Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารจิตอาสา ตร. ประจำเดือน ต.ค.64

วารสารจิตอาสา ตร. ประจำเดือน ต.ค.64

Description: วารสารจิตอาสา ตร. ประจำเดือน ต.ค.64

Search

Read the Text Version

วารสาร จติ อาสา ฉบบั ท่ี ๑ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๔



บรรณาธิการ วารสารจิตอาสาสำ�นกั งานตำ�รวจแห่งชาติ ประจำ�เดือนตลุ าคม 2564 เป็นชว่ งท่ีเกิดภยั พิบตั ิ จากพายุโซนร้อนโกนเซินและเตี้ยนหมู่ ที่อ่อนกำ�ลังเป็นดีเปรสชันและหย่อมความกดอากาศต่ำ� กำ�ลังแรงตามลำ�ดับ ทำ�ให้มีฝนตกหนักในบางพื้นที่ ส่งผลให้เกิดน้ำ�ท่วมฉับพลัน น้ำ�ป่าไหลหลาก และดินสไลด์ มีประชาชนได้รับผลกระทบกันเป็นจำ�นวนมาก จิตอาสาทุกภาคส่วนได้พร้อมใจกัน สนองพระราชปณิธาน ระดมสรรพกำ�ลังลงพื้นที่ช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้องคมนตรีอัญเชิญสิ่งของ พระราชทานไปมอบแก่ราษฎรที่ประสบอุทกภัย ในส่วนของสำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติสนับสนุนให้ จิตอาสา 904 Local CAT จิตอาสาตำ�รวจ และเครือข่ายจิตอาสาประชาชน ดำ�เนินการตามแนวทาง การปฏิบัติจิตอาสาภัยพิบัติที่กำ�หนด จึงได้รวบรวมมานำ�เสนอ เช่น การประชาสัมพันธ์ให้ระมัดระวัง อันตรายจากเหตุน้ำ�ท่วม การมอบเครื่องอุปโภคบริโภค ถุงยังชีพ น้ำ�ดื่ม ยารักษาโรคและอาหารกล่อง ให้แก่ผู้ประสบภัย ในขณะที่สถานการณ์โควิด-19 ยังเป็นภัยพิบัติคู่ขนานกันไป มีการจัดกิจกรรม จิตอาสาให้บริการ อำ�นวยความสะดวก แนะนำ�และให้ความรู้แก่ประชาชนที่มาฉีดวัคซีน การมอบถงุ ยงั ชพี กำ�ลงั ใจ สง่ ตอ่ ความหว่ งใยใหผ้ า่ นพน้ ภยั โควดิ -19 การประกอบเตยี งสนาม การบรจิ าค โลหิตเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในวันมหิดลและแก้ไขปัญหาคลังสำ�รองโลหิตอยู่ในภาวะขาดแคลน การมอบสิ่งของอุปโภคบริโภคเครื่องใช้ประจำ�วันให้แก่ผู้ประสบอัคคีภัย กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา ปรับปรุงภูมิทัศน์ ทำ�ความสะอาด ทาสีตีเส้นจราจร กำ�จัดวัชพืช ปล่อยปลา และกิจกรรมจิตอาสา เฉพาะกิจการถวายความปลอดภัยและป้องกันเขตพระราชฐาน ได้นำ�ถุงยังชีพ หน้ากากอนามัยและ เจลแอลกอฮอล์ ไปมอบให้แก่ผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการ ผู้สูงอายุและผู้ที่เดือดร้อนในชุมชนรอบเขต พระราชฐาน เพื่อเป็นขวัญกำ�ลังใจและมีความซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ บทความจากหลายหน่วยงานได้ส่งมาให้เรานำ�เสนอ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และ ผลการปฏิบัติ เช่น “เศรษฐกิจพอเพียง” “ความประทับใจจากการดำ�เนินกิจกรรมจิตอาสา” “สวนผักคืนชีพ” รวมทั้งบทความนิยามคำ�ว่า “จิตอาสา” เพื่อการปลูกฝังเด็กและเยาวชนคนรุ่นใหม่ ให้ซาบซึ้งกับความเป็นจิตอาสาและมีหัวใจที่เป็นจิตสาธารณะ ซึ่งจะเป็นต้นกล้าในการสืบสาน พระราชปณิธานตลอดไป พลต�ำรวจตรี ( วิศิษฐ ช�ำนาญไพร ) ผู้บังคับการ กองแผนงานกิจการพิเศษ บรรณาธิการ

สารบญั ประธานทีป่ รึกษากองบรรณาธิการ พล.ต.อ.วริ ะชัย ทรงเมตตา หนา้ ทปี่ รึกษากองบรรณาธิการ วันมหิดล ๑ พล.ต.ท.ไกรบุญ ทรวดทรง ประมวลภาพกิจกรรมจิตอาสา พล.ต.ท.ประจวบ วงศส์ ุข ๒ บรรณาธิการ • กองบัญชาการต�ำรวจนครบาล ๔ พล.ต.ต.วิศิษฐ ช�ำนาญไพร • ต�ำรวจภูธรภาค ๑ ๖ บรรณาธิการผู้ช่วย • ต�ำรวจภูธรภาค ๒ ๘ พ.ต.อ.ณรงคศ์ กั ดิ์ บวรวงค์พทิ กั ษ์ • ต�ำรวจภูธรภาค ๓ ๑๐ ประจ�ำกองบรรณาธิการ • ต�ำรวจภูธรภาค ๔ ๑๒ พ.ต.อ.สพุ จน์ ศรีสนนั่ • ต�ำรวจภูธรภาค ๕ ๑๔ พ.ต.อ.นญั ฐวสั ส์ เพง็ หยวก • ต�ำรวจภูธรภาค ๖ ๑๖ พ.ต.ท.หญิง ณัฐศริ ิ มณีรัตน์ • ต�ำรวจภูธรภาค ๗ ๑๘ พ.ต.ท.หญงิ นันท์นภัส ชเู มอื ง • ต�ำรวจภูธรภาค ๘ ๒๐ พ.ต.ท.ชรนิ ทร์ มรี อด • ต�ำรวจภูธรภาค ๙ ๒๒ พ.ต.ท.ธวชั อษุ สาธิต • กองบัญชาการต�ำรวจสอบสวนกลาง ๒๔ พ.ต.ท.เสน่ห์ คำ� ฝอย • กองบัญชาการต�ำรวจท่องเที่ยว ๒๖ พ.ต.ท.ฉัตรชัย จริ านุกรสกุล • กองบัญชาการต�ำรวจตระเวนชายแดน ๒๘ พ.ต.ท.นาคิน บญุ คง • ชุดปฏิบัติการกิจการพลเรือนร่วม พ.ต.ต.หญิง นาตยา โชตสิ นธิ์ บทความ พ.ต.ต.หญงิ สนุ สิ า ปฐมวณชิ กะ • จิตอาสา ต�ำรวจนครบาล ๓๐ พ.ต.ต.หญิง วรธรี า สริ สิ ุคนั ธา • สวนผักคืนชีพ ต�ำรวจนครบาล ๓๑ พ.ต.ต.รฐั ชมงคล รสหอม • จิตอาสา ต�ำรวจภูธรภาค ๒ ๓๒ ร.ต.ท.หญงิ ธัญญรส เชาวนะเลศิ • เศรษฐกิจพอเพียง ต�ำรวจภูธรภาค ๓ ๓๓ ส.ต.ต.หญงิ ธญั ญาภรณ์ เข็มทอง • ความประทบั ใจจากการดำ� เนนิ กจิ กรรมจติ อาสา ตำ� รวจภธู รภาค ๔ ๓๕ ส.ต.ต.หญงิ รุ่งนภา มาสบาย • สารจาก ภ.6 ต�ำรวจภูธรภาค ๖ ๓๗ ส.ต.ต.หญิง สุดาพร พลู บญุ • เศรษฐกิจพอเพียง ต�ำรวจภูธรภาค ๗ ๓๘ คณะผ้จู ัดทำ� ผ้ปู ระสานงานจติ อาสา บช.น. ภ.๑ - ๙ ก. ตชด. และหนว่ ยสนบั สนุนอน่ื ๆ กองบรรณาธิการวารสารจิตอาสา กองแผนงานกจิ การพเิ ศษ สำ� นกั งานยุทธศาสตร์ต�ำรวจ อาคาร ๑ ชั้น ๑๙ ถนนพระรามที่ ๑ ปทมุ วัน กรงุ เทพฯ ๑๐๓๓๐ โทร. ๐-๒๒๐๕-๓๙๕๑ ออกแบบรปู เลม่ และจดั พิมพ์ท่ี กลมุ่ งานจติ อาสาพฒั นา กองแผนงานกิจการพเิ ศษ โทร. ๐-๒๒๕๒-๗๘๙๑ ข้าราชการต�ำรวจช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วม ๔๐

วนั มหดิ ล ตรงกบั วนั ท่ี 24 กนั ยายนของทกุ ปี อนั เปน็ วนั คลา้ ยวนั สวรรคตของสมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จฯ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์) พระบิดา แห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของไทย เม่ือวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 ในปี พ.ศ. 2493 หรอื 21 ปี หลงั จากทสี่ มเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก ทิวงคต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล บรรดาศิษย์เก่าศิริราช ผู้ที่ได้รับทุนของพระองค์ไปศึกษา ณ ต่างประเทศ ผู้ท่ีเคยได้รับพระมหากรุณาในประการอ่ืนๆ ตลอดจนประชาชนทั่วไป ได้ร่วมใจกันสร้าง พระราชานสุ าวรยี ข์ น้ึ โดยประดษิ ฐานไว้ ณ ใจกลางโรงพยาบาลศริ ริ าช เพอ่ื นอ้ มเกลา้ ถวายความกตญั ญกู ตเวที ดว้ ยสำ� นกึ ในพระเมตตาคณุ ของพระบดิ าแหง่ การแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั ของไทย ทไ่ี ดท้ รงบำ� เพญ็ พระราชกรณยี กจิ แก่วงการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศไทย ได้มอบให้กรมศิลปากรเป็นผู้ด�ำเนินการสร้าง โดยมี ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี เป็นผู้ควบคุมงาน ซึ่งพระราชานุสาวรีย์นี้ได้รับการตกแต่งเพ่ิมเติมครั้งแรก เมื่อปี 2517 และอีกครั้งในปี พ.ศ. 2525 ซ่ึงเป็นการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่โดยสร้างรากฐานและ บริเวณโดยรอบท้ังหมดเพื่อให้ถาวร สง่างามและสมพระเกียรติยิ่งขึ้น ดังที่ปรากฏอยู่ในขณะนี้ ครั้นพระราชานุสาวรีย์สร้างเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชด�ำเนิน ในพธิ เี ปดิ พระราชานสุ าวรยี เ์ มอ่ื วนั ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2493 หลงั จากนนั้ 1 ปี วนั ท่ี 24 กนั ยายน พ.ศ. 2494 สโมสรนักศึกษาแพทย์ศิริราชและนักศึกษาพยาบาล โดยการน�ำของนายบุญเริ่ม สิงหเนตร นายกสโมสร นักศึกษาแพทย์และนางสาวชายัญ ปรักกะมะกุล หัวหน้านักศึกษาพยาบาล ได้น�ำนักศึกษาแพทย์และ นักศึกษาพยาบาลต้ังแถวตามถนนจักรพงษ์หน้าพระบรมรูปสมเด็จพระราชบิดา จากน้ันหัวหน้านักศึกษา วางพวงมาลา แล้วผู้แทนนักศึกษาอ่านฉันท์ “ทูลกระหม่อมสดุดีอศิรวาท” ซ่ึงประพันธ์โดย นายภูเก็ต วาจานนท์ หลังจากน้ัน ศ.นพ.สุด แสงวิเชียร และ ศ.นพ.เติม บุนนาค วางพวงมาลาของคณะแพทยศาสตร์ ศริ ริ าชพยาบาล ซงึ่ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล ไดข้ นานนามวนั สำ� คญั นว้ี า่ \"วนั มหดิ ล\" เพอ่ื เปน็ การ ถวายสักการะ และน้อมร�ำลึกต่อพระองค์ท่าน และนับตั้งแต่ปี 2494 เป็นต้นมา ทุกวันที่ 24 กันยายน จะมีกิจกรรมท่ีส�ำคัญคือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงวางพวงมาลา ณ พระราชานุสาวรีย์ สมเด็จฯ พระบรมราชชนก ภายในโรงพยาบาลศิริราช มีพิธีวาง พวงมาลาถวายบังคมพระรูป พร้อมท้ังอ่านค�ำสดุดีพระเกียรติ เพื่อน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของพระองค์เป็นประจ�ำทุกปี วารสาร จิต อาสา 1 ฉบับท่ี ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา ประจำ�วนั ท่ี 22 กันยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจนครบาล ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังสิ้น 97 คน สถานท่ีท�ำกิจกรรม : ณ ลานกีฬาหน้าสถานีต�ำรวจนครบาลดินเเดง แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม. 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วนั ท่ี 22 กนั ยายน 2564 พล.ต.ท.ภคั พงศ์ พงษเ์ ภตรา ผบช.น. พรอ้ มด้วย พล.ต.ต.ปยิ ะ ต๊ะวิชัย รอง ผบช.น., พล.ต.ต.สหรัฐ ศักดิ์ศิลปชัย รอง ผบช.น., พล.ต.ต.ส�ำราญ นวลมา รอง ผบช.น., พล.ต.ต.สมนึก น้อยคง รอง ผบช.น., พรอ้ มดว้ ย ผูเ้ เทนกองทัพบก, คณะ กต.ตร., มูลนิธิบุณยะจินดา, คณะเเพทย์ รพ.ต�ำรวจ, หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและข้าราชการต�ำรวจ สถานตี ำ� รวจนครบาลดนิ แดง รว่ มกนั มอบถุงยงั ชีพและสง่ ก�ำลงั ใจให้ประชาชนชาวเเฟลตดนิ เเดง ณ ลานกฬี าหน้าสถานีต�ำรวจนครบาลดนิ เเดง แขวงดนิ แดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ วารสาร จิต อาสา 2 ฉบบั ที่ ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา วารสาร จิต อาสา 3 ฉบบั ท่ี ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ ประจำ�วันที่ 9 - 10 กนั ยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 1 ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังสิ้น 1,761 คน สถานที่ท�ำกิจกรรม : หอประชุมดอนเขารัก อ.หนองมะโมง จว.ชัยนาท 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ ดว้ ยการรว่ มกนั ให้บรกิ าร อำ� นวยความสะดวก แนะนำ� ใหค้ วามรู้ กบั พน่ี อ้ งประชาชนชาวหนองมะโมง ในกลมุ่ ผสู้ งู อายุ และกลมุ่ ผมู้ อี ายุ 18 ปขี น้ึ ไป จำ� นวน 1,600 คน ที่ได้เดินทางมารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ณ จุดบริการฉีดวัคซีนฯ ของ อ.หนองมะโมง ในการน้ี ได้ร่วมกับจิตอาสาพระราชทาน แนะน�ำ ให้ความรู้กับพ่ีน้องประชาชน ชาวหนองมะโมง ในกลุ่มเปราะบาง จ�ำนวน 161 คน ท่ีได้เดินทางมาขอรับบริการฉีดวัคซีน พระราชทาน “ซโิ นฟารม์ ” ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ์ ปอ้ งกนั เชอ้ื ไวรสั โคโรนา (Covid-19) ณ จดุ บรกิ าร ฉีดวัคซีนฯ ของ อ.หนองมะโมง รวมทั้งผู้ที่ไม่สามารถเดินทางมาเองได้ วารสาร จิต อาสา 4 ฉบับท่ี ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ วารสาร จติ อาสา 5 ฉบับที่ ๑ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา ประจำ�วันที่ 17 กันยายน 25๖4 กองบัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 2 ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังสิ้น 10 คน สถานที่ท�ำกิจกรรม : ณ สวนสาธารณะอ่างเก็บน้�ำมาบประชัน ต.โป่ง อ.บางละมุง จว.ชลบุรี 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วันที่ 17 กันยายน 2564 เวลา 13.30 น. ตามโครงการกิจกรรมจิตอาสาพัฒนา พ.ต.อ.ชิตเดชา สองห้อง ผกก.สภ.หนองปรือ สงั่ การให้ พ.ต.ต.สรุ เดช อิม่ ใจ สว.อก.สภ.หนองปรือ พรอ้ มดว้ ยขา้ ราชการต�ำรวจจติ อาสา สภ.หนองปรอื และประชาชนจติ อาสา รว่ มกนั ท�ำความสะอาด และเก็บขยะมูลฝอยบริเวณโดยรอบสวนสาธารณะอ่างเก็บน�้ำมาบประชัน ท�ำให้เกิดความสะอาด เรียบร้อย เหมาะแก่การพักผ่อนและออกก�ำลังกาย วารสาร จิต อาสา 6 ฉบบั ท่ี ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา วารสาร จิต อาสา 7 ฉบบั ท่ี ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ ประจำ�วันที่ 26 กันยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 3 ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 20 นาย สถานที่ท�ำกิจกรรม : ต.หนองหญา้ ลาด อ.กนั ทรลกั ษ ์ จว.ศรสี ะเกษ 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วันที่ 26 กันยายน 2564 เวลา 10.30 น. พ.ต.อ.นรินทร์ บุพตา ผกก.สภ.กันทรลักษ์, มอบหมายให้ พ.ต.ท.คณพศ ธนภมู บิ ญุ ญนิ รอง ผกก.ป.ฯ หวั หนา้ ชดุ ชมส.ฯ และชดุ ปฏบิ ตั กิ าร ชมุ ชนยง่ั ยนื ชดุ (Local CAT), พรอ้ มตำ�รวจ, ชดุ จติ อาสา ไดร้ ว่ มกนั ออกพบปะประชาชนและไดใ้ ชร้ ถโล่ สภ.กนั ทรลกั ษ์ ประชาสมั พนั ธใ์ หป้ ระชาชน ผปู้ ระสบอทุ กภยั ไดร้ ะมดั ระวงั อนั ตรายจากเหตนุ ำ้ �ทว่ ม นำ้ �ปา่ ไหลหลาก สตั วม์ พี ษิ หลบซอ่ นในบา้ นเรอื น เขตบรเิ วณสถานขี นสง่ ตลาดเมอื งทอง ซง่ึ เปน็ แอง่ ทำ�ให้น้ำ�ท่วมขังและทำ�ให้น้ำ�ทะลักเข้าท่วมร้านค้าขายของชำ�เสียหาย ประกอบกับพื้นที่ได้ติดกบั ท่ีนา น้ำ�ไมม่ ีที่ระบาย ซ่ึงมีครอบครัวผูป้ ระสบภัยในเขตชมุ ชนเมอื งทองประมาณ ๒๐ ครวั เรือน และอยู่ในช่วงประเมินความเสียหาย พร้อมนี้ได้มอบเครื่องอุปโภค-บริโภคให้กับผู้ประสบอุทกภัย ต.หนองหญ้าลาด อ.กันทรลักษ์ จว.ศรีสะเกษ จึงเฝ้ารอดูสถานการณ์น้ำ�ต่อไป มีข้าราชการตำ�รวจ 15 นาย ข้าราชการอื่น 5 คน รวมจำ�นวน 20 คน เข้าร่วมกิจกรรม วารสาร จิต อาสา 8 ฉบับที่ ๑ เดอื น ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ วารสาร จติ อาสา 9 ฉบับที่ ๑ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ ประจำ�วันที่ 3 กันยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 4 ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังส้ิน ๕0 คน สถานที่ท�ำกิจกรรม : ณ สภ.ศรีสงคราม อ.ศรีสงคราม จว.นครพนม 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วนั ที่ 3 กนั ยายน 2564 เวลา 09.00 น. พล.ต.ต.ธนชาติ รอดคลองตนั ผบก.ภ.จว.นครพนม พรอ้ มดว้ ยหวั หนา้ สว่ นราชการและภาคเอกชน รว่ มพธิ เี ปดิ และรบั มอบเตยี งสนาม จำ� นวน 50 เตยี ง จาก พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว สมาชิกวุฒิสภา/ประธานคณะกรรมาธิการแรงงานวุฒิสภา เพ่ือน�ำไปติดต้ังเป็นโรงพยาบาลสนาม ณ มหาวิทยาลัยนครพนม แห่งท่ี 2 โดยต�ำรวจภูธรจังหวัด นครพนม ได้มอบหมายให้ สภ.ศรีสงคราม อ.ศรีสงคราม จว.นครพนม เป็นผู้ด�ำเนินการติดต้ัง เพ่ือรองรับผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และเป็นสวัสดิการแก่ข้าราชการต�ำรวจ วารสาร จติ อาสา 10 ฉบับที่ ๑ เดอื น ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ วารสาร จติ อาสา 11 ฉบับที่ ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา ประจำ�วันที่ 8 กันยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 5 ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังส้ิน 80 คน สถานที่ท�ำกิจกรรม : ณ ศาลหลักเมืองจังหวัดพะเยา อ.เมืองพะเยา จว.พะเยา 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วันท่ี 8 กันยายน 2564 เวลา 10.00 น. พล.ต.ต.ธรรมศักด์ิ ปิ่นทอง ผบก.ภ.จว.พะเยา ร่วมกับข้าราชการต�ำรวจส่วนกลาง (ภ.จว.พะเยา) กก.สส.ฯ ข้าราชการต�ำรวจ สภ.เมืองพะเยา ร่วมกันจัดกิจกรรมจิตอาสา “เราท�ำความ ดี ด้วยหัวใจ” กิจกรรม “จิตอาสาพัฒนาศาลหลักเมือง จังหวัดพะเยา และทาสีตีเส้นจราจรเครื่องหมายจราจรโดยรอบศาลหลักเมืองจังหวัดพะเยา” ณ ศาลหลักเมืองจังหวัดพะเยา อ.เมืองพะเยา จว.พะเยา วารสาร จิต อาสา 12 ฉบบั ที่ ๑ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา วารสาร จิต อาสา 13 ฉบบั ที่ ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ ประจำ�วันที่ 10 กันยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 6 ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังสิ้น 15 คน สถานที่ท�ำกิจกรรม : อ.บางระก�ำ จว.พิษณุโลก 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วันท่ี 11 กันยายน 2564 เวลา 09.00 น. พล.ต.ต.ไตรรงค์ ผิวพรรณ รอง ผบช.ภ.6 พร้อมด้วย พ.ต.อ.กิตติพงษ์ สุวรรณ รอง ผบก.ภ.จว.พิษณุโลก, พ.ต.อ.เจษฎา ท่าโพธ์ิ ผกก. สภ.บางระก�ำ พร้อมด้วยจิตอาสา 904 และจิตอาสา สภ.บางระก�ำ ตรวจสอบความเสียหาย และสอบถามอาการนายช๊ัว มีแหยม อายุ 79 ปี เนื่องจากดินสไลด์บ้านเรือนไหลตกแม่น้�ำ ได้รับความเสียหาย ได้รับบาดเจ็บจากการตกแม่น้�ำ และมอบส่ิงของเพื่อเป็นขวัญและก�ำลังใจ ให้กับประชาชนผู้ประสบภัยธรรมชาติ วารสาร จิต อาสา 14 ฉบับท่ี ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ วารสาร จติ อาสา 15 ฉบับที่ ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา ประจำ�วนั ท่ี 27 กันยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 7 ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 9 นาย สถานที่ท�ำกิจกรรม : โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ต.ท่าพี่เล้ียง อ.เมือง จว.สุพรรณบุรี 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วันที่ 27 กันยายน 2564 เวลา 13.30 - 14.00 น. พ.ต.อ.สมพร พุกหอม รอง ผบก.ภ.จว.สุพรรณบุรี, พ.ต.ท.หญิง รุ่งนภา เพชรนรชาติ รอง ผกก.ฝอ.ภ.จว.สุพรรณบุรี พร้อมข้าราชการตำ�รวจ สังกัด ภ.จว.สุพรรณบุรี เข้าร่วม กิจกรรมจิตอาสาบริจาคโลหิต เพื่อการกุศลและเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีความต้องการใช้โลหิต ณ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ต.ท่าพี่เลี้ยง อ.เมือง จว.สุพรรณบุรี ได้รับเลือดจำ�นวน 8 ถุง ถุงละ 400 ซีซี รวมทั้งสิ้น 3,200 ซีซี วารสาร จิต อาสา 16 ฉบับท่ี ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา วารสาร จิต อาสา 17 ฉบบั ที่ ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ ประจำ�วันท่ี 24 กนั ยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 8 ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 14 คน สถานท่ีท�ำกิจกรรม : โรงพยาบาลชุมพร 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วันที่ 24 กันยายน 2564 เวลา 08.30 - 16.00 น. ภายใต้การอ�ำนวยการ ของ พ.ต.อ.ภาณุเดช ณ พัทลุง รอง ผบก.ฯ รรท.ผกก.สภ.เมืองชุมพร สั่งการให้ พ.ต.ท.สมภพ เชื้อทองรอง ผกก.ป.สภ.เมืองชุมพร, ร.ต.อ.สิทธิกร เหล่าเมฆ รอง สวป.สภ.เมืองชุมพร เจ้าหน้าที่ ต�ำรวจจิตอาสา สภ.เมืองชุมพร ชุดต�ำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ สภ.เมืองชุมพร ร่วมอ�ำนวย ความสะดวกในการฉีดวัดซีนป้องกันโรคโควิด-19 โดยท�ำหน้าท่ีในการตรวจสอบเอกสาร แยกกลุ่มผู้ฉีดวัคซีนและวัดความดันผู้ฉีดวัคซีน ณ จุดบริการฉีดวัคซีน บริเวณใต้อาคารอุบัติเหตุ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ มีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จ�ำนวน 4 นาย ข้าราชการต�ำรวจ จ�ำนวน 5 นาย ประชาชนจิตอาสา จ�ำนวน 2 คน โดยอ�ำนวยความสะดวก ให้กับผู้มารับบริการจ�ำนวน 6,000 คน วารสาร จติ อาสา 18 ฉบบั ท่ี ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ วารสาร จติ อาสา 19 ฉบับที่ ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ ประจำ�วันที่ 8 กันยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 9 ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังสิ้น 25 นาย สถานที่ท�ำกิจกรรม : ณ อาคารศรีนิบง ศูนย์เยาวชนเทศบาลนครยะลา จว.ยะลา 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วนั ที่ 8 กนั ยายน 2564 เวลา 10.๐0 น. ภายใตอ้ ำ� นวยการของ พล.ต.ต.ทนิ กร รงั มาตย์ ผบก.ภ.จว.ยะลา และ พ.ต.อ.สกนธ์ อนนท์รัตน์ รอง ผบก.ภ.จว.ยะลา ส่ังการให้ชุด Local CAT ภ.จว.ยะลา ช่วยเหลือให้บริการประชาชนผู้ท่ีเดินทางมาใช้บริการรับฉีดวัคซีนป้องกัน Covid–19 ณ อาคารศรีนิบง ศูนย์เยาวชนเทศบาลนครยะลา จว.ยะลา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังสิ้นจ�ำนวน ๒๕ นาย วารสาร จติ อาสา 20 ฉบบั ท่ี ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ วารสาร จติ อาสา 21 ฉบับที่ ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ ประจำ�วันที่ 1๕ กันยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจสอบสวนกลาง ๑. จำ�นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 20 คน สถานที่ทำ�กิจกรรม : ต.หนองบัวละคร อ.ด่านขุนทด จว.นครราชสีมา 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา เมื่อวันท่ี 15 กันยายน 2564 เวลาประมาณ 13.30 น. จิตอาสา 904 พร้อมด้วย พ.ต.ท.วิษณุ ค�ำโนนม่วง สารวัตรต�ำรวจทางหลวงนครราชสีมา จิตอาสาต�ำรวจทางหลวง และชมรมฮักเขาใหญ่ ลงพ้ืนท่ีร่วมผู้ใหญ่บ้าน ผู้น�ำชุมชน มอบถุงยังชีพ น�้ำดื่ม ยารักษาโรคให้กับ ชาวบ้านที่เดือดร้อนจากนำ้� ทว่ ม 3 หมบู่ า้ นใน ต.หนองบวั ละคร อ.ดา่ นขนุ ทด จว.นครราชสมี า จำ� นวน 150 หลงั คาเรอื น ท่ีถูกน้�ำท่วมหนักสาหัสในรอบ 10 ปี เดือดร้อนมานานหลายวันแล้ว ระดับน�้ำสูงกว่า 1 เมตร ยังไม่มีทีท่าว่าจะลดลง เน่ืองจากยังมีมวลน้�ำจากด้านบนไหลมาเติม ตลอดเวลา รวมทงั้ ยงั มฝี นตกมาซำ้� จากอทิ ธพิ ลพายุ “โกนเซนิ ” ชาวบา้ นคาดวา่ ตอ้ งทนรบั ชะตากรรม ถูกน้�ำท่วมหนักไปอีกไม่น้อยกว่า 2 สัปดาห์ ทั้งน้ี ชาวบ้านบางส่วนยังคงห่วงบ้าน แม้น�้ำท่วมขัง โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ไม่ยอมออกไปยัง จุดศูนย์พักพิงที่ชุมชนจัดให้ ท�ำให้ต้องมีการส่งอาหาร น้�ำดื่ม ข้าวกล่องเข้าไปช่วยเหลือต่อเน่ือง โดยไดร้ บั การชว่ ยเหลอื อยา่ งดจี ากชมุ ชนและสว่ นเกยี่ วขอ้ ง พอชาวบา้ นเหน็ ตำ� รวจทางหลวงลยุ นำ�้ ลงไปแจกของถึงหน้าบ้านต่างดีใจ ขอบคุณในน้�ำใจของคนไทยท่ีไม่ท้ิงกันในยามเดือดร้อน วารสาร จิต อาสา 22 ฉบับที่ ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ วารสาร จติ อาสา 23 ฉบับที่ ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาบริจาคโลหิต ประจำ�วันท่ี ๑๑ กันยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจท่องเที่ยว ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังสิ้น ๑๒ คน สถานท่ีท�ำกิจกรรม : ณ บริเวณ ช้ัน 2 หน้าโรบินสันภายในศูนย์การค้าอยุธยาซิตี้พาร์ค จว.พระนครศรีอยุธยา 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วันท่ี 11 กันยายน 2564 เวลา 10.30 น. ข้าราชการต�ำรวจจิตอาสา ส.ทท.1 กก.2 บก.ทท.1 จ�ำนวน ๖ นาย พร้อมด้วยเจ้าหน้าท่ีช่วยเหลือต�ำรวจท่องเที่ยว จ�ำนวน 1 คน และประชาชนจิตอาสา จ�ำนวน 121 คน ร่วมบริจาคโลหิต ณ บริเวณ ช้ัน 2 หน้าโรบินสัน ภายในศูนย์การค้าอยุธยาซิต้ีพาร์ค ซ่ึงมีผู้ร่วมบริจาคโลหิตท้ังส้ิน จ�ำนวน 128 คน บริจาคได้จริง จ�ำนวน 97 คน คิดเป็นปริมาณโลหิตท้ังส้ิน 97 ยูนิต (1 ยูนิต เท่ากับ 400 ซีซี โดยประมาณ) หรือ 38,800 ซีซี นอกจากนี้ ได้มีประชาชนจิตอาสาบริจาคอวัยวะ จ�ำนวน 4 คน และบริจาค ดวงตาอีก จ�ำนวน 8 คน วารสาร จติ อาสา 24 ฉบับที่ ๑ เดอื น ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาบริจาคโลหิต วารสาร จติ อาสา 25 ฉบบั ท่ี ๑ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจติ อาสาภยั พบิ ตั ิ ประจำ�วันที่ 10 กันยายน 2564 กองบัญชาการตำ�รวจตระเวนชายแดน ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังส้ิน 15 คน สถานท่ีท�ำกิจกรรม : บ้านม่วงใหม่ หมู่ท่ี 6 ต.นาปัง อ.ภูเพียง จว.น่าน 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วันท่ี 10 กันยายน ๒๕64 พ.ต.ท.ชวลิต ค�ำตื้อ ผบ.ร้อย ตชด.324 มอบหมายให้ ร.ต.ท.ธนัท ธัญญจารุกุล รอง สว.(ป) กก.ตชด.32 พร้อมด้วยข้าราชการต�ำรวจจิตอาสา เดินทาง ไปมอบส่ิงของอุปโภค-บริโภคตลอดจนเคร่ืองใช้ประจ�ำวันในเบื้องต้นให้กับประชาชน ผู้ประสบอัคคีภัย จ�ำนวน 2 หลัง ได้แก่ นางศรีไว กลิ่นหอม บ้านเลขท่ี 38 ม.6 และนายสมศักดิ์ สุทธิสว่างวงศ์ บ้านเลขท่ี 184 ม.6 ต.นาปงั อ.ภเู พียง จว.นา่ น ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม จำ� นวน 15 คน ประกอบดว้ ย ข้าราชการต�ำรวจ (ตชด.) จ�ำนวน 5 นาย และประชาชนจิตอาสา จ�ำนวน 10 คน วารสาร จิต อาสา 26 ฉบับที่ ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาภัยพบิ ตั ิ วารสาร จติ อาสา 27 ฉบับที่ ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา ประจำ�วนั ที่ 8 กันยายน 2564 การใชก้ ำ�ลงั ชดุ ปฏบิ ตั กิ ารกจิ การพลเรอื นรว่ มเพอ่ื ทำ�ใหป้ ระชาชนมคี วามสขุ (ชป.กร.รว่ มฯ) และกำ�ลังจติ อาสา สนบั สนุนการป้องกนั เขตพระราชฐาน ๑. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังสิ้น : ข้าราชการต�ำรวจ สน.สามเสน สถานท่ีท�ำกิจกรรม : ณ อาคารบ้านมนังคศิลา ชุมชนหลังบ้านมนังคศิลา 2. กิจกรรมตามโครงการจิตอาสา วันที่ 8 กันยายน 2564 ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ จัดกิจกรรม รวมน้�ำใจสู้ภัยโควิด พล.ต.อ.สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข ผบ.ตร. ร่วมกิจกรรม โดย พล.ต.ท.ภัคพงศ์ พงษ์เภตรา ผบช.น. เป็นตัวแทนมอบถุงยังชีพ จ�ำนวน 300 ถุง ให้กับ นายวิโชต แสงนวล ประธานชุมชนหลังบ้าน มนังคศิลา เป็นตัวแทนรับมอบ เพื่อน�ำไปแจกจ่ายให้ประชาชนภายในชุมชนต่อไป วารสาร จติ อาสา 28 ฉบับที่ ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา วารสาร จิต อาสา 29 ฉบบั ที่ ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

จิตอาสา ตำ�รวจนครบาล สถานีต�ำรวจนครบาลทองหล่อ ท�ำไมต้องมีจิตอาสา ในโลกยุคปัจจุบันนี้ มนุษย์เราเร่ิมมีความเป็นปัจเจกชนมากข้ึน เร่ิมใช้ชีวิตในวงท่ีแคบลง สนใจค�ำนึงถึง แต่ตัวเอง ไม่สนใจหรือใส่ใจกับสิ่งรอบข้าง ซึ่งอุปนิสัยน้ี ก�ำลังบั่นทอนสังคมโดยทั่วไป เพราะความรู้สึกแบบ ต่างคนต่างอยู่ ไม่ช่วยเหลือเกื้อกูลหรือคิดถึงส่วนรวมน้ี จะส่งผลให้สังคมไม่น่าอยู่ ผู้คนขาดคุณธรรมจริยธรรม แก่งแย่งชิงดีชิงเด่น ไม่มีใครยอมใครหรือช่วยเหลือใคร สุดท้ายสังคมก็อยู่ไม่ได้ การปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน ซึมซับความเป็นจิตอาสาและมีหัวใจที่เป็นจิตสาธารณะนั้น นับเป็นการปลูกฝังคนรุ่นใหม่ ให้มีคุณลักษณะที่ดี ในด้านน้ี อันจะน�ำมาซึ่งการสร้างสรรค์สังคมท่ีน่าอยู่ต่อไปในอนาคต วิธีสอนเด็กให้เป็นคนมีจิตอาสา เรื่องของจิตอาสาและจิตสาธารณะน้ัน ในเร่ืองของการปลูกฝังและส่งเสริม เราสามารถปลูกฝังและ ส่งเสริมเด็กมีใจเป็นจิตอาสาได้หลายวิธี ดังนี้ 1. บุคคลใกล้ชิดเป็นตัวอย่างท่ีดี ตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของเบนดูร่า ได้กล่าวว่า เด็กนั้นเรียนรู้ ผ่านตัวแบบท่ีมีอิทธิพล ซึ่งตัวแบบที่มีอิทธิพลนั้นก็คือบุคคลในครอบครัวและบุคคลใกล้ชิดน่ันเอง ไม่ว่าจะเป็น พ่อแม่ผู้ปกครองหรือคุณครู ถ้าต้องการสอนให้เด็กและเยาวชนมีหัวใจจิตอาสาและจิตสาธารณะแล้ว ก็ควรท่ีจะ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี ในเร่ืองของการเป็นจิตอาสาและจิตสาธารณะ เช่น ช่วยเหลือผู้อ่ืนเมื่อมีโอกาส ไม่สูบบุหร่ีในที่ห้ามสูบ ไม่จอดรถในพ้ืนที่เฉพาะ และรู้จักใช้และรักษาของส่วนรวมต่าง ๆ เป็นต้น 2. ส่งเสริมให้เด็กมีหน้าที่ การส่งเสริมให้เด็กมีหน้าที่ต่าง ๆ น้ัน จะช่วยให้เขารู้สึกว่าเขาเป็นส่วนหนึ่ง ในสังคมนั้น ๆ เช่น ให้ช่วยเหลืองานบ้านตามความเหมาะสม หรือการตั้งเวรประจ�ำวันในการดูแลท�ำความสะอาด ในห้องเรียน เป็นต้น สิ่งเหล่าน้ีจะเป็นการปลูกฝังจิตส�ำนึกให้เขาเป็นคนที่ชอบช่วยเหลือผู้อื่น รู้จักเสียสละ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีใจที่เอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่คิดถึงคนอื่น ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมให้เขาเป็นคนที่มีจิตอาสา น่ันเอง 3. สอนเด็กให้เป็นคนคิดถึงส่วนรวมและส่ิงแวดล้อม คือ ควรปลูกฝังให้เด็กช่วยดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม และธรรมชาติ ฝึกให้ลูกรักษาความสะอาดของส่วนรวม เช่น รู้จักท้ิงขยะเป็นที่เป็นทาง เวลาไปที่สวนสาธารณะ ก็จะไม่เด็ดดอกไม้ใบไม้เล่น หรือเวลาเข้าห้องน้�ำสาธารณะก็ควรรักษาความสะอาดเพ่ือให้คนอื่นสามารถมาใช้ ต่อได้ เป็นต้น 4. ชวนเด็กไปบริจาคส่ิงของหรือท�ำกิจกรรมอาสา การพาเด็ก ๆ ไปเยี่ยมสถานสงเคราะห์หรือไปเยี่ยม บ้านคนชราน้ัน เป็นการสร้างประสบการณ์ดี ให้เขาได้มีโอกาสซึมซับความเป็นจิตอาสาโดยตรงอันจะส่งผลให้ เขาปฏิบัติตนด้วยจิตอาสาและจิตสาธารณะตามความเคยชิน ซ่ึงเป็นเร่ืองที่ดีส�ำหรับเขาในภายภาคหน้า วารสาร จติ อาสา 30 ฉบบั ท่ี ๑ เดือน ตุลาคม ๒๕๖๔

สวนผักคืนชีพ ตำ�รวจนครบาล สถานีต�ำรวจนครบาลจักรวรรดิ ขณะท่ีประเทศไทยก�ำลังถูกกระแสเศรษฐกิจท่ัวโลกโจมตีอย่างหนักหน่วง ส่งผลให้เกิดสถานการณ์ ภายในประเทศหลายอย่าง ประชาชนส่วนใหญ่มีความวิตกกังวลในการท�ำมาหาเล้ียงชีพและบริหารชีวิต ภายใต้ โรคระบาดท่ีรุนแรง เช่น โรคโควิด-๑๙ แต่ภายใต้สถานการณ์ท่ีกดดันน้ี หากยังมีคนอีกมากมายที่ด�ำเนินชีวิต ยึดหลักธรรมค�ำสอนจากพุทธศาสนา ว่าทุกอย่าง มีเกิดข้ึน ต้ังอยู่ และดับไป เป็นของธรรมดา อย่ายึดติดกับ สง่ิ ทยี่ งั มาไมถ่ งึ หรอื อดตี ทผี่ า่ นพน้ ไปแลว้ ใหด้ ำ� เนนิ ชวี ติ มคี วามสขุ อยใู่ นปจั จบุ นั ลาภ ยศ สรรเสรญิ ตา่ ง ๆ กเ็ ชน่ กนั มีข้ึนแล้วก็เส่ือมศูนย์เป็นของคู่กัน งานต�ำรวจชุมชนสัมพันธ์ สน.จักรวรรดิ จึงได้ด�ำเนินโครงการสวนน้อย พอเพียงขึ้นอย่างมีความสุข เน่ืองจากบุคคลอันเป็นที่รักได้ริเริ่มแล้วก็ลาลับโลกไป เหลือแต่คุณงามความดี ที่สร้างไว้ให้ได้ระลึกถึง จึงได้ผลัดกันช่วยกันบ�ำรุง รักษา ปลูกพืชผักสวนครัวไว้พอได้เล้ียงชีพ หากวันไหนโชคดี ผักมียอดงามก็ได้เด็ดจิ้มน้�ำพริกประทังชีวิตไปได้อีกหลายม้ือ ซ้�ำยังมีสุขภาพดีอีกด้วย และช่วงหน้าฝนนี้ การปลูกผักกินใบ เช่น ผักคะน้าให้ผลผลิตดี รับประทานได้รวดเร็วภายในระยะลงดินแค่ ๑๕ วัน ก็เห็นใบแล้ว ต้นมะนาวก็มีลูกเขียวสวยเน่ืองจากได้ฝนตกชุ่มฉ่�ำเกือบทุกวัน จะเห็นได้จากความพยายามที่จะท�ำส่ิงดี ๆ อย่างน้อยช่วงเวลาปลูกผักจิตใจของเราก็จดจ่ออยู่กับธรรมชาติ อยู่กับปัจจุบันและลมหายใจท่ีมีความสุข ไม่คิดเบียดเบียนใคร แต่ในโลกใบนี้ ความสุขต้องแสวงหาเอาเอง กิจกรรมสวนน้อยพอเพียงก็เช่นกัน ใครหิว มาเด็ด ใครปลูกก็ได้ออกก�ำลังกาย เหลือแล้วแจกจ่าย สุขใจจริง วารสาร จิต อาสา 31 ฉบับที่ ๑ เดอื น ตลุ าคม ๒๕๖๔

จิตอาสา ตำ�รวจภูธรภาค ๒ “จิตอาสา” คือ จิตที่ไม่น่ิงดูดายต่อสังคมหรือความทุกข์ยากของผู้คนและปรารถนาเข้าไปช่วย ไม่ใช่ ด้วยการให้ทาน ให้เงิน แต่ด้วยการสละเวลา ลงแรงเข้าไปช่วยด้วยจิตที่เป็นสุขท่ีได้ช่วยผู้อ่ืน จะเน้นว่าไม่ใช่แค่ ท�ำประโยชน์เพ่ือผู้อื่นอย่างเดียว แต่เป็นการพัฒนา “จิตวิญญาณ” ของเราด้วย “จิตอาสา” คือ ผู้ที่มีจิตใจที่เป็น ผู้ให้ เช่น ให้ส่ิงของ ให้เงิน ให้ความช่วยเหลือด้วยก�ำลังแรงกาย แรงสมอง ซึ่งเป็นการเสียสละสิ่งท่ีตนเองมี แมก้ ระทง่ั เวลา เพอื่ เผอื่ แผใ่ หก้ บั สว่ นรวม อกี ทงั้ ยงั ชว่ ยลด “อตั ตา” หรอื ความเปน็ ตวั เปน็ ตนของตนเองลงไดบ้ า้ ง “อาสาสมัคร” เป็นงานท่ีเกิดจากผู้ท่ีมีจิตอาสา ซ่ึงมีความหมายอย่างมากกับสังคมส่วนรวม เป็นผู้ท่ีเอื้อเฟื้อ เสียสละเวลา แรงกาย แรงใจ เพ่ือช่วยเหลือผู้อื่นหรือสังคมให้เกิดประโยชน์และความสุขมากข้ึน การเป็น “อาสาสมัคร” ไม่ว่าจะเป็นงานใด ๆ ก็แล้วแต่ท่ีท�ำให้เกิดประโยชน์ในทางบวก ล้วนแต่เป็นสิ่งท่ีเราควรท�ำท้ังสิ้น คนท่ีจะเป็นอาสาสมัครได้นั้น ไม่ได้จ�ำกัดท่ีวัย การศึกษา เพศ อาชีพ ฐานะ หรือข้อจ�ำกัดใด ๆ ทั้งสิ้น หากแต่ ต้องมีจิตใจเป็น “จิตอาสา” ท่ีอยากจะช่วยเหลือผู้อ่ืนหรือสังคมเท่านั้น กิจกรรมอาสาสมัครเป็นกระบวนการ ของการฝึก “การให้” ท่ีดี เพื่อขัดเกลาละวางตัวตนและบ่มเพาะความรัก ความเมตตาผู้อื่นโดยไม่มีเงื่อนไข ท้ังน้ี กระบวนการของกิจกรรม ซึ่งเป็นการยอมสละตนเพื่อรับใช้และช่วยเหลือแก้ไขวิกฤติปัญหาของสังคม อาสาสมัคร จะได้เรียนรู้ละเอียดอ่อนต่อสิ่งท่ีเกิดขึ้นรอบตัวมากข้ึน สัมผัสความจริง เชื่อมโยงเหตุและปัจจัยความสุขและ ความทุกข์ เจริญสติในการปฏิบัติงาน ท่ีศาสนาพุทธ เรียกว่า พรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา เพื่อให้เกิด “การให้” ที่ดี กิจกรรมอาสาสมัครจึงเป็นกระบวนการที่ช่วยให้บุคคลได้ขัดเกลาตนเอง เรียนรู้ภายใน และเกิดปัญญาได้ ท่ีผ่านมาคนไทยอาจเคยชินกับการท�ำความดีด้วยการใช้เงินลงทุนในการท�ำบุญ ไม่ค่อยอยาก ออกแรงช่วยเหลือ เพราะถือว่าการท�ำบุญกับสิ่งศักดิ์สิทธ์ิหรือผู้มีบุญบารมีจะท�ำให้คน ๆ นั้นได้บุญมากข้ึน คนไทยจึงมักท�ำบุญกับพระ บริจาคเงินสร้างโบสถ์ แต่ละเลยการ “ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์” วารสาร จิต อาสา 32 ฉบบั ท่ี ๑ เดอื น ตลุ าคม ๒๕๖๔

เศรษฐกิจพอเพียง ตำ�รวจภูธรภาค ๓ “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นหลักปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย ทุกหมู่เหล่าและก�ำลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง ชนชาวไทยได้น้อมน�ำมาปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น ท�ำไร่นาสวนผสม ปลูกผักสวนครัวร้ัวกินได้ ปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน ในครอบครัว ใช้จ่ายอย่างประหยัด จัดท�ำบัญชีรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือน เพ่ือให้เห็นปัญหาข้อบกพร่อง ในการใช้จ่าย จะได้ตรวจสอบว่าสิ่งใดสมควรซ้ือ ส่ิงใดไม่สมควรซ้ือ จะได้ลดค่าใช้จ่ายลง เป็นต้น ค�ำว่า “พอเพียง” แล้ว คงต้องกล่าวถึงค�ำว่า “พอดี” ควบคู่กันไป เพราะความพอดีก็คือความพอเพียง เมื่อรู้จักพอก็จะท�ำให้จิตใจเป็นสุข ถ้าใจเป็นสุขก็จะไม่เบียดเบียนตนและคนอ่ืน รู้จักให้ทาน รู้จักแบ่งปัน รู้จักเสียสละ ช่วยเหลือผู้ท่ีอ่อนแอกว่า เหล่าน้ีคือ ความพอดีพอเพียงและในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักปฏิบัติท่ีต้องค�ำนึงถึงประกอบด้วย ๓ ห่วง ๒ เง่ือนไข กล่าวคือ เน้นการปฏิบัติในทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ๓ คุณลักษณะ ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล และการมีภูมิคุ้มกัน ท่ีดี ส่วน ๒ เงื่อนไข ได้แก่ เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม สภ.สวาย จว.สุรินทร์ โดยการน�ำของ พ.ต.อ.จิตรกร ชาวนา ผกก.สภ.สวาย พร้อมด้วยข้าราชการต�ำรวจ จ�ำนวน 35 นาย ได้มีแนวคิดเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้แก่ข้าราชการต�ำรวจและครอบครัว ที่พักอาศัยอยู่ใน บ้านพักของทางราชการ เพ่ือที่จะเพิ่มพูนรายได้ลดรายจ่าย ซึ่งครอบครัวส่วนใหญ่ไม่มีรายได้ ประกอบกับ ค่าครองชีพในปัจจุบันค่อนข้างสูง ท�ำให้ความเป็นอยู่ของครอบครัวไม่เพียงพอ ร่วมกันด�ำเนินโครงการเศรษฐกิจ พอเพียงในพื้นที่ สภ.สวาย โดยใช้พื้นท่ีว่างบริเวณทางทิศเหนือของอาคารที่ท�ำการ เลี้ยงปลาดุก ปลานิล ปลาตะเพียนในบ่อดิน และพื้นท่ีว่างบริเวณทางทิศใต้ของอาคารที่ท�ำการ ปลูกพืชผักสวนครัว ปลูกกล้วย พื้นท่ีด้านหลังอาคารท่ีท�ำการได้สร้างโรงเรือนเล้ียงไก่ เพื่อให้ข้าราชการต�ำรวจได้ใช้เป็นอาหารกลางวัน เป็นสวัสดิการของข้าราชการต�ำรวจ และให้ครอบครัวต�ำรวจสามารถมาเก็บผลผลิตน�ำไปใช้ในครัวเรือน ท�ำให้ ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน วารสาร จติ อาสา 33 ฉบบั ท่ี ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

วารสาร จิต อาสา 34 ฉบบั ที่ ๑ เดอื น ตลุ าคม ๒๕๖๔

ความประทับใจจากการดำ�เนินกิจกรรมจิตอาสา ตำ�รวจภูธรภาค ๔ ด้วยในห้วงวันท่ี 21-26 กันยายน 2564 มีพายุฝนตกหนักในพ้ืนท่ีภาคอีสานตอนบน ท�ำให้เกิดน�้ำท่วม ในหลายพ้ืนที่ โดยเฉพาะ อ.มัญจาคีรี จว.ขอนแก่น มีน้�ำท่วมขังบริเวณบ้านพักข้าราชการต�ำรวจ สภ.มัญจาคีรี จ�ำนวนท้ังหมด 30 ห้องแถว ท�ำให้ข้าราชการต�ำรวจและครอบครัวได้รับความเดือดร้อนทั้งสิ้น 30 ครอบครัว โดย พล.ต.ท.ยรรยง เวชโอสถ ผบช.ภ.4 มอบเงินช่วยเหลือ จ�ำนวน 50,000 บาท ให้แก่ข้าราชการต�ำรวจ และครอบครัวที่ได้รับความเดือดร้อนจากเหตุน�้ำท่วม และได้จัดท�ำข้าวกล่อง วันละ 100 กล่อง น�ำไปมอบ ให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเดือดร้อนเป็นการช่วยเหลือจากใจต�ำรวจภูธรภาค 4 อีกด้วย พล.ต.ต.พุทธิพงศ์ มุสิกูล ผบก.ภ.จว.ขอนแก่น มอบหมายให้ พ.ต.อ.ธนาวัชร ดีบุญมี ณ ชุมแพ รอง ผบก. ภ.จว.ขอนแก่น น�ำต�ำรวจจิตอาสาเดินทางไปเยี่ยมบ�ำรุงขวัญและมอบถุงยังชีพจาก ภ.4 ภ.จว.ขอนแก่น และสหกรณ์ออมทรัพย์ต�ำรวจภูธรจังหวัดขอนแก่น และน�ำต�ำรวจจิตอาสา Local CAT เดินทางไปมอบ ถุงยังชีพให้กับประชาชน ผู้ได้รับความเดือดร้อนจากน้�ำท่วมขังในเขตพื้นที่เทศบาลอ�ำเภอมัญจาคีรี น�ำมาซ่ึง ความปลาบปลื้มและประทับใจแก่ประชาชนและข้าราชการต�ำรวจผู้ได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาน้�ำท่วม เป็นอย่างย่ิง วารสาร จิต อาสา 35 ฉบับที่ ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

ลักษณะสภาพภูมิประเทศของประเทศไทยท่ีมีความหลากหลายเป็นลักษณะภูมิประเทศที่เอ้ือให้เกิดปัญหา มลพิษทางอากาศและประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติได้ง่าย รวมทั้งความเส่ียงท่ีประสบกับปัญหาภัยแล้ง และการท่ีประเทศไทยมีสภาพภูมิอากาศที่ร้อนช้ืน สภาพภูมิอากาศท่ีร้อนชื้นท�ำให้มีช่วงฤดูฝนและฤดูร้อน ที่ยาวนาน ส่งผลให้ต้องประสบภัยธรรมชาติ ท้ังอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย และภัยอ่ืน ๆ ที่มีความรุนแรงและ สถิติการเกิดมากยิ่งขึ้น ต�ำรวจภูธรจังหวัดสกลนคร ในห้วงที่ผ่านมาได้ประสบปัญหาภัยพิบัติต่าง ๆ มากมาย เช่น อุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย และการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ซึ่งแพร่ระบาดไปทั่วโลกและในประเทศไทย จนถึงปัจจุบัน จากเหตุการณ์และสถานการณ์ดังกล่าว งานด้านจิตอาสาจึงมีความส�ำคัญยิ่งที่ข้าราชการต�ำรวจ และประชาชนจิตอาสา จะต้องรู้จักบทบาทหน้าท่ีตนเองและมีจิตส�ำนึกเพื่อส่วนรวม รู้จักเสียสละ ร่วมมือ ร่วมใจ ในการท�ำประโยชน์เพื่อส่วนรวม สามารถลดปัญหาภัยพิบัติท่ีจะเกิดขึ้นในสังคมได้ นอกจากนี้ต้องช่วยกัน สอดส่องดูแล เฝ้าระวัง ตรวจสอบและแจ้งเตือนภัยพิบัติต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้นกับชุมชน ซ่ึงเป็นวิธีการในการป้องกัน และเตรียมความพร้อมในการรองรับภัยพิบัติท่ีจะเกิดข้ึน สามารถลดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชนที่อาจจะเกิดข้ึนจากภัยพิบัติได้เป็นอย่างดี วารสาร จิต อาสา 36 ฉบับท่ี ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔

สารจาก ภ.6 ตำ�รวจภูธรภาค ๖ ความทุกข์ที่มี (โรคระบาดโควิด–19) ยังไม่ไปไหน ความเดือดร้อนจากอุทกภัยก็เข้ามา เป็นธรรมชาติ ที่ไม่อยากสรรหา แต่ก็แวะเวียนให้เราได้ประสบพบเจอเข้าจนได้ เรียกว่าหลายจังหวัดเลยทีเดียวในพ้ืนที่ภาค 6 ได้รับความเดือดร้อน หนักบ้าง น้อยบ้าง อย่างเลือกไม่ได้ ความทราบถึงพระองค์ทา่ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พอ่ หลวงของปวงเราชาวไทย ไมม่ ีความโศกาใด ที่จะไม่สนใจทอดท้ิงให้ลูกหลานในปกครองของท่านต้องทุกข์ใจนาน พระองค์ทรงเปี่ยมล้นไปด้วยความห่วงใย ทรงมีน้�ำพระทัยท่ีเมตตา ส่งก�ำลังใจมาให้ได้บรรเทาทุกข์ใจ น้�ำพระทัยของพระองค์ท่านชโลมหัวใจให้หล่อเลี้ยง ร่างกายสู้เดินหน้าต่อไปอย่างไม่ย่อท้อ พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พลเรือเอกพงษ์เทพ หนูเทพ องคมนตรี ร่วมกับมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ เชิญส่ิงของพระราชทานมอบแก่ ราษฎรทป่ี ระสบเหตอุ ทุ กภยั นำ�้ พระทยั ของพระองคม์ ากมายเหลอื ลน้ อยา่ งหาทส่ี ดุ มไิ ด้ ขอพระองคท์ รงพระเจรญิ ยิ่งยืนนาน ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด วารสาร จิต อาสา 37 ฉบับท่ี ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

“เศรษฐกิจพอเพียง” ตำ�รวจภูธรภาค ๗ ผลจากการใช้แนวทางพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงแก่สังคมไทย อย่างมากในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและส่ิงแวดล้อม อีกท้ังกระบวนการ ของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนอยากท่ีจะอธิบายในเชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปล่ียนแปลง ท้ังหมดต่างเป็นปัจจัยเช่ือมโยงซ่ึงกันและกัน ส�ำหรับผลของการพัฒนาในด้านยากนั้น ได้แก่ การเพ่ิมขึ้นของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุและสาธารณูปโภคต่าง ๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัยหรือการขยายปริมาณและการกระจาย การศึกษาอย่างเท่าถึงมากข้ึน แต่ผลด้านอยากเหล่าน้ีส่วนใหญ่กระจายไปสู่ชนบทหรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย แต่ว่ากระบวนการเปล่ียนแปลงทางสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้ามาในชนบท ท�ำให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั้งการต้องพ่ึงพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสั่งสินค้าทุน ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มตามประเพณี เพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมแตกสลายลง ภูมิความรู้ท่ีเคยใช้แก้ปัญหาและสังคมปรับเปล่ียน กันมาถูกลืมเลือนและเริ่มสูญหายไป ส่ิงส�ำคัญคือ ความพอเพียงในการด�ำรงชีวิต ซ่ึงเป็นเง่ือนไขพ้ืนฐานท�ำให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และด�ำเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักด์ิศรี ภายใต้อ�ำนาจและความมีอิสระในการก�ำหนดชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อให้ตัวเองได้รับการสนองตอบความต้องการต่าง ๆ รวมท้ัง ความสามารถในการจัดการปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ซ่ึงท้ังหมดน้ีถือว่าเป็นศักยภาพพ้ืนฐานท่ีคนไทย และสังคมไทยมีอยู่เดิมต้องถูกกระทบกระเทือน ซ่ึงวิกฤติเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอ ของชนบท รวมท้ังปัญหาอื่น ๆ ท่ีเกิดขึ้น ล้วนแต่เป็นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฏการณ์ได้เป็นอย่างดี “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชด�ำริชี้แนวทาง การด�ำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่เกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลัง ได้เน้นย้�ำแนวทางแก้ไขเพ่ือให้รอดพ้น และสามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างม่ันคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาวิวัตน์ และความเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนคนไทย ทุกระดับ ต้ังแต่ครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินการไปตาม สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลก ความพอเพียง หมายถึง ความประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการกระทบใด ๆ อันเกิด การเปล่ียนแปลงทั้งภายในและภายนอก จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง อย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและด�ำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้อง เสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีส�ำนึก ในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี วารสาร จติ อาสา 38 ฉบับที่ ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

โครงการ 1 หน่วย 1 โรงพัก = 1 เศรษฐกิจพอเพียง สถานีต�ำรวจภูธรบางโทรัด น�ำโดย พ.ต.อ.ศุภชัย ศรสุคนแก้ว ผกก.สภ.บางโทรัด พร้อมข้าราชการต�ำรวจ และครอบครวั ทพ่ี กั อาศยั อยบู่ า้ นพกั ขา้ ราชการตำ� รวจ จงึ ไดด้ ำ� เนนิ การตามโครงการ 1 หนว่ ย 1 โรงพกั = 1 เศรษฐกจิ พอเพียง โดยการท�ำกิจกรรมร่วมกันในการหาพันธุ์ต้นกล้าพืชผักสวนครัวมาปลูก ปรับปรุงพื้นที่แปลงปลูก บริเวณพื้นท่ีว่างข้างบ้านพัก เมื่อผลผลิตออกมาก็สามารถแบ่งปันให้กับข้าราชการต�ำรวจและครอบครัว น�ำไปบริโภคได้ เป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิต บรรเทาความเดือดร้อนด้านค่าครองชีพของครอบครัว และรู้จัก การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างความรักความสามัคคีในหมู่คณะข้าราชการต�ำรวจได้เป็นอย่างดี วารสาร จติ อาสา 39 ฉบับที่ ๑ เดอื น ตลุ าคม ๒๕๖๔

ข้าราชการต�ำรวจช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้�ำท่วม จากสถานการณ์น้�ำท่วมขังและน้�ำป่าไหลหลากในหลายพื้นท่ีทั่วประเทศ ซึ่งได้รับผลกระทบจาก อิทธิพลพายุดีเปรสชัน ซ่ึงอ่อนก�ำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่�ำก�ำลังแรง เคลื่อนตามแนวร่องมรสุม เข้าปกคลุมภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระหว่าง วันที่ 24-25 กันยายน 2564 พล.ต.อ.สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข ผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ เป็นประธานการประชุมบริหารราชการ ของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ประจ�ำเดือนกันยายน 2564 ได้ก�ำชับไปยังทุกหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องให้เร่ง ด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือพี่น้องประชาชน รวมถึงข้าราชการต�ำรวจ และครอบครัว ที่ได้รับผลกระทบ พร้อมท้ังให้มีการปรับเปล่ียนรูปแบบการท�ำงานในเชิงบูรณาการความร่วมมือ เพ่ือให้เกิดความเหมาะสม ต่อสถานการณ์ เช่น การรับแจ้งความ หรือการเดินทางไปยังท่ีเกิดเหตุ วารสาร จติ อาสา 40 ฉบบั ท่ี ๑ เดือน ตลุ าคม ๒๕๖๔

ทงั้ นี้ ยงั ไดก้ ำ� ชบั ใหท้ กุ หนว่ ยดำ� เนนิ การจดั ตงั้ ศนู ยบ์ รหิ ารเหตกุ ารณใ์ นพน้ื ที่ หากเกดิ กรณขี อความชว่ ยเหลอื หรือต้องการความช่วยเหลืออย่างใดอย่างหนึ่ง จ�ำเป็นต้องมีการรวมศูนย์ หรือการบริหารเหตุการณ์เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ในเร่ืองของการบรรเทาสาธารณภัย โดยเฉพาะการขนส่งเครื่องอุปโภคและบริโภคเข้าสู่ พ้ืนท่ีที่ประสบภัย การสนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือเคร่ืองใช้ ยานพาหนะต่าง ๆ ท่ีจ�ำเป็น เช่น เรือยาง เพ่ือใช้ ในการปฏิบัติหน้าท่ีในพ้ืนท่ีท่ียังคงมีน้�ำท่วมขัง โดยได้รับการสนับสนุนจากกองบังคับการต�ำรวจน้�ำ นอกจากนี้ ในเรื่องการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ได้เน้นย�้ำในเรื่องของการตรวจตรา การเข้าพ้ืนที่ท่ีเกิดเหตุ การระงับเหตุ และการให้ความช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว พร้อมให้จัดเตรียมพ้ืนที่บริการ นอกสถานท่ีของสถานีต�ำรวจ หากมีความจ�ำเป็นในการอพยพพ่ีน้องประชาชนไปยังศูนย์พักพิงต่าง ๆ ต้องมี การจัดก�ำลังต�ำรวจเข้าไปดูแลความปลอดภัย ท้ังในศูนย์พักพิงและตามบ้านเรือนที่มีการปล่อยทิ้งไว้ เพื่อไม่ให้ กลุ่มผู้ไม่หวังดี ซ�้ำเติมความเดือดร้อนของพี่น้องประชาชน ส�ำหรับความเสียหายของสถานีต�ำรวจ บ้านพักของทางราชการ โดยเฉพาะในพ้ืนที่ 3 จังหวัด คือ ลพบุรี ชัยภูมิ และนครราชสีมา ได้รับรายงานว่าเกิดความเสียหาย โดยส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติจะได้ส�ำรวจ พร้อมทั้ง จัดสรรงบประมาณเพ่ือซ่อมแซม เม่ือสถานการณ์คลี่คลายแล้ว วารสาร จิต อาสา 41 ฉบบั ท่ี ๑ เดอื น ตุลาคม ๒๕๖๔





สำ�นกั งานตำ�รวจแหง่ ชาติ จัดพิมพ์โดย โรงพิมพ์ตำ�รวจ สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ ถ.เศรษฐศิริ ดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๖๖๘-๒๘๑๑-๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๔๖๕๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook