Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Thesis_2018

Thesis_2018

Published by Karuna Jainontee, 2019-10-09 19:47:05

Description: DEVELOPMENT OF WASTE WATER MANAGEMENT SYSTEM FOR TILAPIA NURSERY POND BY USING MICRO/NANO BUBBLES GENERATOR

Keywords: Drum Filter, Tilapia Nursery, Fine Bubble Generator, Average Daily Growth Rate (ADG), Survival Rate, Dissolved Oxygen (DO)

Search

Read the Text Version

36 รปู ท่ี 3.20 เครื่องวดั Horiba Multi-parameter Water Quality Meters จากรูปท่ี 3.20 เคร่ืองวัดท่ีน้ามาใช้วิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบการเล้ียงปลานิล ประกอบด้วย ค่าออกซิเจนละลายในน้า (DO), ความขุ่น (TURB), ค่าของแข็งท่ีอยู่ในน้า (TDS), การน้าไฟฟ้าในน้า (COND), ค่าคณุ ภาพน้าตลอดระยะการทดลองจะถูกน้ามาสรา้ งกราฟความสัมพันธ์ ระหว่างตวั แปรดังกล่าวขา้ งต้นของทัง้ สองระบบเทียบกับเวลา เพือ่ แสดงสภาวะท่เี กิดขึ้นในบ่อเลยี้ ง 3.4.3 การวดั การเจริญเติบโตของปลานลิ การเจริญเติบโตของปลาจะค้านวณจากน้าหนักปลาท่ีเพิ่มข้ึนภายในช่วงระยะเวลาที่เล้ียง โดยใชส้ มการที่ 2.2 ช่ังน้าหนกั ด้วยเครอ่ื งชง่ั OHAUS พิกดั 2000 กรมั รปู ท่ี 3.21 การชงั่ น้าหนักของปลานลิ จากรูปท่ี 3.21 การสมุ่ ปลาเพื่อการช่งั น้าหนักจะอยู่ในช่วงเดียวกับการเปลย่ี นถา่ ยน้า ปลานลิ ทใ่ี ช้สา้ หรับช่ังน้าหนักมจี า้ นวน 30 ตัว/บ่อ ทกุ 2 สปั ดาห์/คร้ัง

บทที่ 4 ผลและอภิปราย เนื้อหาในบทน้ีจะกล่าวถึงผลการทดลองเกี่ยวกับการออกแบบและทดสอบประสิทธิภาพ ระบบดรัมฟิลเตอร์ในการกรองข้ีปลาในบ่อเลี้ยงท่ีใช้ไฟน์บับเบ้ิลเป็นเครื่องเติมอากาศ การทดลองใช้ ระบบดรัมฟิลเตอร์ในการเลี้ยงปลานิลในบ่อเลี้ยงท่ีใช้ระบบไฟน์บับเบ้ิลโดยมีการตั้งเวลาให้สามารถ ทางานอัตโนมตั ิ 4.1 ผลการออกแบบและสร้างระบบดรัมฟิลเตอร์ สาหรับกาจดั ขีป้ ลา การเลี้ยงปลานิลในระบบไฟน์บับเบิ้ลร่วมกับการบาบัดแบบ 3 ถัง ส่วนของถังที่ 1 จะทา การติดตั้งระบบดรัมฟิลเตอร์ โดยส่วนประกอบท่ีสาคัญ ได้แก่ มอเตอร์กระแสตรง โรเตอร์สกรีน หัวฉีดล้างแรงดัน ป๊ัมน้าสาหรับฉีดล้าง รางลาเลียงขี้ปลา และถังเก็บขี้ปลา ส่วนระบบควบคุม ประกอบด้วยโมดลู ควบคมุ ความเร็วมอเตอรแ์ ละทางานด้วยเครอื่ งตง้ั เวลาอัตโนมัติ 23 5 1 4 ดา้ นหนา้ 6 ดา้ นหลงั รูปที่ 4.1 ระบบดรมั ฟลิ เตอร์ ที่ติดต้ัง ณ ถังบาบัดน้าของบ่อทดลองท่ใี ช้ไฟน์บับเบิ้ล จากรูปท่ี 4.1 ระบบดรัมฟิลเตอร์มีการใช้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 24 โวลต์ 350 วัตต์ (หมายเลข 1) โดยมีมู่เล่เป็นกาลังขับ ขนาดของมู่เล่ขับขนาด 2 น้ิว มู่เล่ตามขนาด 8 น้ิว ในการหมุน โรเตอร์สกรีนซ่ึงคลุมด้วยผ้ากรองขนาด 1 เซนติเมตร (หมายเลข 2) และใช้ป๊ัมน้าขนาด 0.5 แรง (หมายเลข 4) ดูดน้าจากถังเก็บขี้ปลา (หมายเลข 6) ที่ผ่านการกรองแล้ว ผ่านท่อขนาด 1 นิ้ว ไปยัง หัวฉีดแรงดัน (หมายเลข 3) เพ่ือฉีดชาระล้างตัวโรเตอร์สกรีนท่ีหมุนกรองข้ีปลา ให้ขี้ปลาตกลงสู่ รางลาเลียงขี้ปลา (หมายเลข 5) และไหลไปยงั ถงั เก็บข้ีปลา ความเร็วของมอเตอร์จะควบคมุ ด้วยโมดูล

38 PWM Speed Controller ท่ี 24% และลดความเร็วลงดว้ ยมู่เล่ จากการคานวณหาความเร็วรอบของ มอเตอร์ (โดยคานวณได้จากสมการ 2.1) ทาใหไ้ ดค้ วามเร็วในการหมุนโรเตอรส์ กรนี ท่เี หมาะสม ในการทดลองนามาใช้ในการแยกตะกอนสารแขวนลอยออกจากน้าของบ่อทดลองอนุบาล ลูกปลานิล พบว่าระบบดรัมฟิลเตอร์มีความสามารถในการแยกตะกอนออกได้ จากผลการทดลอง การวัดค่าตะกอนของแข็งท่ีอยู่ในน้า (TDS) และจากงานวิจัยที่กล่าวถึงความเร็วในการหมุนของเคร่ือง ดรัมฟิลเตอร์ที่เหมาะสม สามารถลดปริมาณของแข็งท่ีอยู่ในน้า (TDS) ลดลงและมีผลให้อัตรา การเจริญเติบโตเพ่ิมขน้ึ คอื 165 รอบตอ่ นาที ซึง่ ตรงกบั งานวจิ ยั ของ [8] 4.2 ผลการทดสอบระบบดรัมฟลิ เตอร์ก่อนการเลี้ยงปลา หลังจากได้ทาการออกแบบระบบดรัมฟิลเตอร์ทั้ง 3 ระบบ ทางผู้วิจัยได้ทาการทดสอบ ประสิทธิภาพของระบบดังกล่าว โดยได้ทาการเปิดเครื่องเป็นเวลา 60 นาที สังเกตการทางานของ ระบบได้แก่ ความเสถียรของโรเตอร์สกรีน ปริมาณขี้ปลาท่ีดูดได้ ความแรงในการดูดข้ีปลา ความอัตโนมัติในการควบคุมป๊ัมสาหรับสร้างฟองอากาศละเอียด ค่าความขุ่น (NTU) และปริมาณ ของแข็งท่ีอยู่ในน้า (TDS) โดยใช้เครื่องมือวัด Horiba Multi-parameter Water Quality Meters เพ่ือเลอื กการออกแบบทีเ่ หมาะสมทส่ี ุด ผลการทดสอบไดอ้ ภิปรายดังน้ี 4.2.1 ผลการเปรียบเทยี บการทางานของระบบดรัมฟิลเตอร์ 3 ระบบ การเปรียบเทียบการทางานของระบบดรัมฟิลเตอร์จากจากปัจจัยท้ัง 4 ได้แก่ ความเสถียร ของโรเตอร์สกรีน ปริมาณข้ีปลาท่ีดูดได้ ความแรงในการดูดและความอัตโนมัติในการควบคุมป๊ัม สาหรบั สรา้ งฟองอากาศละเอยี ด ไดผ้ ลดงั น้ี ตารางท่ี 4.1 เปรียบเทียบการทางานของระบบดรัมฟลิ เตอร์ทั้ง 3 ระบบ ระบบ 1 2 3 ไมเ่ สถียร เสถยี ร เสถียร ความเสถียรของโรเตอร์สกรนี ปานกลาง มาก นอ้ ย ปานกลาง มาก ปริมาณข้ีปลาทีด่ ูดได้ ปานกลาง อัตโนมัติ ไม่อัตโนมตั ิ ความแรงในการดูด อตั โนมตั ิ ความอตั โนมตั ิในการควบคุมป๊มั สาหรับสร้าง ฟองอากาศละเอียด จากตารางที่ 4.1 การเปรียบเทียบระบบทั้ง 3 ระบบ ได้ดังน้ี ระบบที่ 1 ความเสถียร การหมุนของโรเตอรส์ กรีนไม่ดี เน่ืองจากยังไมไ่ ด้เพิ่มการทดรอบด้วยมู่เล่ เป็นผลให้ปรมิ าณขปี้ ลาท่ีดูด ได้น้อย ความแรงในการดูดที่ปานกลาง และป๊ัมสาหรับสร้างฟองอากาศละเอียดสามารถทางานได้ อัตโนมัติ ระบบที่ 2 ความเสถียรการหมุนของโรเตอร์สกรีนดีข้ึน ทาให้ปริมาณขี้ปลาที่ดูดได้มากกว่า

39 ระบบที่ 1 และระบบท่ี 3 ทดลองถอดหัวดูดกันน้าไหลกลับออกเพื่อต้องการเพิ่มความแรงในการดูด ขี้ปลาในบ่อให้มากขึ้น ผลคือสามารถดูดปริมาณข้ีปลาได้มากข้ึนจากความแรงในการดูดที่เพิ่มข้ึน แตป่ ญั หาคอื ปั๊มสาหรับสรา้ งฟองอากาศละเอยี ดไมส่ ามารถทีจ่ ะทางานอัตโนมตั ิได้ จากการการเปรียบเทียบการทางานของดรัมฟิลเตอร์ท้ัง 3 ระบบ ได้ผลดังน้ี การทดลอง ระบบที่ 1 โดยความเร็วในการหมุนของโรเตอร์สกรีนคือ 660 รอบต่อนาที ระยะจุ่มของหัวดูดยังอยู่ที่ ระดับกลางของบ่อและยังใส่หัวกันน้าไหลกลับดังรูปท่ี 3.6 ผลการทดลองปรากฏว่าการหมุนของ โรเตอร์สกรีนยังมีความเร็วที่สูงและไม่เสถียร ระยะจุ่มของหัวดูดท่ีอยู่กลางบ่อดูดขี้ปลาหรือส่ิงปฏิกูล ต่างๆ ท่ีตกลงก้นบ่อได้น้อย ดังนั้นทางกลุ่มจึงได้ออกแบบระบบใหม่เป็นระบบท่ี 2 คือการเพ่ิม ตัวทดรอบด้วยมู่เล่เพื่อลดความเร็วในการหมุนโรเตอร์สกรีนให้ต่าลงเป็น 165 รอบต่อนาที โดยใช้ ประยกุ ต์ตามแนวงานวจิ ยั ท่ีมีการปรับความเรว็ รอบการหมนุ ของดรัมฟิลเตอรโ์ ดยใชก้ ังหนั นา้ ของ [8] จากน้ันทาการต่อท่อดูดให้ยาวข้ึนเพ่ือให้หัวดูดถึงก้นบ่อ จากการทดลองระบบท่ี 2 ผลปรากฏว่า ความเร็วรอบของโรเตอร์สกรีนมีความเสถียรมากขึ้นและเมื่อหัวดูดอยู่ก้นบ่อ ดังรูปที่ 3.7 จากการสังเกตทาให้การดูดข้ีปลาทาได้ดีขึ้นกว่าระบบที่ 1 ที่มีการปรับความเร็วรอบของดรัมฟิลเตอร์ สามารถเพ่ิมประสิทธิในการกรองขปี้ ลาในบ่อเลยี้ ง ซงึ่ คล้ายกบั งานวจิ ยั [8] อย่างไรก็ตามในระบบที่ 2 ความแรงในการดูดของป๊ัมสาหรับสร้างฟองอากาศละเอียดน้อย เกินไป ทางกลุ่มจึงได้ออกแบบระบบที่ 3 ดังรูปที่ 3.8 โดยการถอดหัวกันน้าไหลกลับออกและ ทาการทดลองพบว่าสามารถดูดข้ีปลาได้ดีขึ้น อย่างไรก็ตามข้อเสียของระบบน้ีคือเคร่ืองไฟน์บับเบิ้ล ไม่สามารถทางานได้อตั โนมัติ โดยจาเป็นต้องทาการกรอกน้าลงในเครื่องไฟน์บับเบลิ้ ทุกครงั้ ในการเริ่ม การทางานใหม่ ดังนั้นจากการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการดูดขี้ปลาและความสะดวก ในการใช้งาน ผู้วิจัยได้เลือกระบบที่ 2 เพราะถือว่าระบบสามารถดูดขี้ปลา ทาการกรองน้าและ ไหลเวยี นไปยังบ่ออนุบาลปลานลิ โดยอตั โนมัติ 4.2.2 ผลการเปรยี บเทียบคณุ ภาพนา้ ระหว่างบ่อ DFFB และบอ่ หวั ทรายก่อนการเล้ยี งปลา การเปรียบเทียบคุณภาพน้าระหว่างบ่อ DFFB และบ่อหัวทราย เพื่อนามาวิเคราะห์ ว่าระบบดรัมฟิลเตอร์สามารถลดตะกอนที่อยู่ในน้าและความขุ่นได้ดีกว่าระบบกรองของบ่อหัวทราย ก่อนการนาไปใช้งานกบั การเลี้ยงปลาจริง บ่อหัวทราย บ่อ DFFB รูปที่ 4.2 การวดั ประสทิ ธภิ าพการทางานของบ่อ DFFB และบอ่ หวั ทราย

TURB(NTU) 40 จากรูปที่ 4.2 วัดคุณภาพน้าจากการทดสอบประสิทธิภาพระบบดรัมฟิลเตอร์ โดยวัดค่า ความขุ่นของน้า (TURB) และค่าตะกอนท่ีอยู่ในน้า (TDS) โดยวัดท่ีความลึกในน้า 50 ซม. จุดเดียวกัน ทกุ ๆ 15 นาที ขณะท่ีเครือ่ งทางานเวลา 1 ช่วั โมง และวัดค่าหลังเครือ่ งหยดุ ทางาน 45 นาที ในการทดสอบประสทิ ธภิ าพในการลดความขุ่นของนา้ (TURB) และของแขง็ ทอ่ี ยูใ่ นน้า (TDS) จากเครื่องวัด เพื่อเปรียบเทียบการบาบัดน้าเสียในระบบ 3 ถัง ร่วมกับระบบดรมั ฟิลเตอร์สาหรับการ เลี้ยงปลานิลด้วยไฟน์บับเบ้ิล (Fine bubble) กับบ่อระบบหัวทรายที่มีระบบกรองของเกษตรกร จากฟารม์ เลีย้ งปลานิลแบบดั้งเดิม [1] โดยมีผลการทดลองดงั น้ี 4.2.1 ความขนุ่ ของน้า (TURB) การวดั คา่ ความขนุ่ ของนา้ ดว้ ยเครือ่ ง Horiba Multi-parameter Water Quality Meters ตงั้ แต่เวลา 0-105 นาที ของบ่อ DFFB เปรียบเทยี บกบั บ่อหัวทราย ไดผ้ ลดังน้ี 25.00 20.00 15.00 10.00 5.00 บอ่ DFFB บ่อหวั ทราย 0.00 0 15 30 45 60 75 90 105 เวลา (นาที) รูปที่ 4.3 เปรยี บเทียบความขุ่นของน้า (TURB) ของทง้ั 2 บ่อทดลอง จากรูปที่ 4.3 ผลเปรียบเทียบความขุ่นของน้าของบ่อ DFFB ตั้งแต่เคร่ืองเริ่มทางานและหยุด การทางานนาทีที่ 60 และวัดค่าต่อถึงนาทีท่ี 105 ความขุ่นของน้าในบ่อ DFFB มีการลดลง อย่างต่อเน่ืองจาก 20 NTU ถึง 8 NTU และของบ่อหวั ทรายความขุ่นของน้าจาก 20 NTU เม่ือเครื่อง ทางานสามารถลดความขนุ่ ของน้าลงถงึ 14 NTU แต่เมอื่ เครื่องหยุดทางานนาทีท่ี 60 ความขุ่นของน้า เพิม่ ข้ึนมาถงึ 19 NTU

41 จากกราฟความขุ่นของน้าตามรูปท่ี 4.3 สามารถอธิบายได้ดังนี้ ในกรณีของบ่อ DFFB จะเห็นได้ว่าค่าความขุ่นมีการลดลงอย่างต่อเน่ือง ซึ่งเก่ียวเนื่องกับ 2 ปัจจัย คือ คุณสมบัติของ ไมโครบับเบิ้ลท่ีสามารถดักจับขี้ปลาและทาให้เกิดการลอยตัว (Flotation) ดังงานวิจัยของ [25] ซ่ึงสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการดักจับตะกอนในน้า ในทางตรงกันข้ามในกรณีของบ่อหัวทราย คา่ ความขุ่นของน้าลดลงในกรณีท่มี ีการเปิดเคร่ืองแต่หลังจากปิดเคร่อื งค่าความขุ่นมีค่าเพ่ิมข้ึน ซ่ึงอาจ เกิดจากในกรณีที่เปิดเครื่องปั๊มออกซิเจน ซ่ึงแรงดันของฟองอากาศทาให้ตะกอนต่ าง ๆ มีการเคล่ือนย้ายออกจากจุดที่มีการวัดค่า ทาให้ค่าความขุ่นมีค่าลดลง แต่หลังจากทาการปิดเครื่อง ตะกอนได้เคลื่อนย้ายมาท่ีเดิม แสดงให้เห็นว่าในระบบการกรองแบบด้ังเดิม ไม่สามารถกรองข้ีปลาได้ ดีเท่ากับระบบ DFFB อีกทั้งดรัมฟิลเตอร์สามารถกรองข้ีปลาทาให้น้ามีความใสมากข้ึน ดังรูปท่ี 4.5 ดงั งานวจิ ยั ของ [24] 4.2.2 ของแข็งท่ีอยใู่ นนา้ (TDS) การวัดค่าของแข็งที่อยู่ในน้า ด้วยเคร่ือง Horiba Multi-parameter Water Quality Meters ตง้ั แตเ่ วลา 0-105 นาที ของบอ่ DFFB เปรยี บเทยี บกบั บอ่ หวั ทราย ได้ดังนี้ 0.130 0.129 0.129 TSD (g/L) 0.128 บอ่ DFFB 0.128 บอ่ หัวทราย 0.127 0.127 0.126 0.126 15 30 เวลา45(นาท)ี 60 75 90 105 0 รปู ที่ 4.4 เปรยี บเทยี บของแข็งท่อี ยู่ในน้า (TDS) ของทั้ง 2 บ่อทดลอง จากรูปท่ี 4.4 ผลเปรียบเทียบของแข็งที่อยู่ในน้าของบ่อ DFFB ตั้งแต่เคร่ืองเร่ิมทางานและ หยุดการทางานนาทีท่ี 60 และวัดค่าต่อถึงนาทีที่ 105 ของแข็งท่ีอยู่ในน้าจาก 0.129 กรัมต่อลิตร ลดลงถึง 0.126 กรัมต่อลิตร และของบ่อหัวทรายของแข็งที่อยู่ในน้าจาก 0.129 กรัมต่อลิตร

42 เมื่อเคร่ืองทางานสามารถลดของแข็งท่ีอยู่ในน้าลงถึง 0.128 กรัมต่อลิตร แต่เม่ือเคร่ืองหยุดทางาน นาทีที่ 60 ของแขง็ ทีอ่ ยใู่ นน้าเพิ่มขน้ึ มาถึง 0.129 กรมั ตอ่ ลิตร เช่นเดมิ จากการเปรียบเทียบพบว่าเมื่อเริ่มวัดครั้งแรกของแข็งที่อยู่ในน้าท้ัง 2 บ่อทดลอง จะมีค่า เท่ากัน ลักษณะเส้นกราฟของแข็งที่อยู่ในน้าของบ่อ DFFB ลดลงเม่ือเคร่ืองเริ่มทางานและหยุด การทางานนาทีที่ 60 เป็นผลทาให้ระบบดรัมฟิลเตอร์สามารถลดของแข็งท่ีอยู่ในน้าได้ดีกว่า [24] จากเทคโนโลยีไฟน์บับเบิ้ลมีคุณลักษณะเฉพาะเป็นประจุลบสามารถจับให้ตะกอนของแข็งท่ี อยู่ในน้าเป็นกลุ่มและทาให้ลอยได้ จึงนามาใช้ร่วมกับการทางานของระบบดรัมฟิลเตอร์เพื่อให้ง่ายต่อ การกาจัดขี้ปลาและเม่ือเทียบกับบ่อหัวทรายค่าของแข็งท่ีอยู่ในน้าลดลงเมื่อเคร่ืองเติมอากาศทางาน อาจเน่ืองจากการเติมอากาศท่ีเกิดฟองขนาดใหญ่ทาให้ตะกอนที่อยู่ในน้ากระจายตัวออกห่าง จากเครื่องวัด แต่เมื่อเคร่ืองเติมอากาศหยุดทางานน้าอยู่ในสภาพนิ่งทาให้ตะกอนเร่ิมจับตัวกัน เปน็ ผลใหค้ า่ ของแข็งที่อยใู่ นนา้ เพิม่ ขึน้ จงึ ใช้งานวจิ ัยการลอยตะกอนด้วยอากาศ [13] ในส่วนของการทดสอบประสิทธิภาพของระบบไฟน์บับเบิ้ล (Fine bubble) ในถังบาบัดน้า เสีย 3 ถัง แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ สังเกตลักษณะของฟองอากาศท่ีเกิดข้ึนในถังท่ี 1 และวัดปริมาณ ออกซเิ จนท่ีละลายในนา้ (Dissolved oxygen, DO) โดยใช้เครอื่ ง Horiba Multi-parameter Water Quality Meters (ถังบาบดั ที่ 1) (ถงั บาบัดท่ี 2) (ถงั บาบัดที่ 3) รูปท่ี 4.5 ลักษณะของนา้ ในถังบาบดั นา้ ท้ัง 3 ถัง จากรูปท่ี 4.5 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของระบบไฟน์บับเบิ้ล (Fine bubble) พบว่า เม่ือเปิดเครื่องทางาน น้าจะมีลักษณะท่ีขาวขุ่นในถังบาบัดท่ี 1 จากการวัดค่าออกซิเจนละลายในน้า

43 (DO) ของถังบาบัดที่ 1 พบว่ามีค่าเป็น 8.88 มิลลิกรัมต่อลิตร ถังบาบัดที่ 2 พบว่ามีค่าเป็น 8.78 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลติ ร และถังบาบัดที่ 3 พบวา่ มีคา่ เป็น 9.17 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลติ ร ในการวัดค่าออกซิเจนละลายในน้า (DO) ซึ่งเป็นคุณลักษณะเฉพาะของฟองอากาศที่มีขนาด เล็ก ซ่ึงอยู่ในสภาพท่ีเหมาะสมในการเติมอากาศในบ่อเลี้ยง และมีสภาพประจุลบที่สามารถจับตัวกับ ของเสียแขวนลอยในบ่อ โดยถังบาบัดท่ี 3 จะมีค่าออกซิเจนละลายในน้า (DO) มากกว่าถังบาบัดที่ 1 และ 2 อาจเน่ืองมาจากการเปลี่ยนลักษณะของฟองขนาดไมโครเมตรเป็นนาโนเมตร ซึ่งทาให้ คุณสมบตั ิการละลายออกซเิ จนในน้ามีค่าเพ่มิ ขนึ้ ดงั งานวิจยั ของ [28] 4.3 ผลการวดั คณุ ภาพน้าในการอนบุ าลปลานิลในบ่อทดลอง คณุ ภาพของน้ามีผลต่อการเจรญิ เติบโตของลูกปลานลิ พารามเิ ตอร์ท่ชี ีถ้ ึงคุณภาพของน้าเลี้ยง ประกอบด้วย ค่าออกซิเจนละลายในน้า (DO), ค่าความขุ่น (TURB), ค่าตะกอนท่ีอยู่ในน้า (TDS), ค่า ก ารน าไฟ ฟ้ า (Conductivity) ถู ก ติ ด ต าม ค่ าทุ ก วั น เว ล า 8 .0 0 น . เป็ น เว ล า 30 วั น ไดผ้ ลดงั น้ี 4.3.1 ออกซิเจนละลายในน้า (DO) การวัดค่าออกซิเจนละลายในน้า ด้วยเครื่อง Horiba Multi-parameter Water Quality Meters เป็นระยะเวลา 28 วัน ใน การอนุบาลป ลานิล ของบ่ อ DFFB และบ่ อหัวทราย ได้ผลดังน้ี 12 11 10 DO (mg/L) 9 8 7 บอ่ DFFB บ่อหวั ทราย 6 0 2 4 6 8 10 12 ว1ัน4 16 18 20 22 24 26 28 รปู ที่ 4.6 เปรยี บเทียบค่าออกซิเจนละลายในนา้ ระหว่างบอ่ DFFB และบ่อหัวทราย จากรูปท่ี 4.6 ผลการเปรียบเทียบปริมาณออกซิเจนละลายในน้า (DO) ระหว่างบ่อ DFFB และบ่อหัวทราย พบว่า ตลอดช่วงระยะเวลาในการวัดปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้าบ่อ DFFB มีค่าประมาณ 8.80-9.61 มิลลิกรัมต่อลิตร และบ่อหัวทรายมีค่าประมาณ 9.00 - 10.22 มิลลิกรัม

TURB(NTU) 44 ต่อลิตร ซึ่งจะเห็นได้ว่าค่าปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้าของบ่อ DFFB มีค่าต่ากว่าระบบหัวทราย โดยในช่วงวันท่ี 25 ของการอนุบาลปลานิลพบว่า ค่าออกซิเจนละลายในน้า (DO) ลดลงเหลือ 7.89 มลิ ลิกรมั ตอ่ ลติ ร และ 8.51 มิลลิกรัมต่อลิตร ในกรณีของบอ่ DFFB และบ่อหวั ทราย จากการเปรียบเทียบพบว่าบ่อ DFFB มีค่าออกซิเจนละลายในน้าต่ากว่าบ่อหัวทราย สอดคล้องกับงานวิจัยของ [2,26] เน่ืองจากน้าไฟน์บับเบ้ิล (Fine bubble) จะเก็บอากาศไว้ในฟอง ละเอียดทาใหเ้ ครื่องวัดไมส่ ามารถวดั ได้หมด ซ่ึงต่างจากบ่อหวั ทรายที่สรา้ งฟองอากาศขนาดใหญ่ทาให้ ฟองอากาศเกิดการแตกตัวในน้าได้ง่ายกว่าทาให้สามารถวัดปริมาณออกซิเจนในน้าได้มากข้ึน อย่างไรก็ตาม ระดับปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้าของท้ัง 2 ระบบมีค่าสูงกว่า 4 มิลลิกรัมต่อลิตร ซ่ึงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น้า ซ่ึงในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าท่ีดี ควรมีปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้าอย่างน้อย 5 มิลลิกรัมต่อลิตร สัตว์น้าจึงจะมีชีวิตอยู่ได้ อย่างปกติ [12] จากการสังเกตพบว่า ในวันที่ 25 ของการเลี้ยงปริมาณออกซิเจนท่ีอยู่ในน้ามีค่าลดลง ทง้ั 2 ระบบ ซึ่งพบว่า อุณหภูมิของน้าในวันท่ี 25 เพิ่มข้นึ ท้ังสองบ่อ โดยปริมาณออกซิเจนทล่ี ะลายน้า แปรผกผันตามอุณหภูมิของนา้ ซึ่งเปน็ ไปตามงานวจิ ยั ของ [18] 4.3.2 ความขนุ่ ของน้า (TURB) การวัดค่าความขุ่นของน้าด้วยเคร่ือง Horiba Multi-parameter Water Quality Meters เป็นระยะเวลา 28 วนั ในการอนบุ าลปลานิล ของบอ่ DFFB และบอ่ หัวทราย ได้ผลดังนี้ 10 9 บอ่ DFFB 8 บ่อหวั ทราย 7 6 5 4 3 2 1 0 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 วัน รปู ท่ี 4.7 เปรยี บเทยี บคา่ ความขุ่นของนา้ ระหวา่ งบ่อ DFFB และบ่อหัวทราย

TDS (g/L) 45 จากรูปที่ 4.7 ผลการเปรียบเทียบกราฟของบ่อหวั ทราย (control) มลี ักษณะความขุ่นของน้า สูงขึ้น ทุกๆช่วง 14 วัน เนื่องจากเปล่ียนน้าใหม่ทุก 2 สัปดาห์ โดยวันท่ี 14 และ 28 ก่อนเปล่ียนน้า ใหม่มีค่าความขุ่นของน้าสูงถึง 8.6 NTU และ 8.9 NTU ในขณะที่กราฟของบ่อ DFFB มีลักษณะ ความขุ่นของน้าเพ่ิมข้ึนเล็กน้อย โดยวันท่ี 14 และ 28 ก่อนเปล่ียนน้าใหม่มีค่าความขุ่นของน้า 3.3 NTU และ 3.8 NTU จากการเปรียบเทยี บสะทอ้ นให้เหน็ ว่าบอ่ DFFB สามารถลดความขนุ่ ของน้าโดยการบาบัดน้า ด้วยไฟน์บับเบิ้ล (Fine bubble) ร่วมกับระบบดรัมฟิลเตอร์ท่ีสามารถแยกตะกอนหรือคราบอาหาร ที่ละลายอยู่บนผิวน้าท่ีมีผลต่อการวัดค่าความขุ่นของน้า ได้ดีกว่าบ่อหัวทรายที่กรองด้วยวิธีแบบภูมิ ปัญ ญ าเกษ ตรกรทั่ วไปคือกรองผ่านหิน ท ราย ไบโอบ อล และผ้าใยแก้ว [1] เมื่อเทียบ การทดลองจากปัจจัยความขุ่นของน้านี้ บ่อ DFFB จึงสามารถยืดระยะเวลาการเปล่ียนถ่ายน้าของ การอนุบาลปลานลิ ไดม้ ากกวา่ บ่อหัวทรายสอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของ [2, 26] 4.3.3 ของแข็งท่ีอยใู่ นนา้ (TDS) การวัดค่าของแข็งที่อยู่ในน้าด้วยเคร่ือง Horiba Multi-parameter Water Quality Meters เปน็ ระยะเวลา 28 วัน ในการอนุบาลปลานลิ ของบ่อ DFFB และบอ่ หวั ทราย ได้ผลดังนี้ 0.17 0.16 0.15 0.14 0.13 0.12 บ่อ DFFB บ่อหวั ทราย 0.11 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 วนั รูปท่ี 4.8 เปรียบเทยี บค่าของแข็งที่อยใู่ นนา้ ระหว่างบ่อ DFFB และบ่อหัวทราย จากรูปท่ี 4.8 ผลการเปรียบเทียบกราฟของบ่อหัวทราย (control) มีลักษณะของแข็งท่ีอยู่ ในน้าท่ีเพิ่มข้ึน ทุกๆช่วง 14 วัน เน่ืองจากเปล่ียนน้าใหม่ทุก 2 สัปดาห์ โดยวันที่ 14 ก่อนเปลี่ยน น้าใหม่มีค่าของแข็งท่ีอยู่ในน้าสูงถึง 0.160 กรัมต่อลิตร ในขณะท่ีกราฟของบ่อ DFFB มีลักษณะ ของแข็งท่อี ยู่ในนา้ เพ่มิ ข้ึนเลก็ น้อยในชว่ งเดยี วกัน โดยมคี ่าของแข็งท่ีอยใู่ นน้า 0.134 กรมั ตอ่ ลิตร

46 จากการเปรียบเทียบในระยะของ 14 วันแรกของบ่อหัวทรายมีค่าของแข็งที่อยู่ในน้าสูงกว่า ระยะของ 14 วันหลัง อาจเน่ืองระยะแรกลูกปลามีความหนาแน่นที่สูง (78 ตัว/ตารางเมตร) เป็นผลให้เกิดขี้ปลาจานวนมากและพฤติกรรมการกินอาหารของลูกปลายังกินน้อยทาให้อาหารเหลือ ค้างในบ่อแต่ระยะหลังลูกปลามีจานวนที่น้อยลง (71 ตัว/ตารางเมตร) เกิดจากการตายและเริ่ม ปรับตัวกับสภาพน้าได้ดีข้ึนจึงกินอาหารได้ดีขึ้นกว่าระยะแรก แต่เม่ือเทียบกับบ่อ DFFB การเล้ียงที่ ความหนาแน่นใกล้เคียงกัน (75 ตัว/ตารางเมตร) พบว่าปริมาณค่าของแข็งท่ีอยู่ในน้าจะต่ากว่าเน่ือง จากการใช้คุณลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยีไฟน์บับเบ้ิล ในการจับตัวทาให้ข้ีปลาและเศษอาหารที่ เหลือจับกลุ่มกัน จึงทาให้ระบบดรัมฟิลเตอร์สามารถแยกสิ่งปฏิกูลเหล่าน้ีออกจากน้าได้ดีกว่าระบบ กรองแบบท่ัวไปของบ่อหัวทราย [23] นอกจากนี้ ความขุ่นของน้ามีผลต่อการกินอาหารของปลาด้วย สอดคล้องกับการศึกษาของ [28] พบว่าปลา Perch จะกินอาหารลดลงเมื่อความขุ่นเพิ่มขึ้น และยังส่งผลให้ปลามีการเติบโตต่า และปลาที่อาศัยอยู่ในน้าขุ่นจะทาให้น้าหนัก , อัตรา การเจรญิ เติบโต และอัตราการรอดลดลง ดังงานวิจัยของ [29] ซ่งึ จะมกี ารอภปิ รายในหวั ขอ้ ท่ี 4.4 4.3.4 การนาไฟฟ้า (Conductivity) การวัดค่าการนาไฟฟ้าด้วยเครื่อง Horiba Multi-parameter Water Quality Meters เป็นระยะเวลา 28 วัน ในการอนบุ าลปลานิล ของบ่อ DFFB และบอ่ หัวทราย ได้ผลดังนี้ 0.26 0.25 0.24 0.23 COND (uS/cm)0.22 0.21 0.2 0.19 บอ่ DFFB 0.18 บอ่ หวั ทราย 0.17 0.16 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 วัน รูปท่ี 4.9 เปรียบเทยี บค่าการนาไฟฟา้ ระหว่างบอ่ DFFB และบ่อหัวทราย

47 จากรูปท่ี 4.9 ผลการเปรียบเทียบกราฟของบ่อหัวทราย (control) มีลักษณะเพ่ิมขึ้น อย่างต่อเนื่อง ทุกๆช่วง 14 วัน ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการสะสมของข้ีปลาและเศษอาหารซึ่งมีสภาพ ประจุเป็นบวกสะสมอยู่ในบ่อ โดยวันที่ 14 ของการเลี้ยงก่อนมีการเปลี่ยนถ่ายน้าพบว่า ค่าการนาไฟฟ้าสูงถึง 0.246 โมโครซีเมนส์ต่อเซนติเมตร ในขณะที่กราฟของบ่อ DFFB ในช่วงเวลา เดียวกนั ตา่ กว่าบ่อหวั ทราย โดยมีคา่ การนาไฟฟ้า 0.206 โมโครซเี มนส์ตอ่ เซนติเมตร การเปรียบเทียบ ลักษ ณ ะของกราฟ ทั้ ง 2 บ่อ โดยลักษ ณ ะกราฟของบ่ อ DFFB มีค่าการนาไฟฟ้าเสถียรกว่าบ่อหัวทราย เนื่องมาจากสมบัติความเป็นประจุลบของไฟน์บับเบ้ิล (Fine bubble) ซึ่งจับตัวกับของเสียในบ่อ เช่น ขี้ปลา อาหารปลาที่เหลือ ที่มีประจุบวก เกิดการจับ ตวั กันทาให้สภาพน้าเกิดเป็นกลาง ดังงานวิจัยของ [27] อีกทั้งระบบ DFFB สามารถกาจัดขปี้ ลาและ อาหารท่เี หลอื ออกจากบอ่ ทาให้ค่าการนาไฟฟา้ ของบ่อ DFFB ตา่ กวา่ บ่อหัวทราย 4.4 ผลการเปรยี บเทียบการอนบุ าลปลานลิ ในบ่อทดลอง ผลการเปรียบเทยี บของระบบการเลีย้ งด้วยเทคโนโลยไี ฟน์บับเบ้ิลร่วมกับการกาจัดขี้ปลาดว้ ย ดรัมฟิลเตอร์และการเล้ียงด้วยระบบหัวทรายแบบเกษตรกร ได้มีการติดตามวัดคุณภาพน้า อตั ราการเจรญิ เติบโตเฉล่ยี ตอ่ วนั และอตั ราการรอดของลูกปลานลิ ได้ผลการทดลองดังน้ี 4.4.1 ผลการวดั อตั ราการเจรญิ เติบโตของลกู ปลานิลระหวา่ งบอ่ DFFB และบอ่ หัวทราย ผลการวัดอัตราการเจรญิ เติบโตของลูกปลานลิ เป็นเวลา 28 วัน น้าหนักเริ่มตน้ ของลูกปลา นิลท้ังสองบ่อมีน้าหนักตัวเฉล่ีย 0.30 กรัมต่อตัว โดยทาการสุ่มวัดน้าหนักลูกปลานิลจานวน 30 ตัว/ บ่อ ทาการชั่งน้าหนักโดยใช้เครื่องชั่ง OHAUS CS SERIES 2,000 g จะทาการช่ังน้าหนักสัปดาห์แรก กอ่ นปล่อยลงบ่อทดลอง จากนั้นจะทาการชั่งน้าหนักทุกสองสัปดาห์ เป็นจานวน 2 ครั้ง และหาอัตรา การเจริญเติบโตเฉล่ียต่อวัน (Average daily growth, ADG จากสมการท่ี 2.2) จากผลการทดลอง พบวา่ น้าหนักเฉล่ียของลูกปลานลิ หลังจากเล้ียงโดยระบบ DFFB และระบบหวั ทราย เป็นเวลา 28 วัน มนี า้ หนกั 2.07 กรัมตอ่ ตัว และ 1.57 กรมั ต่อตัว ตามลาดับ ตารางที่ 4.2 การเปรยี บเทียบการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวันของบ่อ DFFB และบ่อหัวทราย น้าหนักปลา (กรัมต่อตัว) อัตราการเจรญิ เตบิ โตเฉลย่ี ตอ่ วัน (กรัม/วนั ) ครง้ั บ่อ DFFB บอ่ หัวทราย บ่อ DFFB บอ่ หัวทราย 1 0.30 0.30 - - 2 0.77 0.67 0.033 0.026 3 2.07 1.57 0.093 0.064 เฉล่ยี 0.063 0.045

ัอตราการรอดของ ูลกปลานิล(%) 48 จากตารางท่ี 4.2 พบว่าในช่วง 2 สัปดาห์แรก อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยของระบบ DFFB (0.033 กรัม/วัน) สูงกว่าระบบหัวทราย (0.026 กรัม/วนั ) และพบว่าในช่วงสัปดาห์ที่ 3 และ 4 อัตรา การเจริญเติบโตเฉลี่ยของท้ังระบบ DFFB (0.093 กรัม/วัน) และระบบหัวทราย (0.064 กรัม/วัน) เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด อาจเน่ืองจาก 2 ปัจจัย คือ ปลามีความเครียดลดลง สามารถทาให้กินอาหาร ได้มากขึ้น อีกท้ังในช่วงสัปดาห์หลังความหนาแน่นในการเลี้ยงปลาลดลงทาให้อัตราการเจริญเติบโต ทัง้ 2 ระบบดขี ้ึน จากการเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของลูกปลานิลการเล้ียงด้ วยระบบ DFFB มอี ัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวันดีกว่าการเลี้ยงด้วยระบบหัวทราย 1.4 เท่า โดยมีปัจจัยที่สาคัญคือ 1) ไม โค รน าโน บั บ เบ้ิ ลส าม ารถ ท าให้ ป ล ามี ก ารกิ น อ าห ารได้ ดี ขึ้น [20] ซ่ึงมี ผล ท าให้ อัตราการเจริญเติบโตของปลาเพิ่มข้ึน ทาให้ลดระยะเวลาในการเล้ียง ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ [3, 19, 22, 26] และเม่ือมีการเพิ่มระบบดรัมฟิลเตอร์ซ่ึงสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการกาจัดข้ีปลา และของเสียต่างๆ ทาให้น้ามีคุณภาพท่ีดี มีผลทาให้ปลามีการเจริญเติบโตได้ดี ดังงานวิจัยของ [8, 24] 4.4.2 ผลการวดั อัตราการรอดของลูกปลานิลระหว่างบ่อ DFFB และบ่อหัวทราย ผลการวัดอัตราการรอดของลูกปลานิลใน 28 วัน โดยคานวณจากสมการที่ 2.3 และ นามาเปรียบเทยี บศักยภาพในการอนบุ าลปลานลิ ด้วยระบบ DFFB และระบบหัวทราย ได้ผลดังนี้ 105 100 95 90 85 บ่อ DFFB บ่อหัวทราย 80 75 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 วัน รปู ท่ี 4.10 เปรยี บเทียบอัตราการรอดของลูกปลานิลใน 28 วัน

49 จากรูปท่ี 4.10 ผลการเปรียบเทียบอัตราการรอดของลูกปลานิลพบว่า บ่อ DFFB มีอัตราการรอด (93.6 %) สูงกว่าบ่อหัวทราย (80.0%) เพราะว่าปลามีการตายอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะช่วงสัปดาห์ท่ี 1 ซ่ึงอาจเกิดจากลูกปลานิลยงั ไม่สามารถปรับตัวได้ และจากสงั เกตพบวา่ ทุก ๆ วนั ที่ 12 ของการเล้ียงปลาก่อนการเปล่ียนถ่ายน้าพบว่า ลูกปลาตายเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะบ่อ หวั ทราย ซึง่ อาจเกดิ จากปรมิ าณแอมโมเนียในน้าสงู ข้ึน จากการเปรียบเทียบอัตราการรอดของลูกปลานิลพบว่าปริมาณแอมโมเนียในน้าสูงขึ้น ซ่ึง ส่งผลทาให้การขับถ่ายแอมโมเนียของปลาทาได้น้อยลง ทาให้เกิดการสะสมของแอมโมเนียในเลือด และเนื้อเย่ือ ส่งผลให้พีเอชของเลือดเพิ่มข้ึน แอมโมเนียในน้าท่ีระดับความเข้มข้นสูงจะมีผลต่อ การซึมผ่านของน้า ทาให้ความเข้มข้นของอิออนต่าง ๆ ในตัวปลาลดลง เป็นสาเหตุให้เนื้อเยื่อต่าง ๆ ใช้ออกซิเจนเพ่ิมมากข้ึน และลดความสามารถของเลือดในการขนส่งออกซิเจน ปลาจะแสดง อาการผดิ ปกติ โดยข้ึนมาหายใจบริเวณผิวน้า บริเวณลาตวั หรอื ครีบจะเปน็ รอยแดง เหงือกเปล่ียนเป็น สี ม่ ว งค ล้ า แ ล ะ อ าจ มี เลื อ ด อ อ ก ป ล าจ ะ ห ยุ ด กิ น อ าห ารแ ล ะ จ ะ เค ล่ื อ น ไห ว น้ อ ย ล ง จากงานวิจัยของ [30] ดงั น้นั ควรมีการเปล่ียนถา่ ยน้าของทั้ง 2 ระบบ ทุก ๆ 2 สปั ดาห์ จากผลการสรุปค่าความขุ่นและปริมาณของแข็งในน้าของบ่อ DFFB ซึ่งมีค่าน้อยกว่าบ่อหัว ทราย แสดงให้เห็นถึงระบบดรัมฟิลเตอร์สามารถกาจัดข้ีปลาและของเสียต่าง ๆ ทาให้ปริมาณ แอมโมเนียในน้าน้อยกว่าบ่อหัวทราย ซึ่งมีผลทาให้ปลามีอัตราการรอดเพิ่มขึ้น และอัตราการรอดท่ี เลี้ยงด้วยระบบไฟน์บับเบิ้ลดีกว่าบ่อหัวทราย โดยไฟน์บับเบิ้ลสามารถเพ่ิมอัตราการรอดของปลาหาง เหลืองเมอ่ื เทยี บกบั กรณที ่ีไมไ่ ด้เติมไฟน์บบั เบิล้ ทรายซึ่งตรงกับงานวิจยั ของ [20]

บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 5.1 สรปุ การอนุบาลปลานิลต้องการใช้น้าในปริมาณมากในการอนุบาลปลานิลของจ้านงค์ฟาร์มจะใช้ ระยะเวลาในการอนุบาลปลานิล 1-2 เดือน ซึ่งคุณภาพน้าเป็นปัจจัยส้าคัญในการอนุบาลปลานิล โดยจะนิยมอนุบาลปลานิลในความหนาแน่นสูงท้าให้เกิดของเสียแขวนลอยในบ่ออนุบาลปลาเป็น จ้านวนมาก จึงส่งผลต่ออัตราการเจริญเติบโตของปลา โดยทางฟาร์มจะเปลี่ยนถ่ายน้า 2 วัน/ครัง จงึ ท้าใหส้ นิ เปลืองทรัพยากรนา้ จากการศึกษาระบบการบ้าบัดน้าโดยใช้ดรัมฟิลเตอร์แบบดักจับตะกอนภา ยในเพ่ือก้าจัด ข อ ง เ สี ย แ ข ว น ล อ ย ซ่ึ ง มี ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ก า ร ก้ า จั ด ข อ ง เ สี ย จ า ก ก า ร เ พ า ะ เ ลี ย ง สั ต ว์ น้ า และการชลประทานและมีการศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับไฟน์บับเบิลที่มีฟองอากาศละเอียดมาเพิ่ม ปริมาณออกซิเจน (DO) สูงขึนจึงช่วยเพ่ิมอัตราการเจริญเติบโต อีกทังพฤติกรรมการกินอาหารได้ดี ตลอดจนทา้ ให้สัตวน์ า้ มสี ขุ ภาพแข็งแรง และคณุ สมบตั ขิ องไฟน์บับเบลิ มีประจุเปน็ ลบท้าให้สารอินทรีย์ ท่ีแขวนลอยในน้าซ่ึงมีประจุบว กเกิดการจับตัวและลอยตัว ขึนบนผิว น้า จึง สามารถ ลดการข่นุ ของน้าจากของเสยี แขวนลอย ทางทีมวิจยั จึงได้พัฒนาระบบกา้ จดั ขีปลาสา้ หรับบา้ บัดน้าเสีย ใ น บ่ อ อ นุ บ า ล ป ล า นิ ล ด้ ว ย ฟ อ ง อ า ก า ศ ล ะ เ อี ย ด ( Drum Filter – Fine Bubble, DFFB) เพ่ือพัฒนาระบบบ้าบัดน้าเสียในบ่ออนุบาลปลานิลด้วยฟองอากาศละเอียดโดยใช้เครื่องดรัมฟิลเตอร์ ส้าหรับกรองขีปลาและท้าการเปรียบเทียบคุณภาพน้า อัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอด ของลูกปลานิลระหวา่ งบ่อทีต่ ิดตังระบบ DFFB กับบ่อแบบหวั ทราย จากการออกแบบการพัฒนาระบบดรัมฟิลเตอร์ทางทีมวิจัยได้เลือกใช้ดรัมฟิลเตอร์แบบ ดักจับตะกอนภายใน ซ่ึงมีลักษณะเป็นกรงหมุน (Rotor screen) ท้าหน้าที่ในการดักจับตะกอนและ มีสเปรย์หัวฉีดท้าความสะอาดเพ่ือให้เศษอาหารไหลออกจากดรัมฟิลเตอร์ โดยดรัมฟิลเตอร์ ชนิดนีนิยมใช้กับงานท่ีมีตะกอนหรือสารแขวนลอยปริมาณน้อยเหมาะกับการก้าจัดขีปลาและ เศษอาหารเหลือ จากการทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องดรัมฟิลเตอร์ที่มีการท้างานร่วมกับ เคร่ืองผลิตฟองอากาศละเอียด (Fine bubbles generator) พบว่า มี 3 ปัจจัยท่ีสามารถ เพ่ิมประสิทธิภาพของการท้างานระบบ DFFB คือ 1. การเพิ่มตัวทดรอบมอเตอร์โดยใช้มู่เล่สามารถ ท้าให้โรเตอร์สกรีนหมุนด้วยความเร็ว 165 รอบต่อนาที อันเป็นความเร็วท่ีท้าให้สามารถดักตะกอน หรือสารแขวนลอยต่าง ๆ ท่ีเกิดจากการจับตัวระหว่างฟองอากาศละเอียดซ่ึงมีประจุเป็นลบกับขีปลา หรือเศษอาหาร 2. ระยะการวางท่อดูดขีปลา ควรวางในต้าแหน่งก้นบ่อเพื่อให้เกิดการดูดขีปลาท่ี จับกันเป็นกลุ่มก้อนได้ดี 3. หัวกันน้าย้อนกลับ ควรใส่บริเวณปลายท่อดูดขีปลาท่ีต่อกับเคร่ือง

51 Fine bubbles เพื่อป้องกันน้าจากตัวปั๊ม Fine bubbles ไหลออก ท้าให้เครื่องสามารถท้างาน อัตโนมตั ิ การปรบั ปรุงระบบ เพื่อใหเ้ กิดการท้างานได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ จากการทดลองการเปรียบเทียบคุณภาพน้าในบ่อ DFFB และบ่อหัวทรายในการวัดคุณภาพ น้าในบ่ออนุบาลปลานิลพบว่า บ่อ DFFB มีปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้า (DO) ต่้ากว่าบ่อหัวทราย ตลอดการเพาะเลียง แต่อย่างไรก็ตามทัง 2 บ่อมีค่า DO อยู่ในระดับ 7 – 9 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งอยู่ในระดับท่ีปลาสามารถเจริญเติบโตได้ดี นอกจากนียังพบว่าน้าในบ่อระบบ DFFB มีค่าความขุ่น (Turbidity) ค่าของแข็งที่ละลายในน้า (Total Dissolved Solids, TDS) และ ค่าการน้าไฟฟ้า (Conductivity) น้อยกว่าระบบหัวทราย ซ่ึงบ่งบอกถึงปริมาณขีปลาและของเสียต่าง ๆ ในบ่อ DFFB มีค่าน้อยกว่าบ่อหัวทรายส่งผลต่อการลดปริมาณแอมโมเนียในน้า อันเป็นปัจจัยท่ีท้าให้ปลา มสี ขุ ภาพดี กินอาหารได้มากขึน และมีความเส่ียงในการตายของลกู ปลาลดลง จากการทดลองเพาะเลียงลูกปลานิลด้วยความหนาแน่นสูง (80 ตัวต่อตารางเมตร) ได้วัดอัตราการเจริญเติบโตของลูกปลานิลระหว่างบ่อ DFFB และบ่อหัวทรายซ่ึงมีน้าหนักเริ่มต้นของ ลูกปลานิลทังสองบ่อเฉลี่ย 0.03 กรัมต่อตัว หลังท้าการเลียงเป็นเวลา 28 วัน พบว่าน้าหนักเฉลี่ยของ ลกู ปลานิลท่เี ลียงด้วยระบบ DFFB และระบบหวั ทรายมีคา่ เป็น 2.07 กรมั ต่อตัว และ 1.57 กรัมต่อตัว ต า ม ล้ า ดั บ คิ ด เ ป็ น อั ต ร า ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต เ ฉ ลี่ ย ต่ อ วั น ( Average Daily Growth, ADG) 0.063 กรัมต่อวัน และ 0.045 กรัมต่อวัน ตามล้าดับ สะท้อนให้เห็นว่า ระบบ Drum Filter - Fine Bubbles สามารถเพิ่มอัตราการเจริญเติบและลดระยะเวลาในการเลียงของลูกปลานิล เน่ืองจาก ฟองอากาศละเอียดสามารถแทรกซึมเข้าไปในลูกปลานิล ส่งผลให้กินอาหารได้ดีขึน ประกอบกับการ จัดการน้าเสียในบ่อปลาด้วยดรัมฟิลเตอร์ท้าให้น้ามีความขุ่นน้อยลง ปรับปรุงคุณภาพในน้าและเป็น ผลดกี บั สุขภาพของปลา จากการทดลองวัดอัตราการรอดของอนุบาลปลานิลระหว่างบ่อ DFFB เปรียบเทียบกับ บ่อหัวทราบโดยมีการอนุบาลปลาบ่อละ 250 ตัว/บ่อ เป็นจ้านวน 28 วัน โดยมีการเปล่ียนถ่ายน้า ในบ่อเลียงทุก ๆ 2 อาทิตย์ พบว่า บ่อ DFFB มีจ้านวนลูกปลานิลคงเหลือ 234 ตัว ซ่ึงมากกว่า บอ่ หวั ทรายซึ่งเหลือ 200 ตวั คิดเป็นอตั ราการรอด 93.6 เปอรเ์ ซ็นต์และ 80.0 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าระบบ DFFB สามารถก้าจัดขีปลาและของเสียภายในบ่อ ท้าให้น้าในบ่อ มคี ณุ ภาพที่ดี สง่ ผลต่อการเพิ่มอัตรารอดในการเลียงปลานิลในความหนาแน่นสงู ได้ จากข้อสรุปเบืองต้นสะท้อนให้เห็นว่า ระบบ Drum Filter - Fine Bubbles (DFFB) สามารถเพ่ิมอัตราการเจริญเตบิ โตและอัตราการรอดของลูกปลานลิ และปรับปรงุ คุณภาพน้าเลียงโดย การกรองขีปลาและของเสียตา่ ง ๆในบ่อปลา ท้าให้ระยะเวลาในการเปลี่ยนถ่ายน้าลดลง ประกอบกับ ฟองอากาศละเอียดช่วยให้ลูกปลานิลกินอาหารได้ดีและมีสุขภาพท่ีแข็งแรง ส่งผลให้ระยะเวลา ในการเพาะเลียงต่อรอบลดลง ดังนันระบบ DFFB จึงเป็นอีกทางเลือกของเกษตรกรท่ีสามารถน้าไป ประยุกต์ใช้ในการอนุบาลปลานิลในอนาคต

52 5.2 ขอ้ เสนอแนะ 5.2.1 การพัฒนาระบบบ้าบัดน้าเสียโดยการแยกระบบของดรัมฟิลเตอร์ออกจากระบบ ไฟน์บับเบิล การแยกระบบของดรัมฟิลเตอร์และระบบไฟน์บับเบิลออกจากการท้างานร่วมกัน เพ่ือแก้ปัญหาแรงดูดของป๊ัมส้าหรับสร้างฟองอากาศละเอียดมีแรงดูดน้อยท้าให้ดูดขีปลาจากบ่อเลี ยง ได้ไม่มากพอ จึงแยกใหร้ ะบบดรัมฟลิ เตอรม์ ปี ัม๊ ดูดเฉพาะของระบบเพ่ือแกป้ ญั หาตรงนไี ด้ รปู ท่ี 5.1 ระบบไฟน์บบั เบลิ แบบฉีดตรง การปรบั ระบบไฟนบ์ บั เบลิ ดังรปู ที่ 5.2 จากระบบเดิมทีส่ ามารถดูดน้าเพ่ือไปบ้าบัดในถัง 3 ถงั ให้มีการแยกโดยให้ระบบไฟน์บับเบิลท้างานเป็นระบบเดียวคือ ระบบไฟน์บับเบิลท้าการดูดน้า เพื่อเพิ่มอากาศในบ่อโดยตรง ด้วยการดูดน้าในบ่อรวมกับอากาศให้เกิดการผสมกันเป็นฟองอากาศ ละเอียดที่มีทังฟองอากาศระดับไมโครและนาโนเมตร โดยหัวแรงดันน้าไฟน์บับเบิลจะถูกวางไว้ใน ต้าแหน่งซ่ึงท้าให้น้าในบ่อปลาอยู่ในลักษณะของน้าวนจึงท้าให้ขีปลาหรือเศษอาหารตกค้างไหลไป รวมกันตรงกลางบอ่ เพื่อใหง้ ่ายต่อการเก็บขีปลาโดยระบบดรัมฟลิ เตอร์ รปู ที่ 5.2 ระบบดรัมฟลิ เตอร์ [7]

53 การออกแบบระบบดรัมฟิลเตอร์เป็นกล่องส่ีเหลี่ยมดังรูปท่ี 5. 3 จะแบ่งเป็น 2 ช่อง คือช่องน้าขาเข้า (ช่องที่ 1) และช่องน้าขาออก (ช่องท่ี 2 ) กลไกของระบบเร่ิมจากน้าในบ่อ เลียงปลาถูกดูด 2 ต้าแหน่ง ด้วย หัวดูดแบบสะดือบ่อ ณ บริเวณก้นบ่อ และหัวดูดแบบสกิมเมอร์ ณ บริเวณ ผิวน้า โดยใช้ป๊ัมน้าขนาด 0.5 แรง เข้ามายังช่องที่ 1 ซึ่งเช่ือมต่อกับภายในโรเตอร์สกรีน เพ่ือกรองตะกอนผ่านตาข่ายขนาดรูพรุนไม่ต้่ากว่า 100 ไมครอน ก่อนที่น้าจะถูกปล่อยไปสู่ช่องที่ 2 และออกทางท่อด้านล่างกลับไปยังบ่อเลียงปลา ความถี่ในการท้างานสามารถลดลงให้เหลือ 2 ครงั /วนั เพื่อช่วยในการประหยัดพลังงาน หรือสามารถปรับเปล่ยี นตามความหนาแนน่ ของปลา 5.2.2 การตดิ ตังพลังงานทดแทน การใช้พลังงานทดแทนจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์เข้ามาร่วมกับระบบ ก้าจัดขีปลาส้าหรับ บ้าบัดน้าเสียในบ่ออนุบาลปลานิลด้วยฟองอากาศระดับไมโครและนาโนเมตร เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง เพ่ือท่ีจะสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านการใช้พลังงานท่ีมากกว่าการเลียงแบบระบบหัวทรายปกติในระยะ ยาวได้ โดยระบบของบอ่ เลยี งไฟน์บับเบิลร่วมกับระบบดรัมฟิลเตอรก์ ้าจดั ขปี ลาจะใช้พลงั งานไฟฟ้าอยู่ ท่ีประมาณ 1200 วัตต์ ประกอบด้วยระบบไฟน์บับเบิล ได้แก่ ปั๊มส้าหรับสร้างฟองอากาศละเอียด 750 วัตต์ และระบบดรัมฟิลเตอร์ ได้แก่ มอเตอร์กระแสตรง 230 วัตต์ เต็มพิกัด แต่การใช้งานไม่ใช้ เต็มพิกัดใช้ท่ีประมาณ 7.50 วัตต์ ปั๊มส้าหรับฉีด 373 วัตต์ ดังนันโดยระบบประกอบไปด้วยแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ 300 วัตต์ 4 แผง อินเวอร์เตอร์ขนาด 1200 W ท่ีแรงดัน 24 V แบตเตอร์ร่ีแบบ Deep cycle 100 A จ้านวน 2 ลูก และตู้คอลโทรลชาร์จพร้อมระบบควบคุมเปิดปิด เป็นต้น จากอุปกรณ์ข้างต้นที่กล่าวมา อาจใช้ต้นทุนในการติดตังที่สูงพอสมควร แต่เมื่อค้านึงถึง การลดค่าใช้จ่ายจากไฟฟ้าท่ีเราใช้ประจ้าและการอนุบาลปลาท่ีมีคุณภาพแข็งแรงกว่า จึงขายได้เร็ว กว่าการเลยี งแบบปกติเพ่ือมาทดแทนในสว่ นนี รูปท่ี 5.3 ระบบโซล่าเซลล์ [31] ในอนาคตหากเกษตรกรมีความสนใจน้าระบบ DFFB ไปประยุกตใ์ ชใ้ นบ่อเลยี งปลาซง่ึ ห่างไกล จากตัวเมืองและไฟฟ้ายังเข้าไม่ถึง ทางผู้วิจัยมองเห็นว่า การพัฒนาระบบไฟน์บับเบิล

54 และระบบดรัมฟิลเตอร์ร่วมกับการใช้พลังงานทดแทนจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar cell) เป็นโอกาสท่ีท้าให้ระบบไฟน์บับเบิลและระบบดรัมฟิลเตอร์ สามารถน้าไปประยุกต์ใช้ในพืนท่ี ทรุ กันดารและเปน็ ทางเลือกใหม่สา้ หรบั การเลียงปลาด้วยเทคโนโลยสี มัยใหมต่ อ่ ไปได้ 5.2.3 การเพาะเลยี งสัตวน์ ้ามูลคา่ ทางเศรษฐกจิ สูง เชน่ แฟนซคี าร์ฟและปลามงั กร ประเทศไทย ได้เริ่มมีการเลียงปลาแฟนซีคาร์ฟ ซึ่งน้ามาจากประเทศญ่ีปุ่น จากนันก็มี ผู้สั่งปลาเข้ามาเลียงกันมากมายในราคาที่ค่อนข้างสูงได้มีการศึกษาและทดลองเพาะพันธุ์ จนประสบความส้าเร็จ ยังผลให้การสั่งเข้าปลาแฟนซีคาร์ฟลดลงและปลาในประเทศที่มีคุณภาพดี ได้รับความนิยมมากขึน จนแพร่หลายดังเช่นปจั จบุ ันปลาแฟนซคี าร์ปจะผสมพนั ธ์ุและวางไข่ในฤดูกาล ที่แตกต่างกันแล้วแต่สถานท่ีท่ีปลาอาศัยอยู่ ฤดูวางไข่ของปลาเหล่านี ในประเทศญี่ปุ่นจะอยู่ในช่วง เดือนเมษายนถึงเดือนสิงหาคม ซ่ึงเป็นช่วงที่อากาศอบอุ่น ส่วนในระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน กุมภาพันธ์ุเป็นช่วงฤดูหนาว ปลาจะไม่เจริญเติบโตและไม่สืบพันธุ์ ส้าหรับประเทศไทยนันปลา แฟนซีคาร์ฟ สามารถวางไข่ได้ตลอดปี และปลาอโรวาน่าหรือปลามังกรเป็นปลาน้าจืดโบราณ ที่ปัจจุบันเป็นปลาสวยงามท่ีมีราคาแพง สนนราคาซือขายกันตามท้องตลาดมีตังแต่หลักร้อยถึงหลัก แสนบาท ขึนอยู่กับขนาด สีสันและความสวยงาม นอกจากนันยังเป็นที่นิยมกันในหมู่ของผู้รักปลา และสนใจในการเลียงปลาเฉพาะกลุ่มที่ค่อนข้างมีฐานะ เน่ืองจากมีความเช่ือว่าปลาอโรวาน่าเป็น สญั ลักษณแ์ ห่งโชคลาภ จะเสรมิ วาสนา บญุ บารมี และความมานะอดทนใหแ้ ก่ผู้เลยี ง รูปท่ี 5.4 บ่อเลียงปลาแฟนซีคาร์ฟ และปลามงั กร [32] เน่ืองจากการพัฒนาระบบก้าจัดขีปลาส้าหรับบ้าบัดน้าเสียในบ่ออนุบาลปลานิลด้วย ฟองอากาศละเอียดใช้ต้นทุนที่สูง แต่อย่างไรก็ตาม งานวิจัยท่ีผ่านมาแสดงให้เห็นศักยภาพของระบบ ในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตและลดระยะเวลาในการเลียงของปลานิลได้ ดังนันควรมีการพัฒนา ทดลองเลียงสัตว์น้ามูลค่าสูงด้วยระบบไฟน์บับเบิลร่วมกับการจัดการน้าเพื่อศึกษาแนวโน้ม ในการขยายตลาดสัตว์น้ามลู คา่ ทางเศรษฐกิจต่อไป

55 5.2.4 การใหค้ วามรกู้ ับผ้ปู ระกอบการหรือเกษตรกรท่มี ีความสนใจ ปัจจุบันการเพาะเลียงสัตว์น้าในประเทศไทยมีการพัฒนารูปแบบในเชิงธุรกิจมากขึน โดยการเลียงสัตว์น้าแบบความหนาแน่นสูง (Intensive system) การจัดการน้าด้วยระบบกึ่งปิดหรือ ระบบปิดที่มีการหมุนเวียนน้าท่ีผ่านการบ้าบัดให้มีคุณภาพดีแล้วน้ากลับมาใช้ใหม่ เพื่อช่วยประหยัด น้าและป้องกันการติดเชือจากภายนอก อย่างไรก็ตามปัญหาของเกษตรกรท่ีพบบ่อยคือการขาด ออกซิเจน และคุณภาพน้าท่ีเสื่อมโทรมอันเกิดจากการสะสมของเสียภายในบ่อ ซ่ึงมาจากส่ิงขับถ่าย และเศษอาหารเหลือตกค้าง ซึ่งออกซิเจนเป็นปัจจัยส้าคัญประการหนึ่งต่อการด้ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ทังสัตว์น้าและจุลินทรีย์ท่ีอยู่ในบ่อเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียภายในบ่อได้ ดังนัน เทคโนโลยีไฟน์บับเบิลจึงถูกน้ามาประยุกต์ใช้ในการเพาะเลียงสัตว์น้าเพ่ือเพ่ิมความสามารถ ในการละลายของก๊าซออกซิเจนในน้าได้ดีขึนและอยู่ได้นานขึน และยังช่วยบ้าบัดคุณภาพน้าให้ดีขึน อีกด้วยการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการใช้ไฟน์บับเบิลและระบบดรัมฟิลเตอร์ ส้าหรับลดระยะเวลา การอนุบาลปลานิล เพิ่มอัตราการเจริญและอัตราการรอดของลูกปลานิล ไปยังผู้ประกอบการหรือ เกษตรกรที่มีความสนใจเพ่ือเปิดมุมมองของกลุ่มเป้าหมายในการเลียงสัตว์น้าประสิทธิภาพสูง ร่วมกับการให้ความรู้เกี่ยวกับการท้างานและซ่อมบ้ารุงระบบไฟน์บับเบิลและระบบดรัมฟิลเตอร์ เวลาที่เครื่องมีปัญหาจะได้แก้ไขได้อย่างทันทวงที เพราะถ้าหากแก้ไขล่าช้าอาจเกิดผลกระทบหลาย อย่างตามมา เช่น ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้าอาจไม่เพียงพอต่อความต้องการของปลา ปลาท่ีอนุบาลไว้อยากจะตายมากกว่าปกติ และอาจเกิดตะกอนในบ่อมากเกินไป ท้าให้เกิดปริมาณ แอมโมเนียในน้าสูงขึน แอมโมเนียในน้าที่ระดับความเข้มข้นสูงจะมีผลต่อการซึมผ่านของน้า ท้าให้ ความเข้มข้นของอิออนต่างๆ ในตัวปลาลดลง เป็นสาเหตุให้เนือเยื่อต่างๆ ใช้ออกซิเจนเพ่ิมมากขึน และลดความสามารถของเลือดในการขนส่งออกซิเจน ปลาจะแสดงอาการผิดปกติ โดยขึนมาหายใจ บริเวณผิวน้า บริเวณล้าตัวหรือครีบจะเป็นรอยแดง เหงือกเปลี่ยนเป็นสีม่วงคล้าและอาจมีเลือดออก ปลาจะหยุดกินอาหารและจะเคลื่อนไหวน้อยลง ดังนันการให้ความรู้จึงมีความส้าคัญเพื่อเป็น การส่งเสริมใหเ้ กษตรกรเข้าสู่ Smart farmer 4.0 ตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศไทย

56 บรรณานุกรม [1] Genaro Soto- Zarazúa M. Development of efficient recirculation system for Tilapia ( Oreochromis niloticus) culture using low cost materials. African Journal of Biotechnology; 2010 Vol. 9(32), pp. 5203-5211, 9 August. [2] พงศธร วัชระ อำนวย. ศึกษำเปรียบเทียบกำรเล้ียงปลำนิลในบ่อพลำสติกโดยใช้ระบบไมโคร นำโนบับเบิลและระบบปั๊มออกซิเจน. [ปริญญำนิพนธ์วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต, สำขำวิศวกรรมอุตสำหกำร] เชียงรำย; 2560 มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล ลำ้ นนำ. [3] ณัฐพงษ์ วงศ์ฝั้น อุดมศักด์ิ ทำดี. พัฒนำระบบไมโครนำโนบับเบ้ิลสำหรับกำรอนุบำลปลำนลิ . [ปริญญำนิพนธ์วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต, สำขำวิศวกรรมไฟฟ้ำ] เชียงรำย; 2560 มหำวิทยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ. [4] วรพงษ์ นลินำนนท์, สำยชล เลิศสุวรรณ.กำรพัฒนำชุดถังเลี้ยงปลำระบบน้ำหมุนเวียน ภำควิชำเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำร ลำดกระบัง วิทยำเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ชุมพร 86160 วำรสำรปำริชำต มหำวิทยำลยั ทกั ษณิ ฉบับพเิ ศษ 2560. [5] Wietharn R. J. Self-Cleaning Screen Assembly for Filtering Rrigation Water United States Patent Wietharn Patent No. : US 9,023,198 B2 Date of Patent: May 5, 2015. [6] Drum filter. [ อ อ น - ไ ล น์ ] สื บ ค้ น เ ม่ื อ วั น ที่ 1 0 เ ม ษ ำ ย น 2 5 6 2 แ ห ล่ ง ท่ี ม ำ http://www.solidliquid-separation.com [7] Rotary Drum filter. [ออน-ไลน์] สืบค้นเมื่อวันท่ี 10 เมษำยน 2562 แหล่งที่มำ http://www.aqua.co.th [8] Ali S. A. Design and evaluate a drum screen filter driven by undershot waterwheel for aquaculture recirculating systems Aquacultural Engineering; 2013 Volume 54, May 2013, Pages 38-44. [9] กำรคำนวณทดรอบควำมเร็ว. [ออน-ไลน์] สืบค้นเมื่อวันท่ี 8 พฤษภำคม 2562 แหล่งท่ีมำ http://www.moro.co.th [10] International Organization for Standardization นิยำมไฟน์บับเบิ้ล. [ออน-ไลน]์ สืบคน้ เม่ือวันที่ 11 พฤษภำคม 2562 แหลง่ ท่ีมำ https://www.iso.org

57 บรรณานุกรม (ตอ่ ) [11] Agarwal A. , Ng W. J. , Liu Y. Principle and applications of microbubble and nanobubble technology for water treatment Chemosphere 84 Division of Environmental and Water Resource Engineering, School of Civil and Environmental Engineering, Nanyang Technological University, 50 Nanyang Avenue, Singapore 639798, Singapore; (2011). [12] Boyd C. E. , Water Quality Management for Pond Fish Culture Alabama Agicultural Experimental Station, Auburn University. USA.; (1990). [13] ธรรมนูญ รัศมีมำสเมือง.กำรศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพในกำรผลิตนำประปำ น้ำ ระหว่ำงระบบท่ีใชกำรตกตะกอนกับระบบท่ีใชกำรลอยตะกอนด้วยอำกำศละลำย ภำควิชำวิศวกรรมโยธำคณะวิศวกรรมศำสตรมหำวิทยำลัยบูรพำ วิศวกรรมสำร ฉบบั วิจัยและพฒั นำ ปที่ 22 ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2554. [14] เตชิต เอ่ียมศริยำรักษ์, เตชินทร์ เอ่ียมศริยำรักษ์. ออกแบบและสร้ำงเคร่ืองกำเนิดไมโครนำ โนบับเบิลตน้ ทนุ ต่ำขนำด30ลิตรต่อนำท.ี [ปรญิ ญำนิพนธว์ ิศวกรรมศำสตรบัณฑิต, สำขำวิศวกรรมไฟฟ้ำ] เชยี งใหม่; 2559 มหำวิทยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลลำ้ นนำ. [15] ธรฉัตร อุปถัมภำนันท์ อัครพนธ์ ชัยรัตน์. พัฒนำเคร่ืองสร้ำงระบบเติมฟองออกซิเจนระดับ ไมโครและนำโนเมตร กำรขนส่งปลำนิล.[ปริญญำนิพนธ์วิศวกรรมศำสตรบัณฑิต, สำขำวิศวกรรมไฟฟำ้ ] เชยี งรำย; 2560 มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ. [16] มหำวิทยำลัยมหิดล คุณภำพของน้ำ. [ออน-ไลน์] สืบค้นเม่ือวันท่ี 10 เมษำยน 2562 แหลง่ ทีม่ ำ https://il.mahidol.ac.th [17] กรมประมง ค่ำออกซิเจนท่ีละลำยในน้ำ (Dissolved Oxygen; DO). [ออน-ไลน์] สืบค้นเม่ือ วนั ท่ี 20 ตุลำคม 2560 แหลง่ ทม่ี ำ http://www.fisheries.go.th [18] ยนต์ มสุ ิก. Water Quality for Aquaculture. อณุ หภมู ิ. pages 28-32. [19] Ebina K., Kenrin S., Makato H., Jun H., Yoshitaka K ., Shoichi K., Tokimitsu M., Y. K. Hideki .et.al. Oxygen and Air Nanobubble Water Solution Promote the growth of Plants,Fishes, and Mice PLOSE ONE; 2013, V.8, 6, e65339, 1-7. [21] Khuntia S. , S. K. Majumder Microbubble- aided water and wastewater purification: a review De Gruyter DOI 10. 1515/revce-2012-0007 Rev Chem Eng 2012; 28(4-6): 191–221.

58 บรรณานกุ รม (ต่อ) [23] Dolan E., Murphy N., O’Hehir M., Factors influencing optimal micro-screen drum filter selection for recirculating aquaculture systems Aquacultural Engineering Volume 56, September; 2013, Pages 42-50. [24] Koçer M. A. T. Rotary Drum Filter Effectiveness in Suspended Solids Removal from Trout Farm Discharges - A Case Report Aquaculture Studies; 2018 18(5), 51-56. [25] Dockko S., MY. Han, Fundamental characteristics of bubbles and ramifications for the flotation process. Water Sci Technol 2004;50(12):207–14. [26] Jainontee K., Norarat R., Boonchuay S., Thongdon R., Unsing A., Booncharoen P. et. al. Preliminary Study of the Effects of Air- fine ( Micro/ Nano) Bubbles (FB) on the Growth Rate of Tilapia in Phan District, Chiang Rai, Thailand International Journal of Plasma Environmental Science & Technology; 2019Vol. 12, No. 2, Pages 84-88. [27] Takahashi M. zeta Potential of micro bubble in aqueous solutions: electrical Properties of the gas- water interface; ( 2 0 0 5 ) J. Phys. Chem. B 109,21858-21864. [28] Pekcan- Hekim Z. , Effects of turbidity on feeding and distribution of fish. Academic dissertation. University of Helsinki, Finland. 39 2007. [29] Ardjosoediro I. , Ramnarine I. W. The influence of turbidity on growth, feed conversion and survivorship of the Jamaica red tilapiastrain. Aquaculture; 2002 212:159–165. [30] นันทริกำ ชันซ่ือ. โรคปลำ: อำยุรศำสตร์และคลินิกปฏิบัติ.; 2553 โฮลิสติก พับลิชช่ิง. กรุงเทพฯ. [31] koi2u by modx. บ่อเลี้ยงปลำครำฟ. [ออน-ไลน์] สืบค้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภำคม 2562 แหลง่ ทีม่ ำ https://www.koi2u.com/ [32] กรุงเทพโซลำเซลล์. [ออน-ไลน์] สืบค้นเมื่อวันท่ี 16 พฤษภำคม 2562 แหล่งท่ีมำ https://www.sunnergysolar.com

ประวตั ิผู้วจิ ยั

70 ประวัตผิ เู้ ขียน ชื่อ – ชื่อสกุล นพตั ธร อดุ ตงึ วนั เดอื น ปี เกดิ 15 ตลุ าคม 2539 สถานที่เกดิ จังหวัดลาพูน ทอ่ี ยู่ปัจจบุ ัน 105 ม.12 ตาบลเหมืองจี้ อาเภอเมือง จงั หวดั ลาพูน 51000 เบอรโ์ ทร 083-4735546 E-mail [email protected] ประวตั กิ ารศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาไฟฟา้ กาลัง พ.ศ. 2556 วิทยาลัยเทคนิคลาพูน ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) สาขาการติดตั้งไฟฟ้า พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้าน เชยี งราย วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศ.บ.) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า พ.ศ. 2561 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา เชยี งราย ประวตั ิการทางาน ฝึกงาน บริษัท มติ รรุ่งเรือง จากัด จ.เชยี งใหม่ พ.ศ. 2561

71 ประวตั ผิ ู้เขียน ช่อื – ช่ือสกุล สิทธินนท์ ปิมปา วัน เดือน ปี เกิด 1 ธนั วาคม 2538 สถานทเี่ กิด จงั หวดั เชียงราย ท่ีอยู่ปัจจบุ ัน 97 ม.9 ตาบลจันจวา้ ใต้ อาเภอแม่จัน จงั หวดั เชยี งราย 57270 เบอร์โทร 094-9342275 E-mail [email protected] ประวัตกิ ารศึกษา ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) สาขาไฟฟ้ากาลงั พ.ศ. 2556 วิทยาลัยเทคนคิ เชยี งราย ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) สาขาการติดตงั้ ไฟฟ้า พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ น เชยี งราย วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต (วศ.บ.) สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟ้า พ.ศ. 2561 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชยี งราย ประวัติการทางาน ฝกึ งาน บรษิ ทั เซ็นทรลั พฒั นาดีเวลอปเมน้ ท์ จากดั จ.เชียงราย พ.ศ. 2561

ภาคผนวก ก ผลการทดสอบระบบดรัมฟิลเตอร์ดว้ ยการวัดค่าความข่นุ และของแข็งที่อยู่ในนา้

61 การเปรียบเทียบความขุ่นของนา้ (TURB) ระหว่างบอ่ DFFB และบอ่ ออกซิเจนหัวทราย ความขุ่นของน้า (NTU) เวลา (นาท)ี บอ่ DFFB บอ่ ออกซิเจนหัวทราย 0 20.80 20.9 15 14.10 18.4 30 12.70 15.4 45 8.90 14.2 60 8.80 16.6 75 9.40 17.1 90 8.90 18.4 105 8.50 19.2 การเปรียบเทียบของแข็งทอี่ ย่ใู นน้า (TDS) ระหว่างบ่อ DFFB และบ่อออกซิเจนหัวทราย ของแข็งท่ีอยใู่ นนา้ (g/L) เวลา (นาท)ี บ่อ DFFB บอ่ ออกซิเจนหวั ทราย 0 0.129 0.129 15 0.128 0.128 30 0.128 0.128 45 0.127 0.128 60 0.127 0.129 75 0.127 0.129 90 0.126 0.129 105 0.126 0.129

ภาคผนวก ข ผลการวัดคณุ ภาพนา้ ในการอนุบาลปลานลิ ในบอ่ ทดลอง 28 วนั

63 การเปรยี บเทยี บคา่ ออกซเิ จนละลายในน้า (DO) ระหวา่ งบ่อ DFFB และบ่อหวั ทราย (control) วันท่ี ค่าออกซเิ จนละลายในนา้ mg/L บอ่ DFFB บ่อหัวทราย 0 9.13 9.12 1 9.58 10.23 2 9.61 10.49 3 9.28 10.25 4 9.16 10.14 5 9.19 9.56 6 9.12 9.08 7 9.08 9.24 8 9.11 10.33 9 9.13 10.21 10 9.59 11.09 11 9.34 10.35 12 9.29 10.32 13 9.05 9.58 14 9.12 9.23 15 8.79 9.09 16 8.81 9.1 17 8.85 9.32 18 8.84 9.58 19 8.82 9.75 20 8.79 9.54 21 8.81 9.65 22 8.75 9.56 23 8.8 9.37 24 8.66 9.54 25 7.89 8.51 26 7.58 8.23 27 7.35 7.98 28 7.41 7.92

64 การเปรยี บเทยี บคา่ ความขุ่นของน้า (TURB) ระหวา่ งบ่อ DFFB และบอ่ หัวทราย (control) วนั ท่ี คา่ ความขนุ่ ของน้า (NTU) บ่อ DFFB บอ่ หัวทราย 0 1.1 1.3 1 1.9 1.8 2 1.7 1.7 3 1.9 1.8 4 1.8 1.8 5 1.9 1.8 6 1.8 2.0 7 2.1 2.5 8 2 2.5 9 2 2.5 10 2.3 3.4 11 2.3 3.4 12 2.2 5.6 13 2.8 7.8 14 3.3 8.6 15 2.2 2.8 16 2.2 2.8 17 2.2 3.2 18 2.3 4.1 19 2.4 7.7 20 2.4 7.5 21 2.5 7.4 22 2.5 7.6 23 2.9 7.3 24 3.3 8 25 3.4 9.5 26 3.5 8.3 27 3.6 8.5 28 3.8 8.9

65 การเปรยี บเทยี บคา่ ของแข็งทอี่ ยูใ่ นน้า (TDS) ระหวา่ งบ่อ DFFB และบ่อหวั ทราย (control) วนั ท่ี คา่ ของแข็งท่ีอยใู่ นนา้ g/L บ่อ DFFB บอ่ หัวทราย 0 0.127 0.127 1 0.129 0.129 2 0.128 0.131 3 0.127 0.131 4 0.128 0.132 5 0.129 0.134 6 0.128 0.138 7 0.129 0.14 8 0.128 0.14 9 0.128 0.141 10 0.129 0.147 11 0.128 0.147 12 0.128 0.147 13 0.131 0.159 14 0.134 0.16 15 0.13 0.131 16 0.131 0.132 17 0.132 0.133 18 0.133 0.134 19 0.134 0.134 20 0.133 0.137 21 0.134 0.139 22 0.133 0.141 23 0.134 0.142 24 0.135 0.145 25 0.135 0.145 26 0.136 0.146 27 0.137 0.146 28 0.137 0.146

66 การเปรียบเทียบค่าการนา้ ไฟฟา้ (Conductivity) ระหวา่ งบอ่ DFFB และบ่อหวั ทราย (control) วนั ที่ คา่ การน้าไฟฟ้า (µs/cm) บอ่ DFFB บ่อหัวทราย 0 0.196 0.196 1 0.198 0.198 2 0.198 0.201 3 0.195 0.201 4 0.197 0.204 5 0.198 0.206 6 0.196 0.213 7 0.198 0.215 8 0.197 0.216 9 0.198 0.216 10 0.198 0.216 11 0.197 0.216 12 0.198 0.216 13 0.198 0.235 14 0.206 0.246 15 0.2 0.202 16 0.201 0.202 17 0.203 0.203 18 0.204 0.205 19 0.205 0.206 20 0.205 0.209 21 0.206 0.213 22 0.207 0.216 23 0.207 0.219 24 0.207 0.223 25 0.208 0.225 26 0.209 0.222 27 0.209 0.219 28 0.21 0.22

ภาคผนวก ค ผลการวดั อตั ราการรอดของลกู ปลานลิ ระหวา่ งบ่อระบบไฟน์บบั เบิ้ลร่วมกบั ระบบดรัมฟิลเตอร์ และระบบหัวทราย

68 การเปรียบเทยี บอตั ราการรอดของลูกปลานิลระหวา่ งบอ่ DFFB และบ่อหัวทราย วนั ที่ จานวนปลา (ตัว) อตั ราการรอดของลกู ปลานิล (%) บ่อ DFFB บ่อหัวทราย บ่อ DFFB บอ่ หัวทราย 0 250 250 100 100 1 249 246 99.6 98.4 2 249 246 99.6 98.4 3 249 245 99.6 98 4 248 245 99.2 98 5 248 245 99.2 98 6 248 244 99.2 97.6 7 247 244 98.8 97.6 8 246 244 98.4 97.6 9 246 242 98.4 96.8 10 245 241 98 96.4 11 245 241 98 96.4 12 245 241 98 96.4 13 241 230 96.4 92 14 241 230 96.4 92 15 241 230 96.4 92 16 241 230 96.4 92 17 241 230 96.4 92 18 241 227 96.4 90.8 19 241 226 96.4 90.4 20 241 226 96.4 90.4 21 240 225 96 90 22 238 224 95.2 89.6 23 237 223 94.8 89.2 24 236 220 94.4 88 25 236 215 94.4 86 26 236 215 94.4 86 27 235 209 94 83.6 28 234 200 93.6 80

ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook