การศึกษาและเปรยี บเทียบการเลีย้ งปลานลิ ในบ่อพลาสตกิ โดยใช้ ระบบไมโครนาโนบบั เบิล้ (MNB)และระบบปม๊ั ออกซเิ จน Comparative study of tilapia culture in plastic ponds. Micro Nano Bubble System (MNB) and Oxygen Pump System พงศธร บญุ เจริญ วชั ระ จนั ทรว์ งศ์ อานวย อนุ่ สิงห์ ปรญิ ญานิพนธน์ เ้ี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปกี ารศึกษา พ.ศ.2560
การศกึ ษาและเปรยี บเทียบการเลีย้ งปลานิลในบอ่ พลาสติกโดยใช้ ระบบไมโครนาโนบบั เบิล้ (MNB)และระบบป๊มั ออกซเิ จน พงศธร บญุ เจริญ วชั ระ จนั ทรว์ งศ์ อานวย อุ่นสงิ ห์ ปรญิ ญานิพนธน์ ้ีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา เชยี งราย ปีการศกึ ษา พ.ศ.2560 ลขิ สิทธ์ิของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา
ง ปรญิ ญานิพนธ์เร่ือง การศึกษาและเปรยี บเทียบการเลย้ี งปลานลิ ในบ่อพลาสติก ชือ่ นกั ศึกษา โดยใชร้ ะบบไมโครนาโนบับเบ้ิล(MNB) และระบบปั๊มออกชิเจน นาย พงศธร บญุ เจรญิ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา นาย วชั ระ จนั ทรว์ งค์ นาย อานวย อุส่ งิ ห์ สาขาวชิ า ผศ.พิเซษฐ์ เวศนารัตน์ ปกี ารศกึ ษา อาจารย์ กรุณา ใจนนถยี ์ อาจารย์ สมควร สงวนแพง วศิ วกรรมอุตสาหการ พ.ศ.2560 บทคัดย่อ ได้ทาการศึกษาและเปรียบเทียบการเลี้ยงปลานิลในบ่อพลาสติกโดยใช้ระบบไมโครนาโนบับเบ้ิล (MNB) และระบบปม๊ั ออกชเิ จน ณ. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา เชยี งราย การเล้ียงปลาปลานอลในบ่อพลาสติกโดยใช้เคร่ืองไมโครนาโนบับเบ้ิลจะมีผลต่ออัตราการรอด ตายอัตราการเจริญเติบโตของปลานิล และคุณภาพน้าในด้านของออกซิเจนท่ีละลายในน้า และความขุ่น ของน้าในบ่อพลาสติก คาสาคัญ : เคร่อื งไมโครนาโนบับเบ้ิล, ออกซเิ จนทลี่ ะลายในน้า, คณุ ภาพน้า, อัตราการเจริญเตบิ โต, อตั รา การรอด, ปลานิล
จ กิตติกรรมประกาศ ปริญญานิพนธ์นี้สาเร็จลุล่วงไปได้ตามเป้าหมายเพราะได้รับความช่วยเหลือและคาแนะนาที่ เปน็ ประโยชน์อยา่ งดียง่ิ จากผมู้ พี ระคุณหลายท่าน อาทิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์พเิ ซษฐ์ เวศนารัตน์ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาปริญญานิพนธ์ที่ได้ให้คาแนะนาและ ข้อคิดเห็นตา่ งๆ ของการทาโครงงานมาโดยตลอด อาจารย์กรุณา ใจนนถีย์ อาจารย์ที่ปรึกษา จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ที่ให้คาปรึกษา และแนะนาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาปริญญานิพนธ์ จนสมบรูณ์ อาจารย์สมควร สงวนแพง อาจารย์ท่ีปรึกษา ท่ีแนะนาความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อ การทา ปรญิ ญานพิ นธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ด็อกเตอร์ รัตนาพร นรรัตน์ จากคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีไมโครนาบับเบิ้ลท่ีประโยชน์ต่อการพัฒนา ปริญญานิพนธ์ จนสาเรจ็ ลลุ ว่ ง และทนุ การทาโครงงานจากสานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวจิ ัย(สกว.) จึงขอขอบพระคุณ สานกั งานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย(สกว.) ท่ไี ดใ้ หท้ นุ อุดหนุนทาโครงงานครัง้ นี้มา ณ ท่นี ้ีดว้ ย ขอบคุณบุคคลท่ีช่วยในการสืบค้นข้อมูลแลกเปล่ียนความรู้ความคิด และให้กาลังใจใน การศึกษาค้นคว้าตลอดมา ท้ายนี้ผู้วิจัยใคร่ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ซึ่งสนับสนุนด้านการเงินและกาลังใจแก่ ผู้วิจยั เสมอมาจนสาเรจ็ การศกึ ษา คณะผจู้ ดั ทา พงศธร บุญเจริญ วัชระ จันทรว์ งค์ อานวย อนุ่ สิงห์
สารบัญ หน้า บทคดั ย่อภาษาไทย ง บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ กติ ตกิ รรมประกาศ จ สารบัญรูป สารบัญตาราง ฉ บทท่ี 1 บทนา ฌ 1.1 ความสาคัญและทีม่ าของปัญหา 1.2 วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั ฏ 1.3 สมมติฐานของงานวิจยั 1.4 ขอบเขตของการดาเนนิ งานวจิ ยั 1 1.5 ขัน้ ตอนการดาเนินงานวิจัย 1.6 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 1 1.7 แผนการดาเนนิ งาน 1.8 กาหนดนิยามคาสาคญั 2 1.9 คาสาคัญ (Keyword) ของการวิจัย บทท่ี 2 ทฤษฎเี กี่ยวข้องกบั งานโครงงาน 2 2.1 ความร้ทู วั่ ไปเกี่ยวกับปลานิล 2.2 สถานการณ์การเลี้ยงปลานลิ ในจงั หวัดเชียงราย 3 2.3 เทคโนโลยนี าโนบบั เบิล้ 2.4 สถติ สิ าหรบั งานวิจยั 3 2.5 งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง บทท่ี 3 ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 3 3.1 เคร่อื งมือและอุปกรณ์ในการทดลอง 4 3.2 วิธกี ารดาเนินงาน 4 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา 4.1 อัตราการเจรญิ เติบโต 5 4.2 อัตราการรอด 4.3 คณุ ภาพน้า 7 7 11 12 15 21 30 30 34 41 41 43 43
สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 4.4 อตั ราการใช้พลงั งานไฟฟ้า 45 บทท่ี 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ 46 46 5.1 สรปุ ผลการทดลอง 47 5.2 ข้อเสนอแนะ 48 บรรณานกุ รม ภาคผนวก 50 ภาคผนวก ก ลงพ้ืนท่ีศกึ ษาการเลีย้ งปลาและวดั คุณภาพนา้ บ่อปลาผู้ประกอบการ ฟารม์ น้าหน่ึงฟาร์ม 56 ภาคผนวก ข บอ่ เลี้ยงปลาท่ีทาการทดลอง 62 ภาคผนวก ค ตารางอตั ราการเจรญิ เติบโตปลานลิ การทดลองที่ 1 (10 สปั ดาห)์ และการทดลองท่ี 2 (6 สปั ดาห)์
ฌ สารบัญรูป หน้า 12 รปู ที่ 2.1 การเพาะเลี้ยงปลานิลอาเภอพาน 13 รูปท่ี 2.2 ความสามารถคงตัวของฟองอากาศแตล่ ะขนาด 15 รปู ท่ี 2.3 ความสามารถในการคงตวั ของไมโครนาโนบับเบล้ิ 17 รปู ที่ 2.4 แผนผังการวิเคราะห์ T-test 30 รูปที่ 3.1 บอ่ เล้ยี งการทดลองท่ี 1 31 รูปที่ 3.2 บอ่ เล้ียงการทดลองท่ี 2 31 รปู ที่ 3.3 เครอื่ งไมโครนาโนบับเบิล้ ขนาด 20 ลติ ร 32 รูปท่ี 3.4 เครอื่ ง Electromagnetic Air Pump ย่หี อ้ RESON รนุ่ AP-30 32 รูปที่ 3.5 เครอื่ งชง่ั OHAUS พิกดั 2000 g. 33 รปู ที่ 3.6 เครอ่ื งวดั ค่าออกซิเจนทลี่ ะลายในน้า (DO) ยีห่ อ้ HORIBA รนุ่ OM-71 33 รปู ท่ี 3.7 เคร่อื งวดั คณุ ภาพน้า ยหี่ ้อ HORIBA รนุ่ U-5000G 34 รูปท่ี 3.8 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานวิจัย 35 รปู ท่ี 3.9 ข้นั ตอนการเล้ยี งปลานิล 35 รปู ที่ 3.10 เข้าศึกษาการเล้ียงปลานิลจาก นา้ หนง่ึ ฟาร์ม อ.พาน จ.เชยี งราย 36 รปู ที่ 3.11 การวเิ คราะหส์ าเหตขุ องปัญหาการเล้ยี งปลานิลดว้ ยแผนภมู เิ หตแุ ละผล 37 รปู ที่ 3.12 การออกแบบระบบการทดลองท่ี 1 37 รูปท่ี 3.13 การออกแบบระบบการทดลองท่ี 2 38 รูปที่ 3.14 การส่งนา้ ของระบบบาบัดน้าเสยี 38 รูปท่ี 3.15 ลักษณะของนา้ ที่ระบบบาบดั นา้ เสยี 42 รูปท่ี 4.1 นา้ หนกั ตัว(กรัม) ของปลานิลทเี่ ลย้ี งด้วยระบบปั๊มออกซิเจน 43 และไมโครนาโนบับเบ้ิล การทดลองที่ 1 ระยะเวลา 10 สัปดาห์ รปู ท่ี 4.2 น้าหนกั ตวั (กรมั ) ของปลานิลท่เี ลยี้ งด้วยระบบป๊ัมออกซเิ จน 44 44 และไมโครนาโนบับเบิ้ล การทดลองท่ี 2 ระยะเวลา 6 สปั ดาห์ รปู ที่ 4.3 ปรมิ าณออกซิเจนท่ีละลายในน้าการทดลองท่ี 1 และ 2 45 รูปท่ี 4.4 ความข่นุ (NTU) ของปลานิลท่ีเล้ยี งดว้ ยระบบป๊มั ออกซิเจน 49 และไมโครนาโนบับเบิล้ การทดลองที่ 1 ระยะเวลา 10 สัปดาห์ 49 รปู ที่ 4.5 ความขนุ่ (NTU) ของปลานิลที่เลีย้ งดว้ ยระบบปม๊ั ออกซิเจน 50 50 และไมโครนาโนบบั เบ้ิล การทดลองที่ 2 ระยะเวลา 6 สัปดาห์ รูปท่ี ก.1 พนื้ ที่เลย้ี งปลานิล ผู้ประกอบการ ฟาร์มน้าหนง่ึ ฟาร์ม รูปท่ี ก.2 ลงพื้นท่ีศึกษาการเลี้ยงปลานิลกับผู้ประกอบการ ฟาร์มนา้ หนึ่งฟาร์ม รปู ที่ ก.3 อาหารที่เลย้ี งปลานิล รูปท่ี ก.4 การให้อาหารปลานิล
ญ สารบญั รูป (ต่อ) รูปท่ี ก.5 บ่อเล้ียงลูกปลาทบั ทิม หน้า รปู ท่ี ก.6 เลีย้ งลูกปลาทับทิมในกระชงั 51 รปู ท่ี ก.7 วัดคณุ ภาพน้าบอ่ เล้ียงปลาของผปู้ ระกอบการ 51 รปู ที่ ก.8 เกบ็ ตัวอย่างน้าบ่อเลยี้ งปลาผู้ประกอบการเพ่อื มาทดสอบคุณภาพนา้ 52 รูปท่ี ก.9 ตรวจวดั คุณภาพนา้ ในบ่อเล้ยี งปลาผปู้ ระกอบการ ฟาร์มนา้ หนึ่งฟารม์ 52 รปู ท่ี ข.1 พน้ื ที่ทาการทดลองเลีย้ งปลานลิ 53 รปู ที่ ข.2 ทดสอบระบบการทางานของเครื่องไมโครนาโนบับเบิ้ล 55 รปู ที่ ข.3 ทดสอบระบบการทางานของเครื่องปั๊มออกซเิ จน 55 รปู ที่ ข.4 ปล่อยปลานลิ ลงบอ่ พลาสติกที่ทาการทดลองของระบบเครื่องไมโครนาโนบบั เบิ้ล 56 รปู ท่ี ข.5 ปล่อยปลานลิ ลงบ่อพลาสตกิ ท่ีทาการทดลองของระบบเคร่ืองปัม๊ ออกซิเจน 56 รูปที่ ข.6 ปลานลิ ที่ทาการทดลองเลีย้ ง 57 รูปท่ี ข.7 ระบบเลยี้ งปลานิลการทดลองท่ี 1 57 รูปที่ ข.8 ระบบเลี้ยงปลานิลการทดลองที่ 2 58 รูปที่ ข.9 ลกั ษณะของระบบบาบัดนา้ การทดลองที่ 2 58 รปู ท่ี ข.10 ลกั ษณะน้าของระบบบาบัดนา้ การทดลองที่ 2 59 59
ฎ สารบัญตาราง หน้า ตารางท่ี 1.1 แผนดาเนนิ งาน 4 ตารางที่ 2.1 การเจรญิ เตบิ โตของปลานิล 10 ตารางที่ 4.1 ค่าเฉลีย่ น้าหนกั ของปลานลิ ทีเ่ ล้ยี งด้วยระบบป๊มั ออกซเิ จน 41 และระบบไมโครนาโนบบั เบ้ิล เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ 42 ตารางท่ี 4.2 คา่ เฉลยี่ นา้ หนักของปลานิลท่ีเล้ียงด้วยระบบปม๊ั ออกซิเจน 45 และระบบไมโครนาโนบบั เบล้ิ เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ 61 ตารางที่ 4.3 ตารางอตั ราการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า 62 ตารางท่ี ค.1 การทดลอง1อตั ราการเจรญิ เตบิ โต MNB 10 สปั ดาห์ 63 ตารางท่ี ค.2 การทดลอง1 อัตราการเจรญิ เติบโต MNB 10 สัปดาห์ 64 ตารางท่ี ค.3 การทดลองท่ี 1 อตั ราการเจริญเติบโตป๊ัมออกซเิ จน 10 สัปดาห์ 65 ตารางท่ี ค.4 การทดลองที่ 1 อัตราการเจรญิ เตบิ โตปมั๊ ออกซเิ จน 10 สปั ดาห์ 66 ตารางท่ี ค.5 การทดลองที่ 2 อัตราการเจรญิ เตบิ โต MNB 6 สปั ดาห์ 67 ตารางท่ี ค.5 การทดลองที่ 2 อัตราการเจรญิ เติบโต MNB 6 สัปดาห์ ต่อ 68 ตารางท่ี ค.6 การทดลองท่ี 2 อัตราการเจรญิ เติบโตปัม๊ ออกซเิ จน 6 สัปดาห์ 69 ตารางที่ ค.6 การทดลองที่ 2 อัตราการเจริญเติบโตปมั๊ ออกซิเจน 6 สัปดาห์ ต่อ 70 ตารางที่ ค.7 การทดลองท่ี 1 การทดสอบ T-test (Group Statistics) 71 ตารางท่ี ค.8 การทดลองที่ 1 การทดสอบ T-test (Independent Samples Test) 72 ตารางท่ี ค.9 ตารางการทดลองที่ 2 การทดสอบ T-test (Group Statistics) ตารางที่ ค.10 การทดลองท่ี 2 การทดสอบ T-test (Independent Samples Test)
บทท1่ี บทนา 1.ความสาคัญและที่มาของปญั หา ปลานลิ เป็นปลาทม่ี ีถนิ่ กา้ เนดิ ด้งั เดิมอย่ใู นแถบบริเวณลุ่มน้าไนล์ในบริเวณแอฟริกาตะวันออก จนถึงบริเวณลุ่มน้าไนล์ตะวันตก บริเวณลุ่มน้าเซเนกัลและไนเจอร์ ปลานิลเป็นปลาที่สามารถ เพาะเลี้ยงได้ง่าย มีเนื้ออร่อยกว่าปลาน้าจืดชนิดอื่นหลายชนิด สามารถกินอาหารธรรมชาติได้ หลากหลายไม่ว่าจะเปน็ พืชหรือสัตว์ มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี สามารถ ด้ารงชีวิตอยู่ได้ท้ังในน้าจืดและน้ากร่อยสามารถมีชีวิตอยู่ได้ในอุณหภูมิน้า 10 - 40 องศาเซลเซียส และสามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพท่ีถูกกักขังในท่ีแคบ เช่น บ่อเล้ียงหรือกระชังได้และสามารถ เจริญเติบโตได้ดีเหมือนในธรรมชาติด้วยคุณสมบัติดังกล่าว ปลานิลจึงถูกน้ามาเพาะเลี้ยงในบ่อและ กระชังในหลายประเทศเกือบ ท่ัวโลกยกเว้นประเทศท่ีมีอุณหภูมิหนาวจัดเท่าน้ัน เพราะปลานิล สามารถทดแทนการขาดแคลนโปรตีนจากเนื้อสัตว์ในบางประเทศท่ีแห้งแล้งหรือทุรกันดารได้ ปลานิล จึงกลายเปน็ ปลาทม่ี คี ณุ คา่ ทางเศรษฐกิจสูงในหลายประเทศ (เสน่ห์ ผลประสิทธิ์, 2552) อ้าเภอพาน จังหวัดเชียงราย เป็นอ้าเภอท่ีมีการท้าการเกษตรกรรมหลากหลาย รวมทั้งการ ประมงนา้ จดื ปลานลิ ถือป็นปลาเศรษฐกจิ ของ อ้าเภอพาน มกี ารเพาะเล้ียงเป็นอาชีพ และอ้าเภอพาน ยังถือเป็นแหล่งเพาะเล้ียงปลานิลขนาดใหญ่ของภาคเหนือ ปลานิลจากอ้าเภอพานเป็นที่ยอมรับของ ตลาดเนอ่ื งด้วยคณุ ภาพ ซ่ึงปลานลิ จากอ้าเภอพานจะมี อ้าเภอพานมีจุดเด่นในเร่ืองของกลิ่น กล่าวคือ ปลานิลจากอ้าเภอพานไม่มีกล่ินดิน กลิ่นโคลน มีการจัดจ้าหน่ายปลานิลเฉลี่ยไม่ต้่ากว่า 34 ตัน/วัน สร้างรายได้ใหเ้ กษตรในอา้ เภอพานกว่า 900 ล้านบาท/ปี ในกระบวนการเพาะเลี้ยงปลานิลของเกษตรอ้าเภอพาน ตั้งแต่การอนุบาลจนถึงจับ ออกจ้าหน่ายจะใช้เวลา ประมาณ 7 เดือน ต่อการเล้ียง 1 รอบ ซึ่งใช้เวลานาน พบว่าปัญหาของ เกษตรกรท่ีเป็นปัญหาหลักในการเพาะเลี้ยงปลานิล คือ ปลาตายจ้านวนมากเน่ืองจากปลาน๊อค ขาด ออกซิเจน และปลาตายในช่วงอนุบาล ซ่ึงสร้างความเสียให้ให้เกษตรอย่างมาก โดยเฉพาะเกษตรราย ย่อย ท่ีต้องแบกรับภาระเมื่อปลาตายยกบ่อ สาเหตุของปลาตายพร้อมๆกันในเวลาอันส้ันหรือ ปลาน๊อค มาจากหลายสาเหตุ โดยเฉพาะในฤดูฝนที่สภาพอากาศปิดเป็นช่วงเวลาที่เกษตรกรต้องเฝ้า ระวัง เนื่องจากสภาพอากาศปิดท้าให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้าเกิดข้ึนได้น้อย เส่ียงที่ปลา จะนอ็ ค อกี หนึ่งสาเหตุคือการเลี้ยงในความหนาแน่นสงู เพราะต้องการให้ได้ปลานิลจ้านวนมากเม่ือจับ จ้าหน่าย ท้าให้ปลาตายได้ง่ายเพราะออกซิเจนท่ีละลายในน้าไม่เพียงพอ การที่เลี้ยงปลาในความ หนาแน่นสูงทา้ ให้ปลาต้องการปรมิ าณออกซิเจนในน้าท่ีมากตามไปด้วย
2 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สามารถสร้างเคร่ืองไมโครนาโนบับเบิ้ล โดยใช้วัสดุ ที่หาได้ท่ัวไปและลดการน้าเข้าวัสดุจากต่างประเทศ ดังนั้นจึงเป็นโอกาสท่ีดีและมีความเป็นไปได้สูงที่ จะใช้เทคโนโลยีไมโครนาโนบับเบ้ิล เป็นทางเลือกใหม่การเพาะเล้ียงสัตว์น้าของเกษรกรในประเทศ ไทย ในต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่นมีการน้าเทคโนลียีไมโครนาโนบับเบิ้ลไปใช้อย่าง กว้างขวาง แทบกลา่ วได้ว่าทุกๆด้าน เช่น การเพาะเล้ียงสัตว์น้า การบ้าบัดน้าเสีย การเพาะปลูก เป็น ต้น นาโนบับเบิ้ล (Nano Bubble) คือ ฟองอากาศขนาดเล็กมาก ระดับ 100-200 นาโนเมตร (1 นา โนเมตร = 1/1,000,000,000 เมตร) โดยไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า คุณสมบัติเด่นของ นา โนบับเบ้ิลคือ มีพ้ืนท่ีผิวของอากาศจ้านวนมาก ผิวของฟองอากาศนาโนมีประจุลบล้อมรอม และ สามารถคงตวั ในนา้ ได้นบั เดอื น ช่วยให้สตั วน์ ้าแข็งแรงและเจรญิ เตบิ โตเร็ว จากการศึกษาปญั หาและข้อมูลทกี่ ลา่ วมาข้างต้น เพื่อลดความเส่ียงท่ีจะเกิดความเสียหายต่อ การเล้ยี งปลานิลและยังเปน็ การลดต้นทนุ รวมทง้ั สามารถเพ่ิมรายได้ให้กับเกษตรกรช่วยลดระยะเวลา การเล้ียงปลานิลของเกษตรกรได้มากขึ้น ดังน้ันการผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะน้าเทคโนโลยีไมโครนา โนบับเบ้ิลเข้ามาทดลองกับการอนุบาลปลานิลโดยศึกษาและเปรียบเทียบระหว่างการเติมออกซิ เจน ระบบปัม๊ ออกซิเจน และระบบไมโครนาโนบับเบ้ิล เป็นข้อมูลส้าหรับการพัฒนาการเพาะเล้ียงปลานิล โดยใชเ้ ทคโนโลยไี มโครนาโนบบั เบิ้ลต่อไป 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย ในปริญญานิพนธ์น้ีเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ในการเลี้ยงปลานิลในบ่อพลาสติกเพื่อ เปรียบเทียบระหว่างการเติมออกซิเจนระบบหัวทรายและระบบไมโครนาโนบับเบ้ิล โดยมีการศึกษา และเปรียบเทียบประเดน็ ดังต่อไปน้ี 1. อตั ราการเจรญิ เตบิ โตของปลานิล 2. อตั ราการรอดตายของปลานลิ 3. คณุ ภาพน้า 4. อัตราการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ 1.3 สมมติฐานของงานวจิ ัย การเลี้ยงปลานิลในบ่อพลาสติก โดยใช้เครื่องไมโครนาโนบับเบ้ิลจะมีผลต่ออัตราการรอด อัตราการเจริญเติบโตของปลานิล และคุณภาพน้าในด้านของออกซิเจนที่ละลายในน้า และความขุ่น เมือ่ เทยี บกบั การใชร้ ะบบเติมอากาศแบบปั๊มออกซเิ จนอยา่ งมนี ยั ส้าคัญ
3 1.4 ขอบเขตของการดาเนนิ งานวจิ ยั การศึกษาและเปรียบเทียบคร้ังนี้เกี่ยวข้องเฉพาะกระบวนการอนุบาลปลานิลในบ่อพลาสติก โดยมสี องการทดลองดังน้ี การทดลอง ที่ 1 ใช้ปลานิลน้าหนักเร่ิมต้นเฉล่ีย 34 กรัมต่อตัว ความหนาแน่น 31 ตัวต่อ ตารางเมตร ในบอ่ ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 2 เมตร เครื่องไมโครนาโนบับเบ้ิล เปิด 8 คร้ังต่อ วัน ครัง้ ละ 30 นาที มรี ะยะเวลาในการตดิ ตามเก็บข้อมลู 10 สปั ดาห์ การทดลองที่ 2 ปลานิลน้าหนักเริ่มต้นเฉล่ีย 55 กรัมต่อตัว ความหนาแน่น 16 ตัวต่อตาราง เมตร ในบ่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เมตร เคร่ืองไมโครนาโนบับเบิ้ล เปิด 6 คร้ังต่อวัน ครงั้ ละ 1 ช่วั โมง มรี ะยะเวลาในการติดตามเกบ็ ขอ้ มลู 6 สัปดาห์ โดยใชเ้ ครื่องมือในการเกบ็ ขอ้ มลู ดงั นี้เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษา 1.เครื่องวัดปริมาณออกซิเจนในน้า LAQUAact Horiba OM-71 2.เคร่ืองวัด U-50 Multipara meter Water Quality Meter ในการวัดอุณหภูมิของน้า, conductivity, Total Dissolved Solid (TDS), Turbidity, pH, Water depth, GPS 1.5 ขนั้ ตอนการดาเนินงานวจิ ัย 1.5.1 ศกึ ษาปัญหาและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง 1.5.2 ลงพน้ื ทแ่ี ละเกบ็ ข้ออ้ มมูลการเลย้ี งปลานลิ ของเกษตรกร ในอา้ เภอพาน 1.5.3 วิเคราะหส์ าเหตขุ องปัญหา 1.5.4 ออกแบบการทดลองและตารางเกบ็ ขอ้ มูล 1.5.5 วิเคราะหผ์ ลการทดลอง 1.5.6 สรปุ ผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ 1.6 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั 1.6.1 ท้าให้ทราบอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลานิลระหว่างการเล้ียงแบบ ระบบเตมิ อากาศแบบป๊มั ออกซิเจนและระบบไมโครนาโนบบั เบิ้ล 1.6.2 ท้าให้ทราบคุณภาพน้าในการเลี้ยงปลานิลระหว่างการเลี้ยงแบบระบบป๊ัมออกซิเจน และระบบไมโครนาโนบับเบิ้ล 1.6.3 ระบบไมโครนาโนบับเบ้ิลมีอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าต้่ากว่าการใช้ระบบแบบป๊ัม ออกซิเจน
4 1.7 แผนการดาเนนิ งาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ตารางท่ี 1.1 แผนการด้าเนนิ งาน ข้นั ตอนดาเนินการ/เดอื นท่ี 1. ศึกษาปัญหาและงานวิจยั ท่ี เกย่ี วขอ้ ง 2. ลงพืน้ ที่ และเก็บข้อมลู การเล้ียง ปลานลิ ของเกษตรกร อ.พาน 3. วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปัญหา 4. ออกแบบระบบการทดลองเล้ียง และเกบ็ ผลการทดลอง 5. วิเคราะหผ์ ลการทดลอง 6. สรปุ ผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ 1.8 กาหนดนิยามคาสาคญั 1.8.1 เครอ่ื งMicro/Nano bubble ไมโครนาโนบับเบิ้ล (Micro/NaNo Bubble) คือ ฟองอากาศขนาดเล็กมาก ระดับ 100-200 นาโนเมตร(1 นาโนเมตร = 1/1,000,000,000 เมตร) (Hideki, 2014; Parmar and Majumder, 2013; Takahashi, 2005; Takahashi et al., 2007) 1.8.2 อัตราการเจริญเตบิ โต น้าหนักปลาทีส่ มุ่ ได้ (กรัม) นา้ หนักปลาที่สุ่มไดค้ รัง้ ก่อน กรัม ระยะห่างของวนั สุ่มวัด 1.8.3 อัตราการรอด จ้านวนปลาท่เี หลือ× อตั รารอด จ้านวนปลาทีป่ ลอ่ ย
5 1.8.4 คณุ ภาพน้า 1.8.4.1 ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้า (Dissolved Oxygen : DO) คือ ก๊าซ ออกซเิ จนทลี่ ะลายในนา้ มคี วามสามรถละลายนา้ ได้มากข้ึนเม่อื อุณหภมู ิของน้าลดลง มีหน่วย การวัด เปน็ mg/L 1.8.4.2. ความขุ่น (turbidity) คือภาวะที่ของไหลมีความขุ่นหรือมัวเพราะได้รับการ ปนเปอ้ื นจากอนภุ าคตา่ ง ๆ หรือสารแขวนลอยหลากขนาด มหี นว่ ยการวัดเป็น NTU 1.9 คาสาคญั (Keyword) ของการวิจัย เครือ่ งไมโครนาบับเบ้ิล, ออกซิเจนทลี่ ะลายอยูใ่ นน้า, คุณภาพน้า, อตั ราการเจริญเตบิ โต, อัตราการรอดปลา,ปลานิล
บทที่ 2 ทฤษฏแี ละงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง ในบทนี้ผ๎ูวิจัยได๎กลําวถึงองค์ความรู๎ ทฤษฏี ท่ีผู๎วิจัยนํามาประยุกต์ใช๎กับงานวิจัยนี้ โดย สามารถแบํงได๎ดังนี้ คือ 1. ความรู๎ทั่วไปเกีย่ วกับปลานิล 2. สถานการณ์การเล้ยี งปลานิลในจงั หวดั เชียงราย 3. เทคโนโลยีนาโนบับเบล้ิ 4. สถิตสิ ําหรบั งานวจิ ยั 5. งานวิจัยทีเ่ กย่ี วข๎อง 2.1 ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกับปลานลิ ถิน่ กาเนิดปลานลิ ปลานิลมีถิ่นกําเนิดอยูํในทวีปแอฟริกาพบได๎โดยทั่วไปตามทะเลสาบและแมํน้ําแทบทุกสาย แตํพบวํามีปลานิลชุกชุมตามลํุมแมํนํ้าไนล์ ในประเทศอียิปต์และปาเลสไตน์ ตํอมาได๎นําปลานิลไป เล้ียงยังประเทศตํางๆ ในตะวันออกกลางและตะวันออกใกล๎ เชํน ประเทศญ่ีปุ่นไต๎หวันมาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี และอกี หลายประเทศรวมท้งั ประเทศไทยด๎วย (อุทัยรัตน์,2538) ในประเทศไทยพบปลานิลสีเหลือง-ส๎ม ซ่ึงเป็นการกลายพันธ์ุจากปลานิลสีปกติหรือเป็นการ ผสมข๎ามพันธุ์ระหวํางปลานิลกับปลาหมอเทศ ซ่ึงนอกจากสีภายนอกท่ีแตกตํางจากปลานิลธรรมดา แลว๎ ภายในตวั ท่ีผนังชํองท๎องยังมีเป็นสีขาวเงินคล๎ายผนังชํองท๎องของปลากินเนื้อ และสีของเน้ือปลา เป็นสีขาวชมพูคล๎ายปลากระพงแดง ซึ่งเป็นที่นิยมรับประทานในตํางประเทศมีช่ือเรียกเป็นท่ีรู๎จักกัน วาํ “ปลานิลแดง” (เชาวลิต,2551) ประวัตคิ วามเปน็ มาของปลานลิ แดงในประเทศไทย ลูกปลานํ้าจืดตัวดํามีถ่ินกําเกิดอยํูที่แอฟริกา ที่พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยํูหัวรัชกาลท่ี 9 ได๎ พระราชทานชื่อวํา ปลานิล และพระราชทานให๎กรมประมงนําไปเพาะขยายพันธุ์เพื่อแจกจํายให๎แกํ ราษฎรและปลํอยลงแหลํงนํ้าธรรมชาติอีกท้ังยังมีการปรับปรุงพันธ์ุ และสํงเสริมให๎เกษตรกรเพราะ เลี้ยงจนกระทั่งคนสํวนใหญํนึกวําปลานิลเป็นปลาของไทยไปแล๎วปลานิลถูกนําเข๎ามาในประเทศไทย ครั้งแรกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโต แหํงประเทศญี่ปุ่นทรงจัดสํงมาทูลเกล๎าถวายแดํ พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยํูหัวจํานวน 50 ตัวเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2508 ในระยะแรกพระองค์ ทรงเลี้ยงไว๎ในบริเวณพระตําหนักสวนจิตรลดา พบวําสามารถเจริญเติบโตและขยายพันธุ์ได๎ใน ระยะเวลาอันส้ัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล๎าพระราชทานพันธ์ุปลาชนิดนี้ให๎กรมประมงเพ่ือนําไป เพาะขยายพันธุ์และพระราชทานชอื่ ปลาชนดิ นี้วาํ “ปลานลิ ” ปัจจุบันปลานิลหรือให๎วําเป็นปลานิลมีผ๎ูเพาะเลี้ยงกันอยํางแพรํหลาย เน่ืองจากเล้ียงงําย โต เร็วท้ังยังเป็นที่นิยมของผู๎บริโภคทั้งในและตํางประเทศ จนสามารถนํารายได๎เข๎าประเทศจํานวนมาก
8 จึงถอื ไดว๎ ําเป็นปลาเศรษฐกจิ ของประเทศนอกจากปลานลิ ซ่งึ ทีเ่ ราร๎ูจักวําเป็นตาสีดําๆ แล๎วกรมประมง ยังไดพ๎ ัฒนาปลานลิ สแี ดงข้นึ มาจนประสบความสําเร็จในการปรับปรุงพันธ์ุเป็นปลานิลแดงทนเค็มสาย พันธุ์ปทุมธานี ดร.นวลมณีพงศ์ธนาผู๎ อํานวยการศูนย์วิจัยและทดสอบพันธุ์สัตว์นํ้าปทุมธานี ผรู๎ บั ผดิ ชอบในโครงการน้เี ลาํ ให๎ฟังวําปลานลิ แดงพนั ธด์ุ ังกลําวปรับปรงุ พนั ธม์ าจากปลานิล 4 สายพันธ์ ไดแ๎ กํ ปลานิลแดงสายพนั ธไ์ ทย ปลานลิ แดงสายพนั ธ์ไตห๎ วัน ปลานิลแดงพันธ์สเตอรงิ และปลานิลแดง พันธ์มาเลเชีย โดยนํามาผสมข๎ามจนได๎ลูกผสม 16 กลุํม จากนั้นนําพันธุ์ผสมดังกลําวไปคัดพันธ์ุเพื่อ เพ่ิมอตั ราการเจรญิ เติญโต โดยประเมินจากคาํ การผสมพันธ์ุของนํ้าหนักปลาอายุ 180 วัน ในน้ําความ เค็มระดับ 25-30 สํวนในพันจํานวน 2 ชํวงอายุระหวํางปีพ.ศ 2548 ถึงพ.ศ 2551 ปลานิลแดงพันธุ์ ดงั กลาํ วมีลักษณะประจําพันธุไ์ ด๎แกํ ลําตัวกว๎าง สันหนา สีชมพูออกไปทางส๎มมีการเจริญเติบโตเร็วให๎ ผลผลติ สูงมปี ริมาณเน้ือแลํสูง และสามารถเลยี้ งได๎ทง้ั ในนํา้ จดื และในน้าํ เค็มระดบั ท่ี 25-30 สํวนในพนั รปู ร่างลักษณะ ปลานิลเป็นปลานํ้าจืดจืดชนิดหนึ่งอยูํในตระกูลชิคลิดี (Cichlidae) รูปรํางลักษณะของปลา นิลคลา๎ ยกบั ปลาหมอเทศแตํลักษณะพิเศษของปลานิลมีดังน้ีคือริมฝีปากบนและลํางเสมอกันที่บริเวณ แก๎มมีเกรด 4 แถวตามลําตัวมีลายพาดขวางจํานวน 9-10 แถบ นอกจากน้ันลักษณะทั่วไปมีดังน้ีครีบ หลงั มีเพยี งหน่ึงครีบประกอบดว๎ ยการครีบแขง็ และการครีบอํอนเป็นจํานวนมาก ครีบก๎นประกอบด๎วย ก๎านครีบแขง็ และออํ นเชนํ กันมีเกร็ดตามแนวเส๎นข๎างตัว 33 เกล็ด ลําตัวมีสีเขียวปนนํ้าตาล ตรงกลาง เกล็ดมีสีเข๎มที่กระดูกแก๎มมีจุดสีเข๎มอยูํจุดหนึ่งบริเวณสวนอํอนของครีบหลังครีบก๎นและครีบหางนั้น จะมีจดุ สีขาวและสีดาํ ตัดขวางและคล๎ายลายขา๎ วตอก (กรมประมง,2540) Boulenger (1907) กลําววํา ปลานิลเป็นปลาที่มีลักษณะลําตัวแบน มีความกว๎างของลําตัว เป็น 47.8 เปอร์เซ็นต์ ของความยาวลําตัว สํวนหัวขํอนข๎างโต มีความยาวเป็น 35.2 เปอร์เซ็นต์ ของ ความยาวลาํ ตัว จงอยํปู ากตรงหรือโค๎งเว๎าเล็กน๎อย แพนหางตรงในปลาขนาดเล็ก แตํคํอนข๎างกลมมน เม่ือปลาโตข้ึนปลาขนาดเล็กจะมีแถบสีดําขวางลําตัวอยูํ 8-9 แถบ แพนหางมีแถบดําในจํานวนที่ไมํ แนํนอนหวั มีสีเทาอมชมพูขอบหางและกน๎ แดง คณุ สมบตั ิและนสิ ยั ปลานลิ มีนิสัยชอบอยํูรวมกันเป็นฝูง (ยกเว๎นเวลาสืบพันธ์ุ) มีความอดทนและปรับตัวเข๎ากับ สภาพแวดล๎อมได๎ดจี ากการศึกษาพบวําปลานิลตํอทนตํอความเค็มได๎ถึง 20 สํวนในพันสํวน ทนตํอคํา ความเป็นกรด - ดําง pH ได๎ดีในชํวง 6.5 - 8.3 และสามารถทนตํออุณหภูมิได๎ถึง 40 องศาเซลเซียส แตํในอุณหภูมิที่ต่ํากวํา 10 องศาเซลเซียสพบวําปลานิลปรับตัวและเจริญเติบโตได๎ไมํดีนักทั้งน้ีเป็น เพราะถิ่นกําเนิดเดิมของปลาชนิดนี้อยํูในเขตร๎อน (ปราณี 2552) และมีปริมาณออกซิเจนที่ละลายใน นาํ้ ไมนํ ๎อยกวํา 5 มลิ ลิกรัม/ลิตร (คีรี 2542)
9 อุปนิสยั การกินอาหาร โดยปกติปลานิลเปน็ ปลาทีก่ ินอาหารเวลากลางวนั ไมํคํอยจะกินอาหารในเวลากลางคืนแตํการ ยํอยจะดําเนินตํอไปอยาํ งตํอเนอ่ื งปลานลิ กินอาหารได๎ท้งั บนผวิ นา้ํ กลางนํา้ และพ้ืนก๎นบํอทําให๎สามารถ กินอาหารได๎หลากหลายประเภทมีทางเดินอาหารยาวประมาณ 5 - 7 เทํา ของลําตัวทําให๎มี ประสิทธิภาพในการยํอยและดูดซึมอาหารปลานิลไมํมีกระเพาะแท๎แตํมีเนื้อเยื่อซ่ึงมีโครงสร๎างคล๎าย กระเพาะท่ีสามารถหล่ังน้ํายํอยเพื่อลดความเป็นกรด-ดําง ระหวํางการยํอยได๎จึงสามารถยํอยโปรตีน จากสาหรํายและแพลงก์ตอนได๎สูงถึง 68 เปอร์เซ็นต์และ 65 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับนอกจากน้ียังมี ความสามารถในการใช๎ประโยชน์จากสารอาหารท้ังหมดโปรตีนไขมัน และคาร์โบไฮเดรต ได๎อยํางมี ประสิทธภิ าพ (คีรี 2542) ปลานิลกินอาหารได๎ทุกชนิดเชํน ไรน้ําตะไคร๎ น้ําสาหรําย แหน ตัวอํอนของแมลงและสัตว์ เล็กๆท่ีอยูํในแหลํงนํ้าแตํการเลี้ยงจะให๎อาหารสมทบเป็นหลักเชํน ปลายข๎าว มันสําปะหลัง รําข๎าว ปลาป่น และพืชผกั ตํางๆให๎มีสวํ นผสมของโปรตีนประมาณ 20 เปอรเ์ ซน็ ต์ (อศั วนิ 2539) ในการให๎อาหารระหวํางการเล้ียงระดับโปรตีนในอาหารปริมาณของโปรตีนที่เหมาะสม สําหรับการเจริญเติบโตของปลานิลแตํละวัยจะแตกตํางกันสําหรับลูกปลาวัยอํอนแล ะลูกปลาน้ิวจะ ตอ๎ งการอาหารท่มี รี ะดับโปรตนี ประมาณ 30-40 เปอร์เซ็นต์แตํในปลาใหญํจะต๎องการระดับโปรตีนใน อาหารประมาณ 25-30 เปอร์เซ็นต์ สํวนเวลาในการให๎อาหารน้ันเน่ืองจากปลาจะกินอาหารได๎ดีเม่ือ ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ําสูงซ่ึงเป็นชํวงเวลากลางวันจึงควรให๎อาหารในชํวงเวลาดังกลําวความถ่ี ในการให๎อาหารเนื่องจากปลานิลเป็นปลาที่มีกระเพาะอาหารจึงสามารถรับอาหารได๎ทีละน๎อยและมี การยํอยอาหารที่คํอนข๎างช๎าการให๎อาหารคร้ังละมากๆนอกจากจะเป็นการสูญเสียแล๎วยังกํอให๎เกิด สภาวะนา้ํ เสียไดด๎ งั น้นั เพอ่ื ใหก๎ ารใชป๎ ระโยชน์จากอาหารเปน็ ไปอยาํ งสูงสุดความถีใ่ นการให๎อาหารควร มากขึน้ สาํ หรับความถ่ีท่ีเหมาะสมประมาณ 4-5 ครั้งตอํ วนั (คีรี 2542) คุณลักษณะของปลานลิ ปลานิลเป็นปลาที่มีเนื้อมากและมีรสดีสามารถนํามาปรุงเป็นอาหารได๎หลายอยําง เชํน ทอด ต๎ม แกงตลอดจนทํานํ้ายาได๎ดีเทํากับเนื้อปลาชํอน นอกจากนี้ยังสามารถนําไปแปรรูปเป็นอาหาร ประเภทตํางๆ เชนํ ทาํ เปน็ ปลาเคม็ ตากแหง๎ แปลบปลาสลดิ ปลากรอบ ปลาร๎า ปลาเจาํ ปลาจํอม หรือ ปลาส๎ม และยังนํามาประกอบเป็นอาหาร แบบอ่ืนได๎อีกหลากหลายชนิด นอกจากประโยชน์ดังกลําว แลว๎ ปลานลิ ยงั มีคุณลกั ษณะอกี หลายประการ ดงั นี้ 1. เลี้ยงงําย มีคํากลําววํา คนจนก็เล้ียงปลานิลได๎ เพราะสามารถเลี้ยงโดยไมํจําเป็นต๎องให๎ อาหารที่กนิ ทกุ อยํางการเล้ียงปลาดุกและปลาชอํ น แมจ๎ ะตอ๎ งทยอยขาย และราคาไมํแพง ผ๎ูเล้ียงจะไมํ เดือดร๎อนเวลาราคาตกตํ่า การเลี้ยงปลานิลโดยใช๎ต๎นทุนต่ําที่สุดโดยการทําให๎น้ําในบํอ มีอาหาร ธรรมชาติที่สมบูรณ์ มีการใสํปุ๋ยแตํบํอทําให๎เกิดแพลงก์ตอนหรือไรนํ้า ถ๎าเกษตรกรขยันทําปุ๋ยหมักใช๎ เองหรือเลี้ยงสัตวค์ วบคกูํ นั ไปกจ็ ะประหยัดทหารได๎มาก 2. หาผํานได๎งําย พันธุ์ปลานิลนอกจากจะหาซื้อได๎งํายจากบํอเลี้ยงปลากินพืชท่ัวไปแล๎ว เกษตรกรยงั สามารถเพาะเลีย้ งปลานลิ ได๎เองโดยวิธีการเรียนแบบธรรมชาติ ในกรณีที่เกษตรมีบํอเล้ียง จาํ นวนนอ๎ ยบหํ าดรวมกลํุมกันเพาะพนั ธ์ปุ ลานลิ แล๎วแบํงลูกปลาไปเล้ียงเป็นปลาใหญํตอํ ไป
10 3. อดทน ปลานิลมีความอดทนมาก ไมํคํอยเป็นโรคร๎ายแรง สามารถทนอยูํในบํอปลาท่ีมี อาหารธรรมชาติจาํ นวนมากจนมีนํา้ สเี ขยี วจดั (น้ําเสยี ) ไดเ๎ กษตรกรจึงใช๎นํ้าท้ิงจากบอกประหลาดุกมา เล้ียงปลานิลของเสียที่ปนอยํูในน้ําก็เหมือนปุ๋ยท่ีใสํลงเพาะไรน้ํา ถ๎าจัดให๎มีบํอเลี้ยงปลานิลรับน้ําท่ี ระบายจากบอํ ประหลาดุกก็สามารถผลิตปลานิลได๎ถ๎วยแทบไมํต๎องลงทุนเพ่มิ เลย 4. การผสมพันธุ์ ปลานิลผสมพันธ์ุเกํง ผลิตลูกปลาได๎เร็วจนแนํนบํอ นอกจากสามารถนําเอา ความรู๎เร่ืองธรรมชาติคําผสมพันธ์ุของปลานิลไปใช๎ในการเพาะพันธุ์ลูกปลาเป็นอาชีพแล๎วการปลํอย ปลาบํู ปลาชํอนหรือก๎ุงก๎ามกรามลงลงในบํอปลานิลให๎ชํวยกันกินลูกปลาให๎น๎อยลงบ๎างกลายมาเป็น ผลผลิตปลาบํู ปลาชํอน และก๎ุง ซึ่งราคาตํางกันมาก พอลูกปลาลดลงแล๎วพํอแมํปลานิลก็เรํงผลิตลูก พามาชดเชยอีก 5. โตเรว็ ปลานลิ มกี ารเจริญเตบิ โตเรว็ ไมํไดร๎ ับการเลย้ี งดอู ยํางถูกต๎องจะมขี นาดเฉล่ยี ใน เวลา 1 ปีผลติ ผลผลติ ไมํนอ๎ ยกวํา 500 กิโลกรัม/ไร/ํ ปี ตารางที่ 2.1 การเจริญเติบโตของปลานลิ นํา้ หนกั (กรัม) อายุปลา(เดือน) ความยาว(เซนตเิ มตร) 30 200 3 10 350 6 20 500 9 25 12 30 6. ไมํทําร๎ายกันเอง ปลานิลไมํกินลูกของตัวเอง ลูกปลาจึงมีอัตราการรอดตายจากการ สบื พนั ธ์แุ บบธรรมชาติจาํ นวนมากในกรณีที่ไมมํ ีศัตรูอน่ื รบกวน 7. มีตลาดจําหนํายเนื่องจากฟ้านิลเป็นปลาท่ีประชาชนท่ัวไปนิยมบริโภคจึงทําให๎เป็นที่ ต๎องการของตลาดท่วั ไป 8. เล้ยี งรํวมกบั ปลาประเภทอน่ื ได๎ การเพาะพันธ์ปลานิล การเพาะพันธ์ุปลานิลให๎ได๎ผลดีและมีประสิทธิภาพต๎องได๎รับการเอาใจใสํและมีการปฏิบัติ ด๎านตาํ งๆ เชนํ การเตรยี มบอํ การเลี้ยงพอํ พันธุ์แมํพันธุ์ การตรวจสอบลูกปลาและการอนุบาลลูกปลา และการอนุบาลลูกปลาสําหรับการเพาะพันธุ์ปลานิลอาจทําได๎ทั้งในบํอดิน บํอซีเมนต์ และกระชัง ไนลอนตาถ่ี ดงั วิธีการตอํ ไปนี้ 1. การเตรยี มบอํ เพาะพันธ์ุ 1.1 บํอดิน บํอเพาะปลานิลควรเป็นบํอรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ๎ามีเนื้อท่ีตั้งแตํ 50–1,600 ตาราง เมตร สามารถเก็บกักน้ําได๎สูง 1 เมตร บํอควรมีเชิงลาดตามความเหมาะสม เพ่ือป้องกันดินพังทลาย และมชี านบํอกวา๎ ง 1 – 2 เมตร ถ๎าเป็นบํอเกาํ ก็ควรวิดนํ้าและสาดเลนข้ึนตกแตํงภายในบํอให๎ดินแนํน ใสํโลํติ๊นกําจัดศัตรูของปลาในอัตราสํวนโลํติ๊นแห๎ง 1 กก./ ปริมาตรของน้ํา 100 ลูกบาศก์เมตร โรย ปนู ขาวใหท๎ วั่ บอํ 1 กก./พนื้ ท่บี อํ 10 ตรม. ใสํป๋ยุ คอกแห๎ง 300 กก./ไรํ ตากบํอทิ้งไว๎ประมาณ 2 – 3
11 วัน จงึ เปดิ หรือสบู นา้ํ เขา๎ บอํ ผํานผา๎ กรองหรือตะแกรงตาถ่ีให๎มีระดับสูงประมาณ 1 เมตร การใช๎บํอดิน เพาะปลานิล จะมีประสิทธิภาพดีกวําวิธีอ่ืน เพราะเป็นบํอที่มีลักษณะคล๎ายคลึงตามธรรมชาติ และ การผลติ ลูกปลานลิ จากบอํ ดินจะไดผ๎ ลผลิตสูงและตํ่ากวําต๎นทุนกวาํ วธิ ีอนื่ 1.2 บอํ ซีเมนต์ ก็สามารถใชผ๎ ลิตลกู ปลานิลได๎ รูปรํางของบํอจะเป็นส่ีเหล่ียมผืนผ๎า หรือทรง กรมกไ็ ด๎ มีความลึกประมาณ 1 เมตร พื้นที่ผิวน้ําต้ังแตํ 10 ตารางเมตรขึ้นไป ทําความสะอาดบํอและ เติมน้ําท่ีกรองด๎วยผ๎าไนลอนหรือมุ๎งลวดตาถ่ีให๎มีระดับความสูงประมาณ 80 ซม. ถ๎าใช๎เคร่ืองเป่าลม ชวํ ยเพ่ิมออกชเิ จนในน้ําจะทําใหก๎ ารเพาะพันธปุ์ ลานิลด๎วยวิธนี ้ีไดผ๎ ลมากขน้ึ อนึ่ง การเพาะปลานิลในบํอซีเมนต์ ถ๎าจะให๎ได๎ลูกปลามากก็ต๎องใช๎บํอขนาดใหญํ ซ่ึงต๎องเสีย คําใช๎จํายด๎านการลงทุนสงู 1.3 กระชงั ไนลอนตาถ่ี ขนาดของกระชังที่ใช๎ประมาณ 5x8x2 เมตร วางกระชังในบํอดินหรือ ในหนอง บึง อํางเก็บนาํ้ ใหพ๎ ้ืนกระชงั อยํตู ่าํ กวาํ ระดบั น้าํ ประมาณ 1 เมตร ใช๎หลักไม๎ 4 หลัก ผูกตรง มุม 4 มุม ยึดปากและพื้นกระชังให๎แนํนเพ่ือให๎กระชังขึงตึงการเพาะพันธ์ุปลานิลด๎วยวิธีนี้มีความ เหมาะสมที่จะใช๎ผลติ ลกู ปลาในกรณซี ึง่ เกษตรกรไมมํ ีพน้ื ที่ 2.2 สถานการณ์การเลีย้ งปลานลิ ในจงั หวดั เชียงราย จังหวัดเชียงราย มีเกษตรกรเล้ียงสัตว์นํ้าที่ข้ึนทะเบียนผ๎ูเล้ียงสัตว์นํ้ารวม 20,000 ราย 35,000 บํอ คิดเป็นพ้ืนท่ีประมาณ 31,000 ไรํ การเลี้ยงปลาสํวนใหญํ ร๎อยละ 65 เป็นการเลี้ยงใน ระดับเพื่อการยังชีพอาศัยน้ําฝน และอีกร๎อยละ 35 เป็นการเลี้ยงเชิงพาณิชย์ ชนิดสัตว์นํ้าจืดท่ีเล้ียง สํวนใหญํ เป็นปลานิล ประมาณร๎อยละ 50% ปลาดุกประมาณร๎อยละ 30% และสัตว์นํ้าชนิดอื่นๆ ได๎แกํ กุง๎ ก๎ามกราม ปลาตะเพยี น ปลานวลจันทร์ ปลาย่สี กเทศ และกบ ประมาณ 20 % การเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าจืด ในปี 2558 มีเกษตรกรเลี้ยงสัตว์นํ้าท่ีข้ึนทะเบียนผู๎เลี้ยงสัตว์น้ํา รวม 21,682 ราย จํานวนบํอเลี้ยงปลา 36,295 บํอ คิดเป็นพ้ืนที่ 31,858 ไรํ โดยแหลํงผลิตปลานิลที่ ใหญํทส่ี ุดอยทูํ ่ีอําเภอพาน เน่ืองจากมีระบบชลประทานแมํลาวรองรับ และมีการจัดต้ังสหกรณ์/กลํุม/ ชมรม ที่ประกอบกิจการด๎านการเลี้ยงสัตว์น้ําแบบครบวงจร รวม 12 แหํง มีสมาชิกรวม 1,400 ราย เล้ียงปลาเชงิ พาณิชย์ มผี ลผลติ จาํ หนาํ ยออกสตูํ ลาดเฉลยี่ วันละประมาณ 3,040 ตนั การเล้ียงปลาสํวน ใหญํ ร๎อยละ 65 เป็นการเล้ียงในระดับเพื่อการยังชีพ อาศัยน้ําฝน และ อีกร๎อยละ 35 เป็นการเลี้ยง เชงิ พาณิชย์ ชนิดสัตวน์ ํา้ จืดท่ีเลย้ี งสํวนใหญํ เปน็ ปลานลิ ประมาณ 50% ปลาดุก ประมาณ 30% และ สัตว์นํ้าชนิดอ่ืนๆ เชํน ก๎ุงก๎ามกราม ตะเพียน นวลจันทร์ ย่ีสกเทศ และ กบ) ประมาณ 20 % ในปี 2555 มปี ริมาณผลผลติ จากการเลี้ยงรวม 24,001 ตัน คิดเป็นมูลคํา 967 ล๎านบาท นอกจากนี้จังหวัด เชียงราย ยังเปน็ แหลํงเล้ียงของกุ๎งก๎ามกราม ซึ่งต้ังอยูํในเขตอําเภอเทิง และอําเภอแมํจัน มีกําลังผลิต ประมาณ 200-250 ตนั /ปี ปลานิลท่ีออกมาสํทู ๎องตลาด 43 ตนั /วัน ในขณะน้ีสวํ นใหญํเป็นการบริโภคในเขต 7 จังหวัด ภาคเหนือคือเชียงราย เชียงใหมํ ลําพูน ลําปาง แพรํ พะเยา และนําน การสํงออกไปขายยังประเทศ เพ่ือนบ๎านมีน๎อย โดยสํงไป สปป.ลาวประมาณ 1.7 ตัน/วัน และสํงออกไปเมยี นมา 2.0 ตนั /วัน
12 รปู ที่ 2.1 การเพาะเล้ยี งปลานลิ อําเภอพาน 2.3 เทคโนโลยีนาโนบบั เบ้ิล เทคโนโลยไี มโครนาโนบับเบิ้ลหรือเคร่ืองผลิตฟองขนาดจิ๋ว เป็นเทคโนโลยีที่นํามาใช๎กันอยําง แพรํหลายในตํางประเทศ โดยเฉพาะการนําไปเพิ่มปริมาณออกซิเจนให๎กับการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าโดย ศึกษาพบวําคุณสมบัติพิเศษของ ไมโครนาโนบับเบิ้ล จะชํวยให๎ฟองออกซิเจนคงตัวอยํูในน้ํานานขึ้น จงึ ยืดเวลาการเปลยี่ นถาํ ยนาํ้ จากบํอ หรอื อาจไมํต๎องเปลีย่ นน้ําเลย จุดเดนํ ของเทคโนโลยีนี้อยูํท่ีการทํา ให๎เกดิ ฟองกา๏ ซขนาดจวิ๋ สามารถคงตวั อยูใํ นน้ําไดย๎ าวนาน เม่อื เทียบกับฟองก๏าซปกติจะอยูํในนํ้าได๎ตํ่า กวําและจะสลายไปจากนํ้าจนหมด \"การที่ฟองจิ๋วลอยตัวข้ึนสํูผิวน้ําช๎าลง เนื่องจากสารอิเล็กโตรไลท์ ท่ีละลายในน้ําทําให๎เกิดประจุไฟฟ้าไปหํอห๎ุมตัวฟองให๎เป็นสองชั้น โดยประจุลบจะอยูํชั้นใน สํวน ประจุบวกจะอยํูชั้นนอกแรงประจุไฟฟ้าและแรงตึงผิวของฟองจะอยํูในภาวะสมดุลกัน ตํางจากฟอง ขนาดใหญํซ่ึงจะมีแรงลอยตัวมากทําให๎ไมํสามารถสร๎างสมดุลกับแรงไฟฟ้าได๎ เมื่อนําออกซิเจนมาทํา ให๎อยูใํ นรูปของไมโครนาโนบับเบ้ลิ จะทาํ ใหอ๎ อกซเิ จนอยํใู นนา้ํ ไดน๎ านขึ้น
13 ภาพท่ี 2.2 ความสามารถคงตัวของฟองอากาศแตลํ ะขนาด การนาํ นาโนบับเบิล้ มาใช๎ในการเพาะเล้ียงสัตว์นํ้า จะชวํ ยเสรมิ ประสทิ ธิภาพของการเลี้ยงสัตว์ นา้ํ ท้งั ในด๎านการเพ่ิมปริมาณและการเพ่ิมคุณภาพของผลผลิต ในขณะเดียวกันก็สามารถลดคําใช๎จําย ในการเพาะเล้ยี งในการดูแลคุณภาพน้ําและการบาํ บัดนํ้า ดว๎ ยคุณสมบัติทโ่ี ดดเดํนของนาโนบับเบล้ิ คณุ สมบัติเฉพาะของนาโนบับเบ้ิล 1) ฟองมขี นาดเลก็ เพยี ง 100-200 นาโมเมตร 2) มพี ื้นทีผ่ วิ ของอากาศจํานวน มหาศาล 3) ท่ผี วิ ของนาโนบบั เบ้ลิ มปี ระจุลบลอ๎ มรอบ 4) คงตัวอยใูํ นนา้ํ ไดน๎ านนบั เดือน คณุ สมบตั ิตอ่ คุณภาพนา้ 1) มปี ระสทิ ธิภาพในการเพม่ิ คาํ ออกซเิ จนในน้าํ สงู สุด - สตั วน์ ํา้ มีสขุ ภาพแข็งแรงเติบโตไว - กําจัดการสะสมของเสยี ในบํอเลย้ี ง - เพ่ิมความหนาแนํนของสตั วเ์ ลยี้ ง - คําออกซิเจนของนํ้าที่ระดับผิวนํ้ากับก๎นบํอใกล๎เคียงกัน เน่ืองจากเป็นการเติม อากาศทรี่ ะดับก๎นบํอ 2) ลดการขํุนของนา้ํ จากสารแขวนลอย แสงแดดสํองลงไปได๎ลึกในบํอ ทําให๎แพลงก์ตอน พืช ซ่งึ เปน็ อาหารสตั วเ์ จริญได๎ดี 3) เน่อื งจากเปน็ การเตมิ อากาศจากระดบั ก๎นบํอ - เป็นการ “พลกิ นาํ้ ” ทําใหอ๎ ุณหภูมิของนา้ํ ก๎นบอํ กบั ผิวน้ําไมแํ ตกตาํ งกนั มากนกั - ชวํ ยเรงํ การกําจัดของเสยี ของการประกอบไนโตรเจนบริเวณกน๎ บํอ
14 4) ลดปริมาณการเปล่ยี นถํายนํา้ ในบํอเลย้ี ง - ลดตน๎ ทนุ การเพาะเล้ียง - ลดความเสยี่ งการเกิดโรคจากการเปลี่ยนถาํ ยน้ําในบอํ เลีย้ ง - ลดผลกระทบตอํ สภาพแวดล๎อม 5) คุณสมบัติตํอคณุ ภาพของสตั ว์นา้ํ 1. ทําให๎สัตวน์ ้ําสขุ ภาพดี แข็งแรง เตบิ โตไว มภี มู ิตา๎ นทานตํอโรคตาํ งๆ สงู - ลดภาระคําใชจ๎ ํายในการป้องกนั และยารักษาโรคสตั วน์ ํา้ - ไดผ๎ ลผลิตท่มี คี ณุ ภาพและสมํ่าเสมอ 2. ลดระยะเวลาในการเล้ียงแตํละรอบการเล้ียง นอกจากคุณภาพน้ําท่ีดีทําให๎สัตว์ นํ้ามีความเจริญเติบโตได๎ดีเต็มท่ีแล๎วไประจุไฟฟ้าลมของนาโนบับเบ้ิลยังมีผลเรํงการเจริญเติบโตของ สัตว์นํ้าอีกด๎วย จากการใช๎เทคโนโลยีนาโนบับเบ้ิลในการเลี้ยงหอยนางรม(oyster) ในประเทศญ่ีปุ่น พบวํา ทําให๎หอยนางรมมีอัตราการเจริญเติบโตมากกวําวิธีการเลี้ยงท่ีไมํมีนาโนบับเบ้ิล 1.5 เทํานั้น หมายถงึ การลดระยะเวลาการเล้ยี งนัน่ เอง 6) คุณสมบัตติ อํ การบริหารจดั การ 1. ลดคําใช๎จํายในการเติมออกซิเจนด๎วยวิธีเดิม ซ่ึงมีการใช๎พลังงานท่ีสูงกวํา แตํมี ประสิทธภิ าพตาํ่ กวํา 2. ลดคาํ ใชจ๎ ํายในการบาํ รงุ รกั ษาเคร่ืองมอื ในการเติมออกซิเจน 3. ลดคําใช๎จํายในการเปล่ียนถํายน้ํา ด๎วยนาโนบับเบิ้ล สามารถยืดเวลาการเปล่ียน ถํายน้าํ ในบอํ ไดน๎ านข้ึน 4. ลดคาํ ใช๎จาํ ยในการบาํ บดั นํ้ากํอนการทงิ้ น้าํ ที่ใชเ๎ ลี้ยงลงในที่สาธารณะ 5. ลดมูลคาํ ความเสียหายในกระบวนการ การขนสํงสัตว์นํ้า เน่ืองจากสามารถขนสํง สตั ว์น้าํ ได๎ระยะทางไกลขึน้ จากการศกึ ษางานวิจยั ในการนําประโยชนข์ องไมโครนาโนบับเบล้ิ ไปประยกุ ต์ใช๎ทางด๎านตํางๆ ในตํางประเทศพบวํา Hengzhen และคณะ (2556) ได๎ทําการทดสอบประสิทธิภาพเทคโนโลยีไมโคร นาโนบับเบิ้ลในการบําบัดนํ้า พบวําฟองอากาศขนาดไมโครเมตรสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการเติม ออกซเิ จนได๎ดกี วําฟองอากาศขนาดมิลลิเมตร ซ่ึงสํงผลให๎สามารถเติมอากาศได๎ดีขึ้นและบําบัดน้ําเสีย ได๎ดีขึ้น โดยไมโครบับเบิ้ลท่ีมีก๏าซออกซิเจนจะสามารถเติมคํา DO ในนํ้าได๎ดีกวํา ฟองอากาศธรรมดา ระดับมิลลเิ มตรถึง 125 เทาํ และเม่ือเปรียบเทียบไมโครบับเบล้ิ กบั ฟองอากาศธรรมดา คํา DO สูงกวํา 3 เทํา และสามารถคงคาํ DO ไดน๎ านกวาํ 16 เทาํ
15 รปู ที่ 2.3 ความสามารถในการคงตวั ของไมโครนาโนบบั เบ้ลิ นอกจากน้ี Kosuke และคณะ (2556) ได๎ทําการทดสอบใน distilled water โดยขณะท่ีคํา DO ของตัวอยํางของ Control มีคําเทํากับ 7.7 mg/L เมื่อใช๎เครื่องนาโนบับเบิ้ลผลิดนํ้า 100 L เป็น เวลา 30 นาที พบวํา คํา DO เพ่ิมขึ้นเป็น 31.7 mg/L อีกทั้งพบวํา 70% ฟองอากาศมีขนาดเส๎นผําน ศูนย์กลางเลก็ กวาํ 2 μm หลังจากปิดเครื่อง ซ่ึง 60 % ของฟองอากาศดังกลําว สามารถอยํูได๎ถึง 2.5 เดือน โดยไมจํ าํ เปน็ ตอ๎ งเปดิ เครื่อง ดังรูปที่ 12 อีกท้ังในการทดลองน้ีพบวํา ปลาอะยุที่เลี้ยงด๎วยน้ํานา โนบับเบิ้ลมีขนาดโตข้ึนเป็น 2 เทําเม่ือเทียบกับเล้ียงด๎วยน้ําธรรมดา หลังจากผํานไป 3 อาทิตย์ และ ปลาเรนโบว์เทราท์ที่เล้ียงในนํ้านาโนบับเบิ้ลมีขนาดโตกวําคอนโทรประมาณ 1.14 เทํา เม่ือผํานไป 6 อาทติ ย์ อยํางไรก็ตามในประเทศไทยยังไมํมีงานวิจัยในการนําเอาเคร่ืองไมโครนาโนบับเบิ้ลไป ประยุกต์ใช๎ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการเล้ียงปลานิล ซึ่งทางทีมวิจัยได๎เร่ิมพัฒนาเครื่องไมโครนา โนบับเบ้ิลขนาด 2 ลิตร/นาที , 20 ลิตร/นาที และ 50 ลิตร/นาที เพ่ือใช๎ในการประยุกต์ด๎านตํางๆ ตํอไป 2.4 สถิติสาหรับงานวิจัย 2.4.1 การทดสอบที (t-test) เทคนิควิธีการทางสถิติท่ีใช๎ในการทดสอบสมมุติฐานเพ่ือเปรียบเทียบคําเฉล่ียของกลํุม ตัวอยํางหน่งึ กลํุมกับ ประชากร หรอื เปรยี บเทียบระหวาํ งกลุํมตัวอยํางสองกลุํมท่ีอาจมีความสัมพันธ์ กันหรือเป็นอิสระตํอกันก็ได๎ โดยกลํุมตัวอยําง ต๎องสุํมมาจากประชากรท่ีมีการแจกแจงปกติและ ทราบคําความแปรปรวนของประชากร ข๎อตกลงเบ้ืองต๎นสําหรับ Parametric Statistics ท้ังหมด ไมํวําจะเป็น t test หรือ F test เป็นตน๎
16 1. ขอ๎ มลู เป็นระดบั Interval Scale และ Ratio Scale 2. ข๎อมูลมี distribution เป็นโคง๎ ปกติ (Normal Curve) 3. ประชากรแตลํ ะกลุํมทน่ี า มาศึกษาต๎องมคี วามแปรปรวน (Variance) เทํากนั ? การเปรียบเทียบ 2 ตวั แทน หรือเปรียบเทียบ 2 means มี 3 แบบไดแ้ ก่ 1. One Sample test 2. Paired samples test (เปรียบเทยี บแบบจับคสํู ่ิงทดลอง) 3. Independent test (เปรยี บเทยี บแบบรวมกลมํุ ) ตวั อยาํ งการใชส๎ ถิติเพือ่ การเปรยี บเทยี บ 2 means 1. One sample test Compare means ด๎วย One Sample test เป็นการเปรียบเทียบข๎อมูล 1 กลุํม กับคําท่ี เป็นมาตรฐานหรือคําท่ีมีอยํูกํอนแล๎ว อาจเป็น Z test หรือ t test ข้ึนกับขนาดของประชากรหรือ ขนาดตัวอยําง หากเป็นการทดสอบประชากร หรือ ขนาดตัวอยํางน้ัน ใหญํ เชํน มากกวํา 30 หรือ 100 (ในกรณีการทดสอบที่มีปัจจัยกวนมาก) ให๎ใช๎ Z test และยังต๎องข้ึนกับความแปรปรวนของ ประชากรด๎วย หากทราบความแปรปรวนของประชากรให๎ใช๎ หากไมํทราบให๎ใช๎ s แตํหากขนาด ตัวอยาํ งเลก็ ให๎ใช๎ t test วธิ ใี ช๎สอบทางสถติ ิ แบงํ เป็นแบบทราบความแปรปรวนของกลํุมประชากร และ ไมํทราบกลํุม ประชากร ถาม วัดความดันโลหิตได๎คําตํอไปน้ี 183, 152, 178, 157, 194 mmHg เราจะสามารถ สรปุ วาํ กลํุมนี้มีความดนั โลหติ เทาํ กบั คาํ มาตรฐาน 165 mmHg ไดห๎ รอื ไมํ 2. Paired sample test (เปรยี บเทยี บแบบจับคสูํ ่ิงทดลอง) Compare means ดว๎ ย paired samples T test ข๎อมูล 2 กลุํม ท่ีเป็นไมํอิสระตํอกัน (เชํน สัตว์ตัวเดียวกัน หรือ ฝาแฝดกัน เป็นต๎น) รูปแบบนี้จะมีความแปรปรวนของท้ัง 2 กลํุมเหมือนๆ กัน อยูแํ ลว๎ (เพราะเปน็ individual เดยี วกนั ) เชํน คน 5 คนออกกาํ ลงั กายแลว๎ อัตราเตน๎ ของหัวใจเปลี่ยนไปจากเดิมหรอื ไมํ ? เป็นการเปรียบเทยี บอัตราการเต๎นของหวั ใจในคนๆ เดยี วกัน กํอนและหลังการออกกําลังกาย ทั้ง 2 กลุํม (กอํ นและหลงั ออกกาํ ลงั กายจะมคี วามแปรปรวนเหมือนกัน เพราะมาจากคนๆ เดียวกัน) คนที่ กํอน หลงั 1 115 170 2 84 148 3 88 176 4 110 191 5 105 158 3. Independent test (เปรยี บเทียบแบบรวมกลุํม) Compare means ด๎วย independent t-test เป็นการทดลองที่ sample แตํละตัวเป็น อสิ ระตํอกนั เปน็ การทดสอบขอ๎ มลู 2 กลํุมที่เปน็ อสิ ระตํอกัน ทดสอบวาํ mean ตาํ งกันหรือไมํ
17 รปู ท่ี 2.4 แผนผังการวิเคราะห์ t-Test 3. การเปรียบเทียบแบบรวมกลํุม (Independent t test) ในการทดลองท่ีไมํมีการจับคํู (ไมใํ ชํการศึกษาในตัวเดียวกัน) การเปรียบเทียบความแตกตํางระหวําง 2 กลํุม โดยกลุํม ตัวอยํางเป็น อิสระกันทําโดยเปรียบเทียบคําเฉล่ีย เชํน ̅ - ̅ ประมาณความแตกตํางระหวํางคําเฉลี่ยของ ประชากร คอื ระหวาํ ง - การตรวจสอบกระทา โดยคาํ นวณ คํา t = (̅ -̅ )- - ̅ -̅ โดยกําหนดวาํ (̅ ̅ )กระจายตามแบบปกติ (normal distribution) และอสิ ระ คํา ̅ ̅ เปน็ คาํ ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของความแตกตาํ งระหวาํ งคําเฉล่ยี 3.1 การรวมคาํ ประมาณของ variance เมอื่ จาํ นวนตวั อยาํ ง (n) เทาํ กัน คาํ variance เปน็ คําประมาณ คอื และ ทง้ั สองตวั แทนมีจํานวนคําสังเกตเทาํ กนั คอื n เทํากนั คาํ ประมาณรวํ มของ คอื = =∑ ∑ ∑ =∑ ̅ df สําหรบั s2 เทาํ กับ 2(n-1) หรอื ผลรวมของ df สาํ หรบั และ คํานวณ t= ̅ ̅ ̅̅ ในการคาํ นวณ t นเ้ี รากาํ หนดวาํ ทัง้ 2 ตวั แทนมี variance เทาํ กัน คือ
18 ตวั อยาํ ง ให๎ฮอรโ์ มนแกํไกตํ วั ผ๎ู ชัง่ น้าํ หนักหงอนไกํ Chicken Hormone 1 Hormone 2 (hormone ) (hormone ) 1 57 89 3249 7921 14400 900 2 120 30 10201 6724 18769 2500 3 101 82 14161 1521 13689 484 4 137 50 10816 3249 5329 1024 5 119 39 2809 9216 4624 961 6 117 22 13924 7744 111971 42244 7 104 57 8 73 32 9 53 96 10 68 31 11 118 88 รวม 1067 616 จาํ นวน 11 11 คําเฉลี่ย 1067/11=97 616/11=56 ∑ 111971 42244 1067/11=103499 616/11=34496 ∑ 111191 - 103499=8472 42244 - 34496=7748 ∑ ̅ = ∑ - ∑ /n 11-1=10 11-1=10 df = =∑ ∑ ∑ =∑ ̅ ∑ = 8472, ∑ = 7748 = = 811,df = 20 ̅ ̅ =√ =√ = 12.14 t= ̅ ̅ ̅̅ t = (91-56)/12.14 = 41/12.14 = 3.38, df = 20 Student's t: 3.38, df: 20, Two-sided p-value: 0.002975
19 Hormone 1 ทําให๎หงอนไกํโดยเฉลีย่ เพ่มิ ขนึ้ สูงกวาํ hormone 2 อยาํ งมีนยั สําคัญทางสถติ ิ ทร่ี ะดบั 1% ของความนาํ จะเป็น คําความเช่อื มั่นท่ี 95% ของ ( - ) = ̅ ̅ ̅̅ = 41 (2.086) 12.14 = 66 และ 16 mg การเปรยี บเทยี บตวั แทนทม่ี จี ํานวนไมเํ ทํากัน ใชว๎ ิธวี เิ คราะหท์ างสถติ ิเหมือนหัวขอ๎ กํอนหนา๎ นี้ แตจํ ํานวน และ ไมเํ ทาํ กนั variance ของคําเฉล่ีย = และ variance ของความแตกตาํ ง = ̅ ̅ = + = += df = (n1+n2-2)
20 ทดลองเปรียบเทยี บน้ําหนกั หนทู ่ีใหก๎ นิ อาหารโปรตนี สงู กบั อาหารโปรตนี ต่าํ No High Prot. Low Prot. 17956 4900 1 134 70 21316 13924 2 146 118 10816 10201 3 104 101 14161 7225 4 119 85 154376 11449 5 124 107 25921 17424 6 161 132 11449 8836 7 107 94 6889 8 83 12769 73959 9 113 = 71,407 16641 10 129 9409 73,959 11 97 15129 12 123 177832 2,552 รวม 1440 7-1 = 6 จํานวน 12 177,832 คาํ เฉลย่ี 120 5,032 ∑ = 17,2800 12-1 = 11 ∑ ∑̅ df total = ∑ ̅ ,df = = (5032+2552)/(11+6) = 446.12
21 Df = 17 ̅ ̅ =√ = √ = 10.04 กรัม t = ̅ ̅ = (120-101) / 10.04 = 19/10.04 = 1.89; df = 17 ̅̅ Student's t: 1.89, df: 17, Two-sided p-value: 0.075 คํา t ตกอยทํู ี่ ความนาํ จะเป็นประมาณ 0.08 หมายความวํา ความแตกตาํ งดงั กลาํ วอาจเกิดขึน้ โดยบังเอิญได ๎1 ใน 13 95% confidence interval = 40.2 และ -2.2 กรัม (มาจาก 19 (2.198 x 10.04) 2.5 งานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง กระสินธุ์ หังสพฤกษ์ และสุฤทธ์ิ สมบูรณ์ชัย (2557) กลําวํา การทดลองเลี้ยงปลา นิลในอัตราความหนาแนํนตํางกันที่มีระบบนํ้าไหลเวียนแบบปิดในบํอ ซีเมนต์กลม ขนาดเส๎นผําน ศูนย์กลาง 120 เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร โดยมีการให๎อากาศและเครื่องกรองน้ํา ที่ระดับความ หนาแนํนตํางกัน 3 ระดับ คือ 43, 86 และ 129 ตัว/ลูกบาศก์เมตร มีขนาด ลูกปลานิลแดง 22.73±2.12 กรัม เล้ียงด๎วยอาหารสําเร็จรูปชนิดเม็ดลอยนํ้า โปรตีน 40 เปอร์เซ็นต์ ระยะเวลา 120 วัน พบวํา ปลานิล มีน้ําหนักเฉลี่ยสุดท๎ายเทํากับ 227.13±22.38, 251.05±22.72 และ 239.53±21.03 กรัม ตามลําดับอัตราแลกเน้ือเทํากับ 1.48±0.07, 1.26±0.11 และ 1.33±0.06 ตามลําดับ อัตรารอดตายเทาํ กบั 93.33±5.77, 93.33±2.89 และ 94.44±1.93 เปอรเ์ ซน็ ต์ตามลําดับ เม่อื วเิ คราะห์ทางสถิติ พบวําน้ําหนกั เฉลยี่ สุดท๎าย และอัตรารอดตาย ไมํมีความแตกตํางกัน (p>0.05) แตํอัตราแลกเนื้ออัตราแลกเน้ือที่ระดับความหนาแนํน 86 ตัว/ลบ.ม. น๎อยท่ีสุดมีความแตกตํางทาง สถติ ิ (p<0.05) ดังนนั้ การเลีย้ งปลานลิ แดงท่รี ะดับความหนาแนํน 86 ตัว/ลูกบาศก์เมตร ให๎อัตราแลก เนื้อทต่ี ํ่ากวาํ การเลีย้ งทร่ี ะดบั 43 และ 129 ตัว/ลกู บาศก์เมตร และมีแนวโน๎มการเจริญเตบิ โตดี ทีส่ ดุ กฤษณา เตบสัน, ลัดดาวัลย์ ครองพงษ์, อรุณี รอดลอย และอรพินท์ จินตสถาพร (2559) กลําววํา ศึกษาผลของการเสริมสารสกัดหยาบขมิ้นชันและฟ้าทะลายโจรในอาหารตํอระบบภูมิค๎ุมกัน และ การเจริญเติบโตของปลาคาร์ป โดยให๎กินอาหารเม็ดสําเร็จรูปท่ีมีระดับโปรตีน 40 เปอร์เซ็นต์ ผสมสารสกัด หยาบขมิ้นชันและฟ้าทะลายโจรในอาหารตํางกัน คือ ชุดการทดลองท่ี 1 ไมํมีสํวนผสม ของสารสกดั หยาบ ขมิ้นชันและฟ้าทะลายโจร ชุดการทดลองที่ 20.5% และ 5%, ชุดการทดลองที่ 3 0.5% และ 10%, ชุดการทดลองท่ี 41% และ 5% ชุดการทดลองท่ี 51% และ 10% ของสารสกัด หยาบขมิ้นชันและฟ้าทะลายโจรตามลาํ ดับ เลีย้ งปลาคาร์ปขนาดนา้ํ หนักเร่ิมต๎นเฉล่ีย 47.27 กรัม ในต๎ู กระจกขนาด 36x18x18 นิ้ว จํานวน 10 ตัว/ตู๎ เป็นเวลา 12 สัปดาห์ ให๎อาหารทดลองวันละ 2 ครั้ง ในปรมิ าณ 2 เปอรเ์ ซน็ ตข์ องนาํ้ หนักตัว/วัน เก็บตัวอยํางเลือดปลาคาร์ป ทุก 2 สัปดาห์ เพ่ือวิเคราะห์ จํานวนเม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง และอิมมูนูกลอบูลิน เอ็ม (IgM) เมื่อครบ 12 สัปดาห์ ศึกษา ความสามารถในการกาํ จัดเชอื้ แบคทีเรีย Aeromonas hydrophila
22 ผลจากการศึกษาพบวาํ ปลาคารป์ ทไ่ี ดร๎ ับอาหารที่มีสารสกัดหยาบขม้ินชันและฟ้าทะลายโจร ทั้ง 4 ชุดการทดลอง (ชุดการทดลองท่ี 2-4) ระดับความเข๎มข๎นของสารสกัดหยาบขมิ้นชันและฟ้า ทะลายโจรไมํมีอทิ ธิพลรํวม (interaction) ตอํ จาํ นวนเม็ดเลือดขาว เมด็ เลอื ดแดง อมิ มนู กู ลอบูลิน เอ็ม ปริมาณเช้ือแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila ในนํ้าเลือดและคําการเจริญเติบโตอยํางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p>0.05) และเมื่อวิเคราะห์ผล การศึกษาปลาคาร์ปท่ีได๎รับอาหารทั้ง 5 ชุดการทดลอง พบวําจํานวนเม็ดเลือดแดงของปลาคาร์ปไมํมีความแตกตํางกันทางสถิติ (p>0.05) ในขณะที่จํานวน เม็ดเลือดขาวในสัปดาห์ท่ี 2 ของปลาคาร์ปที่ได๎รับอาหารใน ชุดการทดลองที่ 3 และ 4 มีคํามากกวํา ชุดการทดลองที่ 1 อยํางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) คําอิมมูนูกลอบูลิน เอ็ม ในสัปดาห์ท่ี 4 ของ ปลาคาร์ปที่ได๎รับอาหารในชุดการทดลองท่ี 3 มีคํามากกวําชุดการทดลองท่ี 1 อยํางมีนัยสําคัญ ทาง สถิติ (p<0.05) และปริมาณเช้ือแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila ในนํ้าเลือดของปลาคาร์ปท่ี ไดร๎ ับอาหาร ผสมสารสกดั หยาบของขมน้ิ ชันและฟา้ ทะลายโจรในทกุ ระดับมคี ําน๎อยกวําชุดการทดลอง ที่ 1 อยํางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) คําการเจริญเติบโต (น้ําหนักตัวที่เพิ่มข้ึนตํอวัน, อัตราการ แลกเนอ้ื ) ของปลาคาร์ปที่ไดร๎ บั อาหารผสมสารสกัดหยาบขม้ินชันและฟา้ ทะลายโจรต้งั แตํสัปดาห์ท่ี 4- 12 น๎อยกวําชุดการทดลองท่ี 1 อยํางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ดังนั้น สารสกัดหยาบขม้ินชัน 0.5% และสารสกัดหยาบฟ้าทะลายโจร 10% ท่ีผสมในอาหาร เป็นระดับท่ีเหมาะสมในการกระต๎ุน ระบบภูมิคุ๎มกนั ปลาคารป์ ผู๎ชํวยศาสตราจารย์ ดร.จรียา ยิ้มรัตนบวร และผ๎ูชํวยศาสตราจารย์ ดร.สุรินทร บุญอนัน ธนสาร (2556) กลําววํา น้ําเสียที่เกิดจากการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้ามีปริมาณมากและมีความเข๎มข๎นของ สารอนิ ทรียส์ ูง เมื่อ ปลอํ ยลงสแํู หลํงนํา้ สาธารณะ กํอให๎เกิดผลกระทบตํอแหลํงนํ้า การศึกษาคร้ังนี้นํา ระบบพน้ื ทช่ี ํุมน้ํา ประดิษฐ์มาใช๎ในการบําบัดนํ้าเสียจากการเพาะเล้ียงปลาดุกลูกผสม และหมุนเวียน นํ้ากลับไปใช๎ใหมํ เป็นการลดการใช๎ทรัพยากรน้ํา การศึกษาประกอบด๎วยชุดทดลองจํานวน 2 ชุด ได๎แกํ (1) ชุดควบคุม (CAS) ประกอบไปด๎วยบํอเล้ียงปลาดุกลูกผสม โดยใช๎น้ําประปา จํานวน 3 บํอ และ (2) ชุดทดลอง (RAS) ประกอบไปด๎วยบํอเล้ียงปลาดุกลูกผสม 4 บํอ โดยใช๎นํ้าที่ผํานระบบพื้นที่ ชํุมน้ําประดิษฐ์แบบ ผสมระหวําง แบบไหลใต๎ผิว-แบบไหลผํานพื้นผิว (SF-FWS) ทําการเดินระบบ ภายใต๎สภาวะอัตราภาระ รบั นํ้าทางชลศาสตร์ 0.32 ลกู บาศกเ์ มตรตํอตารางเมตรตํอวัน ผลการศึกษา พบวําระบบ SF-FWS มีประสิทธิภาพในการกําจัดสารอินทรีย์ในรูป BOD5 COD TKN และ TP เทํากับ ร๎อยละ 55.29, 69.83, 42.36 และ 48.18 ตามลําดับ คําคุณภาพน้ําท่ีหมุนเวียนออกจาก ระบบพื้นที่ชุํมนํ้าประดิษฐ์ มี คําอยูํในเกณฑ์มาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา ยกเว๎น คําแอมโมเนีย และ TP คําคุณภาพนํ้าในบํอ เล้ียงปลาดุกลูกผสม ท้ังแบบ CAS และ RAS มีคําไมํแตกตํางกัน เมื่อ เปรียบเทียบผลกระทบของคุณภาพนํ้าที่การหมุนเวียนออกจากระบบพ้ืนที่ชุํมน้ําประดิษฐ์ตํอ สมรรถนะการเจริญเติบโตสุขภาพ และองค์ประกอบทางเคมีของเนื้อปลาของปลาดุกลูกผสม (C. macrocephalus x C.gariepinus) ที่ระยะเวลาการทดลอง 5 เดือน แผนการทดลองเป็นแบบสุํม สมบูรณ์ประกอบด๎วย 2 ทรีทเมนต์ คือ ระบบ RAS และ ระบบ CAS ในแตํละทรีทเมนต์ ประกอบดว๎ ยจาํ นวนซ้าํ 3 ซ้าํ ทําการเลย้ี งปลาดุกลูกผสมด๎วยความหนาแนํน 50 ตัวตอํ ตารางเมตร ใน บํอซีเมนต์ขนาด 1.2 x 2.4 ตารางเมตร เมื่อส้ินสุดการทดลองทําการประเมินสมรรถนะการ เจริญเติบโต ได๎แกํ น้ําหนักตัวท่ีเพิ่มขึ้น คําอัตราการ เจริญเติบโตจําเพาะอัตราการเปล่ียนอาหารเป็น
23 เน้ือ และอัตรารอด ของปลาดุกลูกผสม พบวํา คํานํ้าหนักตัวท่ีเพิ่มข้ึน คําอัตราการเจริญเติบโต จําเพาะ และอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเน้ือของปลาดุกท้ังสองกลํุมทดลองไมํแตกตํางกันอยํางมี นัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) นอกจากน้ีอัตราการรอดของทั้ง 2 กลุํมทดลองมีคําใกล๎เคียงกันทําการ วิเคราะห์คําทางโลหิตวิทยาของปลาดุกลูกผสม กํอนเร่ิมการทดลองและทุกๆ เดือนตลอดการทดลอง ไดแ๎ กํ คาํ เมด็ เลือดแดงอัดแนํน ฮีโมโกลบิน และจํานวนเม็ดเลือดแดง พบวํามีคําไมํแตกตํางกันอยํางมี นัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ยกเว๎นคําฮีโมโกลบินท่ี ระยะเวลาการทดลองที่ 4 เดือน คําฮีโมโกลบิน ของปลาดุกลูกผสมท่ีเลี้ยงในระบบ RAS มีคําต่ํากวําคําฮีโมโกลบินของปลาดุกลูกผสมในระบบ CAS อยาํ งมนี ัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) เม่ือส้ินสุดการทดลองได๎ทําการวิเคราะห์คําองค์ประกอบทางเคมี ของรํางกายปลาและคําเคมีโลหิตเพื่อเปรียบเทียบผลกระทบตํอสุขภาพปลา พบวําปลาดุกลูกผสมที่ เล้ียงในระบบ RAS และ ระบบ CAS มีคําองค์ประกอบทางเคมีในเนื้อปลา ได๎แกํ เปอร์เซนต์โปรตีน ไขมัน ไฟเบอร์ เถ๎า และความชื้นใกล๎เคียงกันนอกจากนี้ปลาดุกลูกผสมท่ีเล้ียงในระบบ RAS และ ระบบ CAS คําเคมีโลหิต ได๎แกํ คํากลูโคส คําคลอเลสเตอรอล คําไตรกลีเซอไรด์ คํายูเรียในเลือด คําครีเอตินิน คํากรดยูริค คําอัลบูมินในเลือด คําบิริลูบิน คําเอ็นไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตส ระดับ ฮอร์โมนคอร์ติศอล และคําสารอิเลคโตรไลต์ในเลือด ได๎แกํ แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก และคํา ออสโมลาริตี ไมํแตกตํางกัน แตํทวําปลาดุกลูกผสมที่เล้ียงในระบบ RAS มีคําโปรตีนรวมในเลือด คํา โกลบลู ิน และคําเอ็นไซม์ SGOT และ SGPT สงู กวํา และคาํ สดั สวํ นโปรตีนอัลบูมนิ ตํอโกลบูลิน ต่ํากวํา ปลาทดลองในกลํุม CAS อยํางมีนัยสําคัญ ถึงแม๎วําความแตกตํางของคําเคมีโลหิตเหลํานี้อาจบํงช้ี ความผิดปกติของการทํางานของตับอันเน่ืองมาจากการเล้ียงปลาดุกลูกผสมด๎วยระบบน้ํา RAS ใน ระยะยาว แตํข๎อมูลเหลํานี้ยังไมํเพียงพอท่ีจะสรุปได๎วําระบบ RAS สํงผลกระทบด๎านลบตํอสุขภาพ ปลาดุกลูกผสม เนื่องจากยังขาดข๎อมูลด๎านชํวงคํามาตรฐานของ คําเคมีโลหิตเหลํานี้ของปลาดุก ลูกผสม โดยภาพรวมคาํ พารามเิ ตอร์ทางชีววิทยาตํางในการวิจัยแสดง ให๎เห็นวําปลาดุกลูกผสมที่เล้ียง ในระบบ RAS และ ระบบ CAS มีสขุ ภาพดใี กล๎เคียงกัน ดังน้ัน พื้นที่ชุํม นํ้าประดิษฐ์มีศักยภาพในการ หมุนเวียนน้ํากลับมาใช๎สําหรับการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมได๎ภายใน ระยะเวลา 5 เดือน โดยไมํมี ผลกระทบตํออตั ราผลผลิตและสขุ ภาพของปลาดุกลูกผสม ทัศนีย์ นลวชัย และสุวรรณา หวานจริง (2559) กลําววํา การศึกษาผลของระดับพีเอชและ แอมโมเนยี ตอํ อตั รารอดตายของลูกปลาทบั ทมิ ในห๎องปฏิบตั ิการ นําลูกปลา ขนาด 2 เซนติเมตร ใสํใน โหลทดลองขนาดความจุ 4 ลิตร ทบ่ี รรจนุ ํา้ 2 ลติ ร โหลละ 10 ตัว การทดลองที่ 1 กําหนด พีเอชออก เปน็ 3 ระดับได๎แกํ พีเอช 5, 7, 9 และชุดควบคุม การทดลองที่ 2 กําหนดพีเอชเป็น 3 ระดับ ได๎แกํพี เอช 5, 7, 9 และชุดควบคุม ควบคุมระดับแอมโมเนียรวมในการทดลองท่ี 2 ให๎อยํูท่ี 1.5 มก./ล. ทํา การทดลองชดุ การทดลองละ 5 ซํ้าท้ัง 2 การทดลอง สังเกตพฤติกรรม และอัตรารอดตายของลูกปลา ทบั ทมิ ทเี่ วลา 5, 15, 30, 45, 60 นาที 6, 12, 24, 48 และ 72 ช่วั โมง ผลการศกึ ษาพบวํา การทดลอง ที่ 1 ชุดควบคุมมีอัตรารอดตายของลูกปลาทับทิมท่ีเวลา 72 ชั่วโมง (SVR-72h) สูงสุดเทํากับ 100 ± 0.00 เปอร์เซ็นต์ ไมํแตกตํางอยํางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P>0.05) กับพีเอช 7 ซึ่ง SVR-72h เทํากับ 98 ±4.47 เปอรเ์ ซ็นต์ แตแํ ตกตํางอยํางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) กับพีเอช 5 และ 9 ซ่ึงมี SVR-72h เทํากับ 84±4.90, และ 96±5.48 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ การทดลองท่ี 2 ชุดควบคุมมี SVR-72h สูงสุด เทํากับ 100±0.00 เปอร์เซ็นต์แตกตํางอยํางมีนัยสําคญั ทางสถิติ (P<0.05) กับพีเอช 7, 9 และ 5 ซึ่งมี
24 SVR-72h รองลงมาเทํากับ 30±0.00, 18±4.47,และ 0±0.00 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ การศึกษาครั้งนี้ พบวํา พีเอชมีความสัมพันธ์กับแอมโมเนีย โดยเม่ือมีระดับแอมโมเนียสูง ประกอบกับระดับพีเอชท่ีไมํ เหมาะสมจะสงํ ผลใหป๎ ลามอี ตั รารอดตายต่ํากวาํ พเี อชท่ีไมเํ หมาะสมเพียงอยาํ งเดยี ว นภสร จันทกานนท์ และอาคม เล็กน๎อย (2557) กลาํ ววาํ การทดลองอนุบาลลูกปลากระดี่มุก อายุ 6 วัน ที่ความหนาแนํน 10, 20 และ 30 ตัว/ลิตร ในถังพลาสติกภายใต๎สภาพในโรงเพาะฟักที่ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาประมงนํา้ จดื สมทุ รปราการ ระหวํางเดือน มิถุนายนถึงกรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดย ใหอ๎ าร์ทเี มยี วยั อํอนและไรแดงเปน็ อาหารวนั ละ 3 ม้อื เป็นเวลา 30 วัน ผลปรากฏวําลูกปลามีนํ้าหนัก เฉล่ียเพ่ิมจาก 1.65±0.07 มิลลิกรัมเป็น 209.29±63.41, 183.58±34.38 และ 190.01±13.13 มลิ ลิกรัม ตามลาํ ดบั ความยาวเฉลย่ี เพิ่มขึ้นจาก 0.52±0.03 เซนติเมตร เป็น 2.52±0.22, 2.29±0.12 และ 2.38±0.08 เซนติเมตร ตามลําดับ อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ (Specific growth rate) 16.11±1.11, 15.76±0.63 และ 15.91±0.24 เปอร์เซ็นต์/วัน ตามลําดับ การเจริญเติบโตสัมพัทธ์ (Relative growth) 129.62±39.60, 113.53±21.53 และ 117.59±8.23 เทําของน้ําหนักเร่ิมต๎น ตามลําดับ นํ้าหนักเพ่ิม ตํอวัน (Daily weight gain) 6.92±2.11, 6.06±1.09 และ 6.27±0.38 มิลลิกรัม/วัน ตามลําดับ เปอร์เซ็นต์ น้ําหนักเพิ่ม (Percent weight gain) 12,962±3,959, 11,353±2,153 และ 11,759±823 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ สัมประสิทธิ์ความสมบูรณ์ของปลา (Condition factor; CF) 1.27±0.12, 1.51±0.16 และ 1.41±0.07 ตามลําดับ ดัชนี Normalized biomass (Normalized biomass index; NBI) 0.042±0.009, 0.037±0.003 และ 0.031±0.003 ตามลําดับ ซึ่งไมํแตกตํางกันทางสถิติ (P>0.05) และมีอัตรารอด 26.87±3.75, 13.75±1.53 และ 7.70±0.72 เปอรเ์ ซ็นต์ ตามลาํ ดับ ซง่ึ แตกตํางกันอยํางมีนัยสําคัญทุกระดับ ความหนาแนํน (P<0.05) ตน๎ ทุนการผลิต 3.20, 3.36 และ 4.28 บาท/ตวั ตามลําดับ กําไรสุทธิ 1.64, 1.20 และ 0.47 บาท/ตัว ตามลําดับ เมื่อพิจารณาต๎นทุนและผลตอบแทนแล๎วพบวํา การอนุบาลลูกปลากระด่ีมุก ท่ีความ หนาแนํน 10 ตัว/ลิตร ได๎กําไรสูงสุด biomass index; NBI) 0.042±0.009, 0.037±0.003 และ 0.031±0.003 ตามลําดับซ่ึงไมํแตกตํางกันทางสถิติ (P>0.05) และมีอัตรารอด 26.87±3.75, 13.75±1.53 และ 7.70±0.72 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ ซ่ึงแตกตํางกันอยํางมีนัยสําคัญทุกระดับ ความ หนาแนนํ (P<0.05) ต๎นทุนการผลิต 3.20, 3.36 และ 4.28 บาท/ตัว ตามลําดบั กาํ ไรสุทธิ 1.64, 1.20 และ 0.47 บาท/ตัว ตามลําดับ เม่ือพิจารณาต๎นทุนและผลตอบแทนแล๎วพบวํา การอนุบาลลูกปลา กระดม่ี กุ ท่ีความหนาแนํน 10 ตัว/ลติ ร ได๎กําไรสูงสดุ รองศาสตราจารย์ ดร.นวิ ุฒิ หวังชัย และดร.บัญชา ทองมี (2556) กลําววํา การทดสอบครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือตรวจระดับของกล่ินไมํพึงประสงค์ (Geosmin และ MNB) ในนํ้าดินพ้ืนบํอ และ เนือ้ ปลานลิ ทีเ่ ล้ยี งดว๎ ยระบบผสมผสาน โดยทําการศกึ ษาในบํอดิน อําเภอพานจังหวัดเชียงรายจํานวน 6 บํอ เป็นเวลา 8 เดือนพบวําในตัวอยํางน้ําดินพื้นบํอและเน้ือปลามีปริมาณจีออสมิน เฉลี่ย 11.14 4.23 ไมโครกรัมตํอลิตร 3.12 ±1.17 และ 2.14±1.02 ไมโครกรัมตํอกิโลกรัมตามลําดับ และพบ ปริมาณ เอ็มไอบีเฉลี่ย 23.30±9.07 ไมโครกรัมตํอลิตร 19.2 ±5.15 และ 2.21± 1.90 กรัมตํอ กิโลกรมั ตามลาํ ดับเปน็ ท่ีนาํ สงั เกตวาํ อะไรดบั ของกลนิ่ ไมํพงึ ประสงค์ทพ่ี บในเนอ้ื ปลานิลสูงกวําระดับที่ ยอมรับได๎ (Threshold level) สํวนชนิดของแพลงก์ตอนพืชที่สร๎างกลิ่นไมํพึงประสงค์พบ Oscillatoria spp.เปน็ สปีชีส์เดํน รองลงมาคือ Anabaena spp. และจากการศึกษาผลของการใช๎ปุ๋ย
25 อินทรีย์หมัก (มูลสุกรและมูลไกํ) เพ่ือลดกลิ่นและเพ่ิมคุณคําของผลผลิตในบํอเลี้ยงปลาและทําการ เล้ียงที่มหาวิทยาลัยแมํโจ๎จังหวัดเชียงใหมํ จํานวน 9 บํอ เป็นเวลา 8 เดือน พบวําบํอที่ใสํปุ๋ยมูลสุกร รํวมกับการให๎อาหารตลอดการเลี้ยงมีคําความเข๎มข๎นของจีออสมินและ เอ็มไอบีเฉล่ียสูงกวําบอกคน อ่ืนๆ ท้ังตัวอยํางนํ้าดินและเน้ือปลานิลและในบํอท่ีใสํปุ๋ยมูลไกํรํวมกับการให๎อาหารตลอดการเรียนมี การเจริญเติบโตดีท่ีสุดสํวนชนิดแพลงก์ตอน พืชที่สร๎างกลิ่นไมํพึงประสงค์พบ Anabaena spp. เป็น สปชี ีส์เดํนรองลงมาคอื Oscillatoria spp. พันธท์ พิ ย์ กลํอมเจ๏ก และเดชา นาวานุเคราะห์ (2556) กลําววํา งานวิจัยนี้ศึกษาคุณภาพนํ้า บริเวณพ้ืนท่ีเล้ียงปลากระชังในแหลํงนํ้าไหล เพื่อประเมินถึงปัจจัยที่สํงผลตํอคุณภาพน้ําบริเวณพ้ืนที่ เลีย้ งและพน้ื ที่ทา๎ ยนํ้า โดยเก็บตวั อยํางนาํ้ จากพืน้ ท่ีเล้ยี งปลากระชงั ทั้งขนาดเล็กและใหญํในแมํน้ํานําน สถานีในการเก็บตัวอยํางนํ้าในแตํละพื้นท่ีเล้ียง คือ บริเวณกระชัง บริเวณเหนือนํ้า และท่ีระยะ 20 และ 50 ม. จากท๎ายกระชังเก็บตัวอยํางในฤดูกาลท่ีแตกตํางกัน คือฤดูแล๎ง ระหวํางเดือนมกราคมถึง มีนาคม และฤดูฝน ระหวาํ งเดือน กรกฎาคมถงึ กันยายน 2555 และเก็บตัวอยาํ งในชํวงเวลาที่แตกตําง กันในรอบ 24 ช่ัวโมง ทําการวัดอัตราเร็วของกระแสนํ้า คํา DO, EC, pH, Salinity, TDS และ อุณหภูมินํ้า ขณะเก็บตัวอยําง และวิเคราะห์ คํา BOD5 , TSS, TKN, NO3 N, TP และ TCB ใน ห๎องปฏิบัติการ ผลการศึกษาพบวํา คุณภาพน้ําในแตํละพื้นท่ีเล้ียงโดยสํวนใหญํมีคําอยูํในเกณฑ์ท่ี เหมาะสมตอํ การดาํ รงชีวติ ของสตั วน์ ้าํ และอยูํในเกณฑ์มาตรฐานแหลงํ นา้ํ ผวิ ดินประเภทท่ี 3 พิเชต พลายเพชร (2559) กลําววํา ปลานิลมีราคาจําหนํายไมํสูงเน่ืองจากเป็นปลาท่ีเลี้ยงกัน อยํางแพรํหลาย ดังน้ันการลดต๎นทุนการผลิตโดยเฉพาะคําอาหารเป็นวิธีการหน่ึงที่สามารถเพ่ิม ผลตอบแทนให๎แกํเกษตรกรได๎ การลดตน๎ ทุนคําอาหารอยํางมีประสิทธิภาพน้นั จําเป็นต๎องมีการจัดการ เก่ียวกับสารอาหารและวิธีการให๎อาหารที่เหมาะสม โดยอาหารปลานิลควรมีระดับโปรตีน 25-45 % ไขมัน 5-12 % คาร์โบไฮเดรต 20-50 % ใยอาหาร ≤6 % กรดไขมันกลํุม n-6 และ n-30.5-1.0 % แคลเซียม 0.3 % และฟอสฟอรัส 0.7 % นอกจากสารอาหารแล๎ววิธีการให๎อาหารมีความสําคัญ เชํนเดียวกัน โดยควรให๎อาหารปลานิลวัยรนุํ อยาํ งนอ๎ ย 2 ครงั้ ตอํ วนั และแตลํ ะมอื้ มรี ะยะหํางประมาณ 4-5 ชั่วโมงการลดต๎นทุนวัตถุดิบอาหารของทั้งโรงงานผลิตอาหารและเกษตรกรท่ีผลิตอาหารใช๎เอง อาจทําได๎โดยการแทนที่ปลาป่นด๎วยเนื้อและกระดูกป่น ไกํป่นหรือโปรตีนข๎าวโพด และแทนที่น้ํามัน ปลาทะเลด๎วยน้ํามันชนิดอื่นได๎แตํปริมาณกรดไขมันกลํุม n-6 และ n-3 ในอาหารต๎องไมํตํ่ากวําระดับ ท่ีปลานิลต๎องการ การลดต๎นทุนคําอาหารอาจทําได๎โดยการเพิ่มการใช๎ประโยชน์อาหารเพ่ือเรํงการ เจริญเติบโต เชํน การเสริมอาหารด๎วยวิตามินซี Schizochytrium sp.ยีสต์ Saccharomyces cerevisiae เอนไซม์ยอํ ยอาหารหรอื เบต๎ากลแู คน รวมท้ังการเพ่ิมปรมิ าณแพลงกต์ อนพชื ในระบบเล้ียง สามารถเรํงการเจรญิ เติบโตของปลาและประหยดั คําอาหารได๎ รํุงกานต์ กล๎าหาญ, บัณฑิต ยวงสร๎อย และจิตตรา วีระกุล (2557) กลําววํา การศึกษาการ เจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช๎อาหาร และคุณภาพเนื้อของปลาดุกลูกผสมท่ีได๎รับ อาหารผสม ฟักทองทําการศึกษาในปลาดุกลูกผสมขนาด 6.50 – 7.77 กรัม/ตัว เล้ียงด๎วยอาหารเม็ดจมนํ้าระดับ โปรตีน 30 เปอร์เซ็นต์ พลังงานงานยํอยได๎ 3000Kcal/kg ผสมฟักทองที่ระดับ 0, 5, 10 และ 20 เปอรเ์ ซน็ ต์ เปน็ ระยะเวลา 90 วัน จากการศึกษาพบวาํ ปลาดุกที่ได๎รับอาหารผสมฟักทองที่ระดับ 5 – 20 % มีอัตราการเจริญเติบโตดีที่สุด (P<0.05) แตํปลากลํุมท่ีได๎รับอาหารผสมฟักทองท่ีระดับ 0 และ
26 5% สามารถใช๎ประโยชน์จากอาหารได๎ดีที่สุด (P<0.05) สํงผลให๎เปอร์เซ็นต์เน้ือสํวนกินได๎มีคําสูงกวํา กลมํุ ทดลองอน่ื ดว๎ ย (P<0.05) ราคาอาหารมคี าํ ลดลงเม่อื ระดบั การใชฟ๎ กั ทองเพม่ิ ข้นึ โดยมีคําอยํูในชํวง 18.9 – 21.58 บาท/กก. แตํเมื่อคํานวณต๎นทุนอาหารจากคําการเปล่ียนอาหารเป็นเนื้อ พบวําปลา กลํุมทเ่ี ล้ียงด๎วยอาหารผสมฟักทองทรี่ ะดบั 0 และ 5% มตี น๎ ทนุ อาหารถูกกวํา และให๎กําไรสูงกวํากลํุม อื่น (P<0.05) ดังน้ันระดับของฟักทองที่เหมาะสมสําหรับใช๎ในอาหารปลาดุกลูกผสมควรใช๎ที่ระดับ 5% เพ่ือให๎ปลามีการเจริญเติบโตและมีประสิทธิภาพการใช๎อาหารดีท่ีสุด และไมํมีผลตํอสุขภาพของ ปลา รวมถึงใช๎ต๎นทนุ ต่าํ และให๎ผลกําไรสงู ที่สุด สนธิพันธ์ ผาสุขดี และไพรัตน์ กอสุธารัตน์ (2558) กลําววํา การทดสอบเล้ียงปลานิลแดงใน ระบบน้ําหมุนเวียน ท่ีประกอบด๎วย บํอตกตะกอน บํอ Biofilter บํอ เพ่ิมออกซิเจน และบํอสําหรับ เลี้ยงปลานิลแดงบรรจุน้ํา 18 ลูกบาศก์เมตร มีอัตราสํวนปริมาณนํ้าระหวํางบํอ สํวนบําบัดนํ้ากับบํอ เลี้ยงปลา เทาํ กับ 1.45 : 1 อตั ราการไหลเวยี นของนา้ํ ในบอํ เลย้ี ง ประมาณ 6 รอบตํอ 24 ชั่วโมง โดย มจี ํานวน 2 ชุดทดสอบ คอื ชุดท่ี 1 เล้ียงปลาเปน็ เวลา 135 วนั และชุดที่ 2 เลี้ยงปลาเป็นเวลา 90 วัน ปลํอยปลาจํานวน 800 ตัวตํอบํอ มีนํ้าหนกัปลาเริ่มต๎นเฉล่ีย 79.90±8.73 และ 133.23±10.08 กรัม ตํอตวั ตามลําดับให๎อาหารเม็ดสําเร็จรูป โปรตีนไมํน๎อยกวํา 30 เปอร์เซ็นต์ ประมาณ 2-6 เปอร์เซ็นต์ ของนาํ้ หนกั ตัวตํอวนั ผลการทดสอบการเลี้ยงพบวํา ปลามีอัตรารอดตาย 94.13 และ 97.38 เปอร์เซ็นต์นํ้าหนัก ปลาสุดท๎าย เฉลี่ย 686.38±154.97 และ 526.54±93.10 กรัมตํอตัว ผลผลิตน้ําหนักรวมสุดท๎าย 516.84 และ 410.17 กิโลกรัม อัตราแลกเน้ือ 1.38 และ 1.53 โดยมี Model ความสัมพันธ์ระหวําง น้ําหนักและความยาวมาตรฐาน ปลานิลแดง คือ Y = - 579.332 + 38.746 X และ Y = - 594.692 + 37.391 X ตามลาํ ดับ ทั้ง 2 ชุดการทดสอบ มีแนวโน๎มการเจริญเติบโตของปลานิลแดงในระบบน้ําหมุนเวียนไปใน ทศิ ทางเดียวกนั โดยมแี นวโนม๎ การเจริญเตบิ โตเพิ่มสงู ขนึ้ และอตั ราแลกเน้ือลดลงเม่ือระยะเวลาเล้ียง นานขนึ้ จึงประมาณไดว๎ ําการเล้ยี งปลานิลแดงในระบบน้ําหมุนเวียนดังกลําว มีความเป็นไปได๎ที่จะทํา ให๎ปลานิลแดงมีการเจริญเติบโตได๎เป็นปกติ เมื่อเปรียบเทียบกับการเลี้ยงปลานิลแดงในกระชังท่ี แขวนลอยในแหลํงนา้ํ เปดิ คุณภาพนํ้าในระบบเล้ียงของท้ัง 2 ชุดการทดสอบ มีปริมาณ TAN ระหวําง 0.450 – 2.550 มิลลิกรัม ตํอลิตร ระหวําง 0.014 – 0.225 มิลลิกรัมตํอลิตร และ - ระหวําง 0.032 – 3.802 มลิ ลกิ รัมตํอลิตร ซึ่งสูงกวําคํามาตรฐานของคุณภาพนํ้าทั่วไปที่สัตว์น้ําจะดํารงชีวิตอยูํได๎ดี แตํ ด๎วยคําของ pH ท่ีลดลง อุณหภูมิ น้ํา (Temp) ไมํสูงมาก และ DO มีปริมาณเพียงพอ จึงทําให๎ความ เป็นพิษของ และ - ตํอปลานิลแดง ลดลงนอกจากนี้ปลานิลเป็นปลาท่ีมีความทนทานตํอ การเปลีย่ นแปลงคุณภาพน้าํ และสง่ิ แวดล๎อมได๎ดจี งึ ยังสามารถดํารงชีวิตอยูํได๎โดยคุณภาพนํ้าของท้ัง 2 ชุดการทดสอบ มีแนวโน๎มการเปล่ียนแปลงคล๎ายคลึงกัน และผลการวิเคราะห์ต๎นทุนผลตอบแทน เบอื้ งตน๎ พบวาํ ไมคํ มุ๎ คํากับต๎นทนุ การผลิต ท้งั 2 ชดุ การทดสอบ สมศักด์ิ ระยัน และบุญทิวา ชาติชานิ (2559) กลําววํา ผลของความหนาแนํนตํอการ เจรญิ เตบิ โตและผลตอบแทนการเล้ยี งปลาสงั กะวาดท๎องคมในกระชังที่เล้ียงในแมํนํ้า สงคราม บริเวณ บ๎านปากยาม ตําบลสามผง อําเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม วางแผนการทดลองแบบสํุมตลอด มี
27 3 ชุดการ ทดลองๆ ละ 3 ซ้ํา อัตราความหนาแนํน 3 ระดับ คือ 50 100 และ 200 ตัวตํอลูกบาศก์ เมตร ให๎อาหารเม็ดลอยนํ้าท่ีมี องค์ประกอบโปรตีน 30 เปอร์เซ็นต์ ปลํอยปลาขนาดความยาวเฉล่ีย เริ่มต๎น 11.13+1.39 11.10+1.42 และ 11.41+1.41 เซนติเมตร และน้ําหนักเฉลี่ยเริ่มต๎น 15.21±4.75 15.01±4.79 และ 15.08±4.76 กรัม ตามลําดับ เล้ียงเป็นเวลา 36 สัปดาห์ เม่ือส้ินสุด การทดลอง พบวําปลาสังกะวาดท๎องคมมีน้ําหนักเฉล่ีย 121.71±14.52 124.12±14.62 และ 117.41±15.22 กรัม ตามลําดับ น้ําหนักเฉล่ียสุดท๎ายท่ีความหนาแนํน 100 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร แตกตํางกันทางสถิติกับท่ีความหนาแนํน 200 ตัวตํอ ลูกบาศก์เมตร (p0.05) อัตรา แลกเน้ือที่ระดับ ความหนาแนํน 100 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร มีคําเฉลี่ยตํ่าท่ีสุดเทํากับ 1.94±0.04 แตกตํางกันทางสถิติ กับท่ีระดับความหนาแนํน 200 และ 50 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร (p<0.05) มีผลผลิตเฉล่ียตํอกระชัง เทาํ กับ 46.28 94.34 และ 177.87 กโิ ลกรัมตํอกระชัง จดุ คุม๎ ทนุ ของราคาขายมีคําเฉล่ียเทํากับ 76.26 60.20 และ 60.46 บาทตํอกิโลกรัม ผลตอบแทนการลงทุนมีคําเฉล่ียเทํากับ 38.25 70.54 และ 67.74 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับผลจากการทดลองพบวําที่ความหนาแนํน 100 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร มี การเจริญเติบโตทางด๎านความยาว น้ําหนักและอัตราเปล่ียนอาหารให๎เป็นเน้ือดีที่สุด แตํเม่ือพิจารณา จากกาํ ไรสทุ ธจิ ากการเล้ียงปลาสังกะวาดท๎องคมในกระชังท่ีความหนาแนํน 200 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร มคี วามเหมาะสมท่ีสดุ เนอื่ งจากท๎าให๎ได๎กาํ ไรสุทธิสูงสดุ สุรังษี ทัพพะรังสี, ปวีณา ผิวขํา, สุริยัญ แสงหงษ์, สุภาพร มหันต์กิจ, เรณู วํองสํงสาร และ มาลัย อิ่มศิลป์ (2556) กลาํ ววํา ศึกษาการเล้ียงปลานิลแปลงเพศในกระชังดว๎ ยอัตราความหนาแนํนสูง อัตรา 100, 200 และ 300 ตัว ตํอลูกบาศก์เมตร ในบํอพักน้ําขนาด 4 ไรํ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนา ประมงน้ําจืดเพชรบุรี โดยปลํอยปลานิลความยาว เร่ิมต๎นเฉลี่ย 14.31+0.03, 14.30+0.17 และ 14.35+0.08 เซนตเิ มตร และนํา้ หนักเร่มิ ตน๎ เฉลย่ี 52.30+0.26, 51.80+0.87 และ 51.36+0.19 กรัม ตามลําดับ ลงเลี้ยงในกระชังขนาด 1.0x1.0x1.2 เมตร จํานวน 9 กระชัง ซึ่งมี ระบบน้ําไหลผําน ตลอดเวลาให๎ปลาทดลองกินอาหารสําเร็จรูปชนิดเม็ดลอยนํ้าระดับโปรตีน 28 เปอร์เซ็นต์ จนอิ่ม วัน ละ 2 ครั้ง เวลา 08.30 น.และ 16.30 น. ดําเนินการทดลองระหวํางเดือนมีนาคม ถึงเดือนกันยายน 2554 เปน็ ระยะเวลา 16 สปั ดาห์ ผลการทดลองพบวํา ปลานิลทดลองท่ีเล้ียงท่ีด๎วยอัตราความหนาแนํน 100, 200 และ 300 ตัว ตํอลูกบาศก์เมตร มีความยาวสุดท๎ายเฉลี่ยเทํากับ 29.90+0.45, 29.38+1.18 และ 27.20+0.95 เซนติเมตร นํ้าหนักสุดท๎ายเฉล่ียเทํากับ 626.36+26.27, 538.38+29.00 และ 437.87+54.20 กรัม น้ําหนักเพ่ิมตํอวัน เฉล่ียเทํากับ 6.22+1.44, 5.88+0.39 และ 4.65+0.65 กรัมตํอวัน อัตราการ เจริญเติบโตจําเพาะเฉลี่ยเทํากับ 2.95+0.04, 2.79+0.08 และ 2.54+0.15 เปอร์เซ็นต์ตํอวัน อัตรา แลกเนื้อเฉลี่ยเทํากับ 1.50+0.05, 1.73+0.07 และ 1.86+0.10 และอัตรารอดเฉล่ียเทํากับ 91.33+1.52, 80.33+3.88 และ 78.55+4.07 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ เม่ือวิเคราะห์ผลทางสถิติพบวํา ปลานิลทั้ง 3 ชุดการทดลอง มีน้ําหนักสุดท๎ายเฉล่ียแตกตํางกันอยํางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p<0.05) โดยพบวําปลานิลที่เล้ียงด๎วยอัตราความหนาแนํน 100 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร มีนํ้าหนัก สุดท๎ายเฉลี่ย สูงสุด รองลงมาได๎แกํ ปลานิลที่เล้ียงด๎วยอัตราความหนาแนํน 200 และ 300 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร ตามลําดบั สวํ นความยาวสดุ ทา๎ ยเฉล่ีย และอัตราการเจริญเติบโตจําเพาะเฉลี่ยของปลานิลท่ีเล้ียงด๎วย อัตรา ความหนาแนนํ 100 และ 200 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร พบวําไมแํ ตกตํางกันทางสถิติ (p>0.05) แตํ
28 มีคํามากกวํา และแตกตํางกันอยํางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) กับปลานิลที่เลี้ยงด๎วยอัตราความ หนาแนํน 300 ตัวตอํ ลกู บาศกเ์ มตร ขณะที่น้ําหนักเพิ่มตํอวันเฉล่ียของทั้ง 3 ชุดการทดลอง พบวําไมํ แตกตาํ งกนั ทางสถติ ิ (p>0.05) สาํ หรบั อัตราแลกเนอ้ื เฉลีย่ ของปลานิลที่เลี้ยงด๎วยอัตราความหนาแนํน 200 และ 300 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร พบวําไมํแตกตํางกันทางสถิติ (p>0.05) แตํแตกตํางอยํางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) กับปลานิลที่เลี้ยงด๎วย อัตราความหนาแนํน 100 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร ดา๎ นอัตรารอดเฉลี่ยของปลานิลท่เี ลย้ี งด๎วยอตั ราความหนาแนนํ 100 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร มีคําสูงท่ีสุด และแตกตํางอยํางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) กับปลานิลท่ีเล้ียงด๎วย อัตราความหนาแนํน 200 และ 300 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร สําหรับปริมาณผลผลิตเฉล่ียปลานิลที่เล้ียงทั้ง 3 อัตราความหนาแนํน พบวํามีคําเทํากับ 57.09, 87.49 และ 104.70 กิโลกรัมตํอกระชัง ตามลําดับ ผลการวิเคราะห์เชิง เศรษฐศาสตร์ พบวําต๎นทุนการผลิตของแตํละชุดการทดลองเทํากับ 3,166.80, 4,731.74 และ 5,754.52 บาทตอํ กระชัง มจี ดุ ค๎ุมทนุ ของราคาขายเทาํ กับ 55.47, 54.08 และ 54.96 บาทตํอกิโลกรัม และ ผลตอบแทนตํอการลงทุนเทํากับ 35.63, 38.95 และ 20.55 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ จากผลการ ทดลองครัง้ นี้ เมื่อพิจารณาการเจริญเติบโต ประกอบกับต๎นทุนและผลตอบแทนจากการเลี้ยง สรุปได๎ วําปลานิลแปลงเพศท่ีเล้ียงในกระชังด๎วยอัตราความหนาแนํน 200 ตัวตํอลูกบาศก์เมตร มีความ เหมาะสมทส่ี ุด เนอ่ื งจากมอี ัตราการเจริญเติบโตทดี่ ี และให๎ผลตอบแทนสูงสดุ อานุภาพ วรรณคนาพล (2557) กลําววํา ได๎ทําการค๎นหาแหลํงคาร์บอนที่เหมาะสมในการ ผลิต Biofloc ในบํอเล้ียงปลานิล(Oreochromis niloticus, L.) และปลาดุกบิ๊กอุย (Clarias gariepinus x Clarias macrocephalus เพ่ือนําไปเสริมกับกากน้ําตาลท่ีประกอบด๎วยรําละเอียด ขนมปังป่นและข๎าวโพดป่นและเปรียบเทียบแหลํงคาร์บอนเสริมท่ีเหมาะสมในการสร๎างไบโอฟล็อค วางแผนการทดลองแบบ CRD โดยปลํอยปลานิลท่ีความหนาแนํน 30 ตัวตํอตารางเมตรและทําการ เลี้ยง 6 เดือน สํวนปลาดุกบิ๊กอุยปลํอยท่ีความหนาแนํน 50 ตัวตํอตารางเมตรและทําการเลี้ยง 4 เดอื น วิเคราะห์ความแปรปรวนโดยใช๎โปรแกรม SPSS for window ผลการศึกษาพบวาํ การเติมแหลํง คาร์บอนเสริมกับกากนํ้าตาลท้ังราละเอียดขนมปังป่นและข๎าวโพดป่น ไมํมีผลตํออัตราการรอดการ เจริญเติบโต อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตํอวัน อัตราการแลกเน้ือและอัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ ของปลานลิ และปลาดกุ บิก๊ อุย แตจํ ะมผี ลตํอตะกอนแขวนลอยรวม (TSS) หรือไบโอฟล็อคของบํอปลา ดุกบ๊ิกอุยมากกวําบํอเล้ียงปลานิลดังน้ันแม๎จะเพิ่มแหลํงคาร์บอนอื่นๆ นอกจากกากนํ้าตาลไมํมีผลให๎ การเจรญิ เตบิ โตของปลานิลและปลาดกุ บ๊ิกอยุ แตกตาํ งกัน Ashutosh Agarwal (2011) กลําววําในชํวงไมํก่ีปีที่ผํานมาเทคโนโลยี microbubble และ nanobubble ได๎รับความสนใจเป็นอยํางมากเน่ืองจากมีการประยุกต์ใช๎กันอยํางแพรํหลายในหลาย ด๎านของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชํนการบําบัดนํ้าวิศวกรรมชีวการแพทย์และวัสดุนาโน ใน บทความน้เี ราจะพูดถึงฟิสกิ สว์ ธิ กี ารสรา๎ ง microbubbles (MBs) และ nanobubbles (NBs) ในขณะ ท่กี ารผลติ อนุมลู อิสระจาก MNs และ MNs จะได๎รับการทบทวนโดยเน๎นการยํอยสลายสารพิษการฆํา เชื้อโรคและการทําความสะอาด / ของพื้นผิวที่เป็นของแข็งรวมทั้งเมมเบรน เน่ืองจากความสามารถ ในการผลิตอนุมูลอิสระจึงสามารถคาดหวังได๎วําอนาคตที่เป็นประโยชน์ของ MBs และ NB จะเป็น เรื่องใหญํและยงั มีมากข้ึนทจี่ ะไดร๎ บั การสํารวจ
29 Kosuke Ebina (2013) Nanobubbles (เส๎นผําศูนย์กลาง <200 นาโนเมตร) มีคุณสมบัติ พิเศษหลายอยํางเชํนอายุการใช๎งานท่ียาวนานในของเหลวเน่ืองจากพื้นผิวที่มีประจุลบและ ความสามารถในการละลายของก๏าซสูงในของเหลวเน่ืองจากความดันภายในสูง พวกเขาใช๎ใน หลากหลายสาขารวมท้ังเคร่ืองมือชํวยในการวินิจฉัยและการจัดสํงยาเสพติดในขณะที่ไมํมีรายงาน ประเมินผลกระทบตํอการเติบโตของชีวิต Nanobubbles ของอากาศหรือก๏าซออกซิเจนถูกสร๎างข้ึน โดยใช๎เครื่องฟอกอากาศแบบนาโนบอด้ี (BUVITAS, Ligaric Company Limited, Osaka, Japan) Brassica campestris ได๎รับการเพาะปลูก hydroponically เป็นเวลา 4 สัปดาห์ภายในอากาศ - unobubble นํ้าหรือภายในน้ําปกติ ปลา Sweetfish (เป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์) และปลาเทราท์ สายรุ๎ง (เปน็ เวลา 6 สัปดาห์) เก็บไว๎ในนํ้าท่ีมีอากาศบริสุทธ์ิหรือภายในนํ้าปกติ ในท่ีสุดหนู DBA1 / J ตัวเมยี อายุ 5 สปั ดาหไ์ ด๎รับการเลยี้ งดดู ๎วยน้ําอสิ ระฟรีและดม่ื ฟรีทงั้ ในนํ้าทีม่ ีออกซเิ จนหรือน้ําเป็นเวลา 12 สปั ดาห์ ออกซิเจน - นาโนบีบเพิ่มความเข๎มข๎นของออกซิเจนท่ีละลายนํ้าได๎อยํางมีนัยสําคัญยิ่งข้ึน รวมทั้งความเขม๎ ข๎น / ขนาดของ nanobubbles ซง่ึ มคี วามเสถยี รอยํูเปน็ เวลา 70 วัน (19.1 เทียบกับ 16.7 ซม., P, 0.05), ความยาวของใบ (24.4 เทียบกับ 22.4 ซม., P, 0.01) และนํ้าหนักสดทางอากาศ (27.3 เทยี บกบั 20.3 กรมั ; P, 0.01) ของ Brassica campestris เปรยี บเทียบกบั นาํ้ ปกติ นํ้าหนักรวม ของ sweetfish เพิ่มขึ้นจาก 3.0 เป็น 6.4 กก. ในนํ้าธรรมดาในขณะท่ีเพ่ิมข้ึนจาก 3.0 เป็น 10.2 กิโลกรัมในน้ําที่มีอากาศบริสุทธ์ิ นอกจากนี้นํ้าหนักรวมของปลาเทราท์สายร๎ุงเพิ่มข้ึนจาก 50.0 เป็น 129.5 กิโลกรัมในน้ําธรรมดาในขณะท่ีนํ้าในอากาศและน้ําท่ีเพ่ิมขึ้นจาก 50.0 เป็น 148.0 กิโลกรัม ปรมิ าณของนํ้าท่ีให๎ออกซิเจนและนาโนบอดคลายเพ่ิมขึ้นอยํางมีนัยสําคัญ (23.5 เทียบกับ 21.8 กรัม; P, 0.01) และความยาวของหนู (17.0 เทียบกับ 16.1 ซม., P, 0.001) เทียบกับนํ้าปกติ เราได๎แสดงให๎ เห็นเป็นครั้งแรกวํานํ้าจากออกซิเจนและน้ํานาโนบัดอาจเป็นเคร่ืองมือท่ีมีประสิทธิภาพสําหรับการ เติบโตของชวี ติ Tatek Temesgen (2017) กลําววําการศึกษาเกี่ยวกับพื้นท่ีของ microbubbles และ nanobubble โดยเน๎นเป็นพิเศษในการบําบัดนํ้า คําจํากัดความพ้ืนฐานของประเภทของฟองและ เทคนิคการวัดและการวิเคราะห์ขนาดของเทคโนโลยีไมโครเบลดและนาโนบัดได๎สรุปไว๎ การใช๎งาน เทคโนโลยีท่ีสําคัญเหลําน้ีในกระบวนการบําบัดน้ําจะได๎รับการทบทวนและพูดถึงอยํางละเอียด จาก ผลการศึกษาพบวําพื้นท่ีที่มีศักยภาพในการวิจัยและการประยุกต์ใช๎ชํองวํางของฟองอากาศใน เทคโนโลยีการบําบัดน้ําและการบําบัดนํ้าเสียมีการระบุเพื่อศึกษาเพิ่มเติม บทความนี้ได๎จัดทําข้ึนใน รูปแบบท่ีจะให๎ความคุ๎นเคยกับประเด็นเรื่องนี้โดยมุํงเน๎นการประยุกต์ใช๎ไมโครเบลอบ์และ nanobubbles ในเทคโนโลยีการบาํ บดั นํา้
บทท่ี 3 ขั้นการดาเนินงาน การวิจัยนี้เป็นการศึกษาและเปรียบเทียบการเล้ียงปลานิลในบ่อพลาสติกโดยใช้เครื่องไมโคร นาโนบบั เบล้ิ และปัม๊ ออกซิเจน โดยมีรายละเอยี ดข้ันตอนและวิธีการดาเนินงานวจิ ัย ดังตอ่ ไปนี้ 3.1 เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ในการทดลอง 3.1.1 เตรยี มบ่อทดลอง การทดลองที่ 1 บอ่ พลาสตกิ สองบ่อ ความกว้างของบ่อพลาสติก มี รัศมี 2 เมตร สูง 1 เมตร และถงั เก็บน้าขนาด 1000 ลิตร ดังแสดง ในรูปท่ี 3.1 รปู ที่ 3.1 บอ่ เลย้ี งการทดลองท่ี 1 การทดลองที่ 2 บอ่ พลาสติกสองบอ่ ความกวา้ งของบอ่ พลาสติก มี รศั มี 2 เมตร สงู 1 เมตร และถังเก็บน้าขนาด 1000 ลิตร และถังสาหรับระบบบาบดั น้าเสีย จานวน 3 ถงั ขนาด 300 ลติ ร ดงั แสดงในรปู ที่ 3.2
31 รูปท่ี 3.2 บอ่ เลี้ยงการทดลองท่ี 2 3.1.2 เตรยี มปลาทดลอง การทดลองท่ี 1 นาปลานิล จากน้าหนึ่งฟาร์ม อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย จานวน 200 ตัว น้าหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 34 กรัม/ตัว แบ่งเป็นบ่อระบบป๊ัมออกซิเจน 100 ตัว และ ระบบไมโครนาโนบบ้ั เบล้ิ 100 ตวั ความหนาแน่น 32 ตวั /บอ่ การทดลองท่ี 2 นาปลาจากการทดลองท่ี 1 โดยแบ่งเป็น ระบบปั๊มออกซิเจน 50 ตัว และระบบไมโครนาโนบับเบ้ิล 50 ตัว น้าหนักเฉลี่ยเร่ิมต้น 55 กรัม/ตัว ความ หนาแนน่ 16 ตัว/บ่อ 3.1.3 เคร่อื งไมโครนาโนบบั เบ้ลิ เคร่ืองไมโครนาโนบับเบิ้ลผลติ ฟองอากาศ 20 ลติ ร/นาที รปู ท่ี 3.3 เคร่ืองไมโครนาโนบบั เบิล้ ขนาด 20 ลติ ร
32 3.1.4 ปม๊ั ออกซเิ จน เคร่ือง Electromagnetic Air Pump ยหี่ ้อ RESON ร่นุ AP-30 ดงั แสดง รูปที่ 3.4 รูปที่ 3.4 เครอื่ ง Electromagnetic Air Pump ยหี่ ้อ RESON รุ่น AP-30 3.1.5 เคร่ืองชงั่ เคร่อื งชง่ั OHAUS พิกัด 2000 g. ดังแสดงในรูปท่ี 3.4 รูปที่ 3.5 เครอื่ งช่งั OHAUS พกิ ดั 2000 g.
33 3.1.6 เคร่ืองวดั ปริมาณออกซเิ จนทล่ี ะลายในนา้ (DO) ย่ีห้อ HORIBA รุ่น OM-71 เป็นเคร่ืองวัดค่าออกซิเจนที่ละลายในน้า (DO) และอุณหภูมิของ น้า ดงั แสดง รปู ท่ี3.7 รูปท่ี 3.6 เครอื่ งวดั คา่ ออกซิเจนที่ละลายในนา้ (DO) ย่หี ้อ HORIBA รนุ่ OM-71 3.1.7 เคร่อื งวดั คณุ ภาพนา้ ย่ีห้อ HORIBA รุ่น U-5000G เป็นเครื่องวัดคุณภาพน้าที่ใช้ในวัดค่าความขุ่น (turbidity) ดัง แสดง รปู ที่ 3.6 รปู ท่ี 3.7 เครอ่ื งวัดคุณภาพน้า ยี่ห้อ HORIBA รุ่น U-5000G
34 3.2 วิธีการดาเนนิ งาน ในการวิจัยเพ่ือศึกษาและเปรียบเทียบการเลี้ยงปลานิลในบ่อพลาสติกโดยใช้ระบบไมโครนา โนบับเบิล้ และระบบปม๊ั ออกซเิ จนนัน้ มีขั้นตอน การดาเนนิ งานวจิ ยั อยู่ 6 ข้นั ตอน ดังแสดง ในรูปท่ี 3.7 ศกึ ษาปัญหา ลงพืน้ ที่ และเก็บข้อมลู การเลี้ยงปลานลิ ใน อ.พาน วิเคราะหส์ าเหตขุ องปญั หา ออกแบบระบบการทดลองเล้ียงและเกบ็ ผลการทดลอง วิเคราะหผ์ ลการทดลอง สรปุ ผลการวจิ ัย รปู ที่ 3.8 ข้นั ตอนการดาเนินงานวิจัย
35 3.2.1 ศกึ ษาปัญหา ข้ันตอนการวิจัยเริ่มจากการศึกษาข้อมูลการเล้ียงปลานิลและสภาพการเล้ียงจริงของ เกษตรกร กรณีศึกษา เพื่อหาขั้นตอนท่ีมีปัญหาและสร้างความสูญเสียให้เกษตรกรมากท่ีสุด โดยได้มี การปรกึ ษาหารือกบั ผเู้ กีย่ วขอ้ ง ประกอบไปด้วย อาจารย์ที่ปรึกษา,เกษตรกร,อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน ประมงและการเพาะเลี้ยง เพือ่ หาขอ้ มลู การเลี้ยงปลานิล จากน้ันได้ทาการค้นคว้าเอกสารทางวิชาการ และงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง โดยกระบวนการเล้ียงปลานิลจะมีข้ันตอนเล้ียงหลักอยู่ 6 ขั้นตอนด้วยกัน ดัง แสดง ในรูปที่ 3.9 เตรยี มลูกปลานิล เรมิ่ ปล่อยลูกปลาลงบ่อ เล้ียงลกู ปลา แบ่งปลาออกจากบอ่ เล้ยี งปลาโต จบั ปลาขาย รูปท่ี 3.9 ข้ันตอนการเล้ยี งปลานลิ โดยข้ันตอนการเลี้ยงปลานิลจะเร่ิมต้ังแต่การเตรียมลูกปลานิลหรืออนุบาลจนลูกปลานิลเร่ิม แข็งแรง จากน้ันนาลูกปลาไปปล่อยลงในบ่อที่เตรียมไว้ โดยในขั้นตอนนี้เกษตรกรจะปล่อยลูกปลา จานวนมากกว่าความต้องการที่จะเล้ียงจริง เมื่อปลาเร่ิมโต จะแบ่งปลาออกไปตามความต้องการของ เกษตรกรทจี่ ะเลีย้ งจรงิ จนจับขาย 3.2.2 ลงพน้ื ทเ่ี ก็บขอ้ มูลการเล้ียงปลานิล ใน อาเภอพาน จังหวดั เชียงราย การเก็บขอ้ มุลการเลีย้ งปลานิลของเกษตรกรในอาเภอพาน ได้เข้าไปศึกษาวธิ กี ารเลีย้ งปลานิล การใหอ้ าหารปลานิล รวมท้งั การวิเคราะห์คุณภาพนา้ ของเกษตร โดยไดเ้ ขา้ ไปสถานประกอบการ นา้ หนึง่ ฟาร์ม อาเภอพาน จงั หวัดเชยี งราย ดงั แสดงในรปู ที่ 3.9 รปู ท่ี 3.10 เข้าศึกษาการเลย้ี งปลานิลจาก น้าหน่ึงฟารม์ อ.พาน จ.เชยี งราย
36 3.2.3 วเิ คราะห์สาเหตขุ องปัญหา ข้อมลู จากการสารวจปญั หาของเกษตรกร ที่เลี้ยงปลานิลในอาเภอพาน ได้นาปัญหา มาวิเคราะห์สาเหตขุ องปญั หาดว้ ยแผนภมู เิ หตแุ ละผล ดังแสดง ในรูปที่ 3.10 รูปท่ี 3.11 การวิเคราะหส์ าเหตุของปัญหาการเล้ียงปลานลิ ดว้ ยแผนภูมเิ หตแุ ละผล 3.2.4 ออกแบบระบบการทดลองเล้ียง การทดลองเลย้ี งปลานลิ ในบอ่ พลาสตกิ โดยนาเคร่อื งไมโครนาโนบับเบ้ิลมาทดลองใช้เลี้ยงปลา นิลเพื่อเปรียบเทียบการเลี้ยงแบบใช้ระบบปั๊มออกซิเจน มีการออกแบบระบบการเลี้ยงใน ห้องปฏบิ ัติการ เพอื่ ให้สภาพแวดล้อมของทั้งสองบ่อใกล้เคียงกันมากท่ีสุดโดยให้ทั้งสองอยู่ใกล้กันห่าง กนั 1 เมตร เพือ่ ใหส้ ภาพแวดล้อมใกลเ้ คยี งกัน (homogeneous) การทดลองท่ี 1 ระบบไมโครนาโนบับเบ้ิล ออกแบบให้ผลิตฟองอากาศขนาดไมโคร นาโนบับเบ้ิลโดยการฉีดโดยตรงในบ่อ และเปิดใช้งาน 8 คร้ัง/วัน ครั้งละ 30 นาที หรือ 4 ชว่ั โมงต่อวัน และระบบป๊ัมออกซิเจนเปิดใช้งานตลอด 24 ชั่วโมงดังแสดงใน รปู ท่ี 3.11
37 ปั๊มออกซิเจน MNB รปู ท่ี 3.12 การออกแบบระบบการทดลองที่ 1 การทดลองท่ี 2 ระบบไมโครนาโนบับเบ้ิล ออกแบบให้ผลิตฟองอากาศขนาดไมโคร นาโนบับเบ้ิลในถังบาบัดน้า โดยมีระบบบาบัดน้าเสียจานวน 3 และมีฟองไมโครนา โนบับเบ้ิล เปิดใช้งาน 6 คร้ัง/วัน คร้ังละ 1 ชัวโมง หรือ 6 ชั่วโมงต่อวัน และระบบ ป๊ัมออกซิเจนเปดิ ใชง้ านตลอด 24 ชั่วโมงดังแสดงในรปู ท่ี 3.12 ป๊ัมออกซิเจน MNB รปู ที่ 3.13 การออกแบบระบบการทดลองท่ี 2
38 การทางานของระบบบาบัดนา้ เสยี ระบบบาบัดน้าเสียของระบบไมโครนาโนบับเบ้ิลในการทดลองที่ 2 เป็นระบบ 3 ถัง โดยในถังท่ี 1 คือถังทด่ี ดู นา้ มาจากบ่อปลาและผลิตฟองอากาศขนาดไมโครนาโนบับเบ้ิลทาให้ ข้ีปลาลอยอยู่ผิวน้า จากน้ันน้าก้นถังท่ีมีฟองอากาศไมโครนาโนบับเบ้ิลที่มีอยู่มากจะถูกส่ง ต่อไปยังถังท่ี 2 เพ่ือพักน้า และส่งต่อไปยังถังท่ี 3 จะได้น้าใสและมีฟองอากาศไมโครนา โนบบั เบ้ลิ สูบ่ อ่ ปลา ดงั แสดงในรูปท่ี 3.13 ถงั 1 ถัง 2 ถงั 3 รูปที่ 3.14 การส่งนา้ ของระบบบาบดั นา้ เสยี รปู ที่ 3.15 ลักษณะของนา้ ท่รี ะบบบาบดั น้าเสยี
39 การเกบ็ ผลการทดลอง การทดลองท่ี 1 สุ่มตัวอย่างปลาทุก 7 วันในอัตราร้อยละ 30 ของจานวนปลาแต่ล ท้ังสองบ่อ ขึ้นมาช่ังน้าหนักเพ่ือศึกษาการเจริญเติบโตของปลาของทั้งสองระบบ บันทกึ การตายของปลาระหว่างทดลองทุกวัน เม่ือสิ้นสุดการทดลองสุ่มชั่งน้าหนักใน อัตราร้อยละ 30 ท้ังสองบ่อและตรวจนับจานวนปลาที่เหลือทั้งหมดทั้งสองบ่อเพื่อ หาอัตราการรอดตาย บันทึกมิเตอร์ไฟฟ้าทุก 7 วันของท้ังสองระบบ เพื่อหาอัตรา การใช้พลงั งานไฟฟ้า และวดั คุณภาพนา้ ทุกวัน เวลา 8 โมงเชา้ การทดลองที่ 2 ชั่งน้าหนักปลาทุก 7 วัน ทุกตัว ท้ังสองบ่อ ขึ้นมาชั่งน้าหนัก เพ่ือ ศึกษาการเจริญเติบโตของปลาของทั้งสองระบบ บันทึกการตายของปลาระหว่าง ทดลองทุกวัน เม่ือสิ้นสุดการทดลองช่ังน้าหนักปลาทุกตัว ท้ังสองบ่อและตรวจนับ จานวนปลาที่เหลือทั้งหมดท้ังสองบ่อเพ่ือหาอัตราการรอดตาย และบันทึกมิเตอร์ ไฟฟ้าทุก 7 วันของทั้งสองระบบ เพื่อหาอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าและวัดคุณภาพ นา้ ทุกวนั เวลา 8 โมงเช้า การตรวจวัดคุณภาพน้า ตรวจวัดคุณภาพน้าในบ่อการทดลอง ทุกวัน เวลา 08.00 น. ตลอดการทดลอง โดย มดี ชั นีทตี่ รวจวัดดังนี้ - ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้า(Dissolved Oxygen) (มิลลิกรัม/ลิตร) โดยใช้ เคร่ืองวัดคา่ ออกซเิ จนที่ละลายในนา้ (DO) ย่ีห้อ HORIBA รนุ่ OM-71 - ความขุ่น (turbidity) เครอื่ งวดั คณุ ภาพน้า - ยี่หอ้ HORIBA ร่นุ U-5000G เปน็ เคร่ืองวดั คุณภาพน้าท่ีใช้ในวัดคา่ ความข่นุ 3.2.5 การวเิ คราะห์ผลการทดลอง ประเมินผลการเจรญิ เติบโต อัตราการรอดตาย โดยวธิ ีวเิ คราะห์ความแปรปรวนแบบ t-Test analysis of variance ท่ีระดับความเชื่อม่ัน 95 % ในการทดลองที่ 1 และความ เช่ือมัน่ ที่ 99% ในการทดลองท่ี 2 โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเรจ็ รูป ดังตอ่ ไปน้ี 3.2.5.1 นา้ หนกั เพม่ิ เฉลี่ยตอ่ วัน (daily weight gain); กรัม นา้ หนกั ปลาท่สี ุ่มได้ (กรมั ) น้าหนักปลาที่สมุ่ ไดค้ รัง้ กอ่ น กรมั ระยะหา่ งของวนั ส่มุ วดั 3.2.5.2 อัตราการรอดตาย (Survival rate); เปอรเ์ ซน็ ต์ อตั รารอด จานวนปลาทีเ่ หลอื × จานวนปลาท่ปี ลอ่ ย
40 3.2.5.3 อัตราการใชพ้ ลังงานไฟฟ้า อตั ราการใชพ้ ลงั งาน การใช้พลงั งานล่าสุด การใชพ้ ลงั งานลา่ สุด ระยะหา่ งของวัน 3.2.3 สรปุ ผลการทดลอง ประเมินความเปน็ ไปไดข้ องไมโครนาโนบับเบลิ้ ในการใชท้ ดแทนปมั๊ ออกซเิ จนไดใ้ นอนาคต และมปี ระสทิ ธิภาพในการเลีย้ งปลานิลทส่ี ูงยง่ิ ขึน้
Search