมแต่ละภาษาจะตอ้ งทาตามหลกั ไวยากรณ์ (Syntax) ที่กาหนดไวใ้ นภาษาน้นั และตามความถนดั ของผูเ้ ขียนโปรแกรมดว้ ย 4. การทดสอบและแกไ้ ขโปรแกรม (Program Testing and Debugging) หลงั จากเขียนโปรแกรมแลว้ จะตอ้ งทดสอบความถูกตอ้ งของโปรแกรมท่ีเขียนข้ึนเพอ่ื หาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม ขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม จะเรียกวา่ \"บกั \" ส่วนการแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาดใหถ้ ูกตอ้ งเรียกว่า \"ดีบกั \" โดยทว่ั ไปแลว้ ขอ้ ผดิ พลาดจากการเขียนโปรแกรม จะแบ่งเป็น 2 ประเภท 1) การเขียนคาสง่ั ไม่ถูกตอ้ งตามหลกั การเขียนโปรแกรมภาษาน้นั ๆ เรียกว่า \"Syntax Error\" หรือ \"Coding Error\" ขอ้ ผิดพลาดประเภทน้ีมกั พบตอนแปลภาษาโปรแกรม เป็นรหสั ภาษาเครื่อง 2) ขอ้ ผิดพลาดทางตรรก หรือ Logic Error เป็นขอ้ ผดิ พลาดที่โปรแกรมทางานได้ แต่ผลลพั ธอ์ อกมาจะไม่ถูกตอ้ ง

5. ทาเอกสารและบารุงรักษาโปรแกรม (Program Documentation and Maintenance) ข้นั ตอนน้ีจะทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใชง้ านโปรแกรมไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และสะดวกในการตรวจสอบขอ้ ผิดพลาด โดยเขียนเป็นเอกสารประกอบโปรแกรมข้ึนมา โดยทวั่ ไปแลว้ แบ่งอกเป็ น 2 ประเภท คือ 1) คู่มือการใชห้ รือ User Document หรือ User Guide ซ่ึงจะอธิบายการใชโ้ ปรแกรม 2) คู่มือโปรแกรมเมอร์ หรือ Program Document หรือ Technical Reference ซ่ึงจะอานวยความสะดวกในการแกไ้ ขโปรแกรมและพฒั นาโปรแกรมในอนาคต โดยจะมีรายละเอียดต่างๆ เกยี่ วกบั โปรแกรม เช่น ช่ือโปรแกรม การรับขอ้ มูล การพิมพผ์ ลลพั ธ์ ข้นั ตอนต่างๆ ในโปรแกรมเป็ นตน้ ส่วนการบารุงรักษาโปรแกรม (Maintenace) เป็นการที่ผเู้ ขียนโปรแกรมจะตอ้ งคอยตรวจสอบการใช้ โปรแกรมจริง เพือ่ แกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด ซ่ึงอาจเกดิ ข้ึนในภายหลงั รวมท้งั พฒั นาโปรแกรมใหท้ นั สมยั อยู่เสมอเมื่อเวลาผา่ นไป

บรรณานกุ รม https://sites.google.com/site/learnccompiler/home/phun-than-kar- kheiyn- porkaerm?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&sho wPrintDialog=1 ประวตั ผิ ้จู ดั ทา

น.ส.สิรินค์นภา ชาสงวน เลขท่ี 21 สาขาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ Facebook ; sirinnapha chasanguan หน้าทน่ี าเสนอ ประวตั ผิ ้จู ดั ทา

น.ส.ธิดารัตน์ พมิ มะลงั เลขที่16 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ Facebook ; Thidarat phimmalang หน้าทเ่ี อาลง PUB HTML5 ประวตั ผิ ้จู ดั ทา

น.ส.ณฐิกา แก้วอนิ ธิ เลขที่1 สาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ Facebook ; ณฐิกา แก้วอนิ ธิ หน้าท่ี หาข้อมลู แปลงไฟล์ ประวตั ผิ ้จู ดั ทา

น.ส.นงลกั ษณ์ แก้วมกุ ดา เลขที่ 9 สาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ Facebook ; Nonglak Kaewmuda หน้าท่ี นาเสนอ ประวตั ิผ้จู ดั ทา

น.ส.วีนสั ขนั ขวา เลขท่ี 8 สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ Facebook ; Winaat Khankhuw หน้าท่ี นาเสนอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook