กฎหมาย กฎระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ สำนั กงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน
เนื้อหา 3 เรื่อง ดังนี้ ระเบียบกระทรวงศึ กษาธิการว่าด้วยการชักธงชาติในสถานศึ กษา ระเบียบกระทรวงศึ กษาธิการว่าด้วยเวลาทำงาน และวันหยุดราชการของสถานศึ กษา ระเบียบสำนั กนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการชักธงชาติ ในสถานศึกษา
เพิ่มเติมระเบียบกระทรวงศึ กษาธิการว่าด้วยการชักธงชาติใน สถานศึ กษา พ.ศ. 2547 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวง ศึ กษาธิการ ว่าด้วยการชักธงชาติในสถานศึ กษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 ในส่วนของการชักและประดับธงชาติ ณ สถานศึ กษาในโอกาสและวัน พิธีสำคัญให้มีความสอดคล้องกับระเบียบสำนั กนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การใช้ การชัก หรือการแสดงธงชาติและธงของต่างประเทศในราช อาณาจักร พ.ศ. 2529 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย ระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยการใช้การชักหรือการแสดงธงชาติและธงของต่าง ประเทศในราชอาณาจักร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2562 อาศั ยอำนาจตามความ ในข้อ 12 วรรคหนึ่ ง (1) แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการใช้ การชักหรือการแสดงธงชาติ และธงของต่างประเทศในราชอาณาจักร พ.ศ. 2529 กระทรวงศึ กษาธิการจึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้ เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึ กษาธิการ ว่าด้วยการ ชักธงชาติในสถานศึ กษา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563” ข้อ 2 ระเบียบนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจ จานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 7 ของระเบียบกระทรวงศึ กษาธิการว่า ด้วยการชักธงชาติในสถานศึ กษา พ.ศ. 2547 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยระเบียบกระทรวงศึ กษาธิการว่าด้วยการชักธงชาติในสถาน ศึ กษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้ แทน
ข้อ 7 ในโอกาสและวันพิธีสำคัญให้ชักและประดับธงชาติ ณ สถานศึ กษา ตามกำหนดวันและระยะเวลา ดังต่อไปนี้ วันขึ้นปีใหม่ วันที่ 1 มกราคม จำนวน 1 วัน วันมาฆบูชา จำนวน 1 วัน วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และวันที่ระลึก มหาจักรีบรมราชวงศ์ วันที่ 6 เมษายน จำนวน 1 วัน วันสงกรานต์ วันที่ 13 เมษายน จำนวน 1 วัน วันพืชมงคล จำนวน 1 วัน วันวิสาขบูชา จำนวน 1 วัน วันอาสาฬหบูชา จำนวน 1 วัน วันเข้าพรรษา จำนวน 1 วัน
วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร วันที่ 28 และวันที่ 29 กรกฎาคม จำนวน 2 วัน วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคม จำนวน 1 วัน วันพระราชทานธงชาติไทย วันที่ 28 กันยายน จำนวน 1 วัน วันสหประชาชาติ วันที่ 24 ตุลาคม จำนวน 1 วัน วันคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ วันที่ 5 และ วันที่ 6 ธันวาคม จำนวน 2 วัน วันรัฐธรรมนูญ วันที่ 10 ธันวาคม จำนวน 1 วันการชักและประดับธงชาติ ในโอกาสหรือวันพิธีสำคัญอื่นๆ ให้เป็นไปตามที่ทางราชการจะประกาศ ให้ทราบเป็นครั้งคราว
6. การลดธงชาติครึ่งเสา ให้ชักธงชาติขึ้นจนถึงสุดยอดเสา เมื่อธงถึง ยอดเสาแล้วจึงลดลงให้อยู่ในระดับความสูงประมาณสองในสามส่ วน ของความสูงของเสาธงนั้น และเมื่อจะชักธงลงให้ชักธงขึ้นให้ถึงยอด เสาก่อน แล้วจึงชักธงลงตามปกติ
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่า ด้วยเวลาทำงานและวันหยุด ราชการของสถานศึกษา
โดยที่เห็นสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงศึ กษาธิการว่าด้วยกำหนดเวลา ทำงาน และวันหยุดราชการ ของสถานศึ กษาให้เหมาะสม และให้สอดคล้องกับ กฎหมายระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึ กษาธิการและกฎหมาย การศึ กษา แห่งชาติ อาศั ยอำนาจตามความในข้อ ๓ แห่งประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดเวลาทำงานและ วันหยุดราชการ (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2502 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึ กษาธิการจึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 2. ระเบียบนี้ ให้ใช้บังคับ ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ เป็นต้นไป ข้อ 1. ระเบียบนี้ เรียกว่า \"ระเบียบ กระทรวงศึ กษาธิการว่าด้วยกำหนด เวลาทำงานและวันหยุดราชการของ สถานศึ กษา พ.ศ. 2557
ข้อ 3. ให้ยกเลิก (1) ระเบียบกระทรวง (2) ระเบียบกระทรวง ศึ กษาธิการว่าด้วยกำหนด ศึ กษาธิการว่าด้วยกำหนด เวลาทำงานและวันหยุด เวลาทำงานและวันหยุด ราชการของสถานศึ กษา ราชการของสถานศึ กษา พ.ศ.2520 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2526
ข้อ 5. ให้สถานศึ กษาเริ่มทำงานตั้งแต่เวลา 04.30 นาฬิกา ถึง 16.30 นาฬิกา หยุดกลาง วันเวลา 12.00 นาฬิกา ถึง 13.00 นาฬิกา เป็นเวลาทำงานตามปกติ โดยมีวันหยุด ราชการประจำสัปดาห์ คือ วันเสาร์ และ วันอาทิตย์ หยุดราชการเต็มวันทั้งสองวัน ข้อ 4. ในระเบียบนี้ \"สถานศึ กษา\" หมายถึง สถานศึ กษาสังกัดกระทร วงศึ ษาธิการ ยกเว้นสถานศึ กษาที่ กฎหมาย ให้อำนาจในการกำหนด เวลาทำงานและวันหยุดราชการของ สถานศึ กษา
ข้อ 6. วันปิดภาคเรียนให้ถือว่า เป็นวันพักผ่อนของนักเรียน ซึ่ง สถานศึ กษาอาจอนุญาตให้ช้าราชการ หยุดพักผ่อนด้วยก็ได้ แต่ถ้ามี ราชการจำเป็นให้ข้าราชการมาปฏิบัติราชการเหมือนการมาปฏิบัติ ราชการตามปกติ ข้อ ๗. วันที่สถานศึ กษาทำการสอนชดเชยหรือทดแทน เนื่องจากสถานศึ กษา สั่งปิดด้วยเหตุพิเศษ หรือกรณีพิเศษต่าง ๆ ให้ถือว่าเป็นวันทำงานปกติตาม ระเบียบนี้ ข้อ 8.ให้ปลัดกระทรวงศึ กษาธิการรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้
ระเบียบสำนั กนายกรัฐมนตรีว่า ด้วยการลาของข้าราชการ
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุ งระเบียบว่าด้วยการลาของข้ าราชการให้มี ความเหมาะสม และสอดคล้องกับการปฏิบัติราชการ อาศั ยอำนาจตามความในมาตรา 11 (8) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบ ของคณะรัฐมนตรีจึงวางระเบียบไว้ดังนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้ เรียกว่า “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555” ข้อ 2 ระเบียบนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกขาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก (1) ระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2534 (2) ระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2539 (3) ระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ (ฉบับที่3) พ.ศ. 2542
หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 5 ในระเบียบนี้ “ปลัดกระทรวง” ให้หมายความรวมถึงปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดทบวงและรองปลัดกระทรวง ผู้เป็นหัวหน้ากลุ่มภารกิจ “หัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรง” หมายความว่าปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หรือปลัดทบวงในฐานะผู้บังคับ บัญชาสำนักงานปลี่ยนเส้นดำนักนายกรัฐมนตรี สํานักงานปลัดกระทรวงหรือสํานักงาน ปลัดทบวงแล้วแต่กรณี หัวหน้ าส่ วนราชการที่มีฐานะหรือไม่มีฐานะเป็นกรมซึ่งขึ้ นตรงต่อ นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีหรือหัวหน้ าส่ วนราชการที่มีกฎหมายกําหนดให้การปฏิบัติ ราชการขึ้นตรง หรืออยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี“หัวหน้า ส่วนราชการ” หมายความว่า อธิบดี หัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมี ฐานะ เป็นกรมหัวหน้าส่วนราชการซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรมแต่มีฐานะเป็นอธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด และให้หมายความรวมถึงเลขานุการรัฐมนตรีในฐานะผู้บังคับบัญชาสํ านั กงานรัฐมนตรีด้วย “เข้ารับการตรวจเลือก” หมายความว่า เข้ารับการตรวจเลือกเพื่อรับราชการเป็นทหาร กอง ประจําการตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 6 ระเบียบนี้ ให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการพลเรือนตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึ กษาตามกฎหมายว่า ด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึ กษาข้าราชการการเมืองตาม กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง และข้าราชการตํารวจตาม กฎหมาย ว่าด้วยตํารวจแห่งชาติ ข้อ 7 การลาทุกประเภทตามระเบียบนี้ ถ้ามีกฎหมายระเบียบ หรือมติคณะ รัฐมนตรี กําหนดเกี่ยวกับการลาประเภทใดไว้เป็นพิเศษ ผู้ลาและผู้มีอํานาจ พิจารณาหรืออนุญาตจะต้องปฏิบัติ ตามกฎหมาย ระเบียบหรือมติคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับการลาประเภทนั้ นด้วย
หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 8 ผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตการลา และการใช้อํานาจพิจารณาหรือ อนุญาต การลาสําหรับข้าราชการแต่ละประเภท ให้เป็นไปตามตารางที่กําหนด ไว้ท้ายระเบียบนี้ เร่งด่วนไม่อาจรอขออนุญาตจากผู้มีอํานาจอนุญาตได้ ข้อ 9 ข้าราชการผู้ใดได้รับคําสั่งให้ไปช่วยราชการ ณหน่วยงานอื่นใดของทาง ราชการ หากประสงค์จะลาป่วย ลาคลอดบุตรลากิจส่วนตัว ลาพักผ่อน หรือลา เข้ารับการตรวจเลือกหรือ เข้ารับการเตรียมพลในระหว่างเวลาที่ไปช่วย ราชการให้เสนอขออนุญาตลาต่อผู้บังคับบัญชา ของหน่วยงานที่ไปช่วยราชการ แล้วให้หน่ วยงานนั้ นรายงานจํานวนวันลาให้หน่ วยงานต้นสั งกัดของผู้นั้ น ทราบอย่างน้ อยปีละครั้ง
หมวด 1 บททั่วไป 10 การนับวันลาตามระเบียบนี้ ให้นับตามปีงบประมาณ การนับวันลาเพื่อ ประโยชน์ในการเสนอหรือจัดส่งใบลาอนุญาตลาและคํานวณวันลา ให้นับต่อ เนื่ องกันโดยนั บวันหยุดราชการให้ที่อยู่ในระหว่างวันลา ข้อ 12 การลาให้ใช้ใบลาตามแบบท้ายระเบียบนี้ เว้นแต่ในกรณีจําเป็นหรือรีบด่วนจะใช้ ใบลาที่มีข้อความไม่ครบถ้วนตามแบบหรือจะลาโดยวิธีการอย่างอื่นก็ได้ แต่ต้องส่งใบลา ตามแบบในวันแรก ที่มาปฏิบัติราชการ ข้อ 13 ข้าราชการซึ่งประสงค์จะไปต่างประเทศในระหว่างการลาตามระเบียบนี้ หรือ ในระหว่าง วันหยุดราชการ ให้เสนอขออนุญาตต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึง หัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงหรือ หัวหน้าส่วนราชการ
หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 14 การขออนุญาตไปต่างประเทศซึ่งอยู่ติดเขตแดนประเทศไทย ให้ผู้ว่าราชการ จังหวัด และนายอําเภอในท้องที่ที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศนั้นมีอํานาจอนุญาต ให้ข้าราชการในราชการ บริหารส่วนภูมิภาคในสังกัดจังหวัดหรืออําเภอนั้น ๆ ไป ประเทศนั้นได้ครั้งหนึ่ งไม่เกิน 7 วัน และ 3 วัน ตามลําดับ ข้อ 15 ข้าราชการผู้ใดไม่สามารถมาปฏิบัติราชการได้อันเนื่องมาจากพฤติการณ์พิเศษซึ่ง เกิดขึ้น กับบุคคลทั่วไปในท้องที่นั้นหรือพฤติการณ์พิเศษซึ่งเกิดขึ้นกับข้าราชการผู้นั้น และมิได้เกิดจากความประมาท เลินเล่อหรือความผิดของข้าราชการผู้นั้นเองโดย พฤติการณ์พิเศษดังกล่าวร้ายแรงจนเป็นเหตุขัดขวาง ทําให้ไม่สามารถมาปฏิบัติราชการ ณสถานที่ตั้งตามปกติให้ข้าราชการผู้นั้นรีบรายงานพฤติการณ์ ที่เกิดขึ้นรวมทั้งอุปสรรค ขัดขวางที่ทําให้มาปฏิบัติราชการไม่ได้ต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงหัวหน้า ส่วน ราชการขึ้ นตรงหรือหัวหน้ าส่ วนราชการทันทีในวันแรกที่มาปฏิบัติราชการ
หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 16 การให้ได้รับเงินเดือนระหว่างการลา ให้เป็นไปตามพระราช กฤษฎีกาเกี่ยวกับการจ่าย เงินเดือน เงินปี บําเหน็จ บํานาญ และเงิน อื่นในลักษณะเดียวกัน
หมวด ๒ ประเภทการลา ข้อ 17 การลาแบ่ง 11 ประเภทดังต่อไปนี้ (1) การลาป่วย (2) การลาคลอดบุตร (3) การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร (4) การลากิจส่วนตัว (5) การลาพักผ่อน (6) การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์ (7) การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล
หมวด ๒ ประเภทการลา (8) การลาไปศึ กษา ฝึกอบรมปฏิบัติการวิจัย หรือดูงาน (9) การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ (10) การลาติดตามคู่สมรส (11) การลาไปฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ
หมวด ๓ การลาของข้าราชการการเมือง ข้อ 41 การลาทุกประเภทและการไปต่างประเทศของนายกรัฐมนตรี ให้อยู่ใน ดุลพินิจ ของนายกรัฐมนตรี และแจ้งให้คณะรัฐมนตรีทราบ ข้อ 42 การลาทุกประเภทและการไปต่างประเทศของข้าราชการการเมือง ให้เป็นอํา นาจ ของนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลหรือในฐานะรัฐมนตรีเจ้าสังกัดรอง นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีเจ้าสังกัดแล้วแต่กรณี เป็นผู้พิจารณาอนุญาต ข้อ 43 การลาทุกประเภทและการไปต่างประเทศของข้าราชการการเมือง กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการ การเมือง ให้เป็นอํานาจของผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครหรือประธานสภา กรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณี เป็นผู้พิจารณาอนุญาต
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: