Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการอบรมทางไกล covid-19 (7-05-2563)

รายงานการอบรมทางไกล covid-19 (7-05-2563)

Published by Thitiyaporn Keebsantia, 2021-04-05 06:20:55

Description: รายงานการอบรมทางไกล covid-19 (7-05-2563)

Search

Read the Text Version

1



รายงานผลการอบรมการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ (COVID-๑๙) สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน และศูนยพ์ ัฒนาคุณภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล (DL Thailand) ความเปน็ มาและความสำคญั สบื เนื่องจากข้อสั่งการของหวั หน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เกี่ยวกบั เรื่องที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ในประเด็นด้านการศึกษาเรื่องการขาดแคลนครูในโรงเรียนพน้ื ท่หี า่ งไกลรวมทัง้ การเพิม่ โอกาสทางการศึกษา ให้แก่เด็ก จึงได้พิจารณาให้มกี ารศึกษาและขยายผลโครงการการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมไปยังพืน้ ท่อี ่นื ๆ โดยกำหนดให้ใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในโรงเรียนขนาดเล็กทั่วประเทศ จำนวน ๑๕,๓๖๙ โรงเรียน การดำเนินการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในโรงเรียนขนาดเล็กทั่วประเทศ จะบรรลุ วัตถปุ ระสงค์และมีประสิทธภิ าพไดน้ ้ัน มีความจำเปน็ ตอ้ งมีการพฒั นาการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียมอย่าง ต่อเนอื่ งและย่ังยืน มกี ารขับเคลือ่ นไปสู่การปฏบิ ตั ิทัง้ ในระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดับสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาและระดับโรงเรียน วัตถุประสงค์ ๑. เพือ่ แก้ไขปญั หาการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรสั โคโรนา่ (COVID-๑๙) ๒. เพ่อื ช่วยแกป้ ัญหาโรงเรียนขนาดเลก็ ท่ปี ระสบปญั หาการมคี รูไมค่ รบชัน้ ครูสอนไม่ตรงสาขาวชิ าเอก ๓. เพ่อื ขยายผลโครงการการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มไปยังพ้ืนที่อ่นื ๆ ใหม้ ีผลเป็นรปู ธรรมโดยเรว็ เปา้ หมาย ๑. บคุ ลากรสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน มีโอกาสถวายงานส่งเสรมิ การใช้ เทคโนโลยเี พ่อื การพฒั นาประเทศ ตามรอยเบ้อื งพระยคุ ลบาท เผยแพร่พระราชกรณียกจิ ให้ขจรกระจาย ไกล และสนองพระราชดำริของทัง้ สองพระองค์ ในการทีจ่ ะพฒั นาการศึกษาไทยใหเ้ จริญก้าวหนา้ ๒. ครูและนักเรยี นทุกคนได้เข้าถงึ เทคโนโลยี และ ส่อื ในการจดั การเรียนรทู้ ่ีทันสมัยสอดคลอ้ งกับ ความต้องการ ๓. ครทู ี่สอนไม่ตรงกับวิชาเอกสามารถจดั การเรียนรู้ใหก้ บั นักเรยี นได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและ เหมาะสม ๔. สรา้ งเครอื ข่ายแลกเปล่ียนเรยี นรใู้ นการจดั การเรียนรู้ของครูได้อยา่ งกวา้ งขวางและทัว่ ถึง ๕. มกี ารระดมสรรพกำลงั และบรู ณาการทรัพยากรจากภาครฐั และเอกชนช่วยสนับสนนุ การจดั การศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ 3

มอบนโยบายการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุม สพฐ. ๑ กระทรวงศึกษาธิการ นายอำนาจ วิชยานุวัติ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) เป็นประธานในการอบรมผ่านระบบ ทางไกล เรื่องการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เพื่อชี้แจงแนวทางในการจัดการเรียนการสอนทางไกลและเตรียมพร้อมสำหรับการ เปิดภาคเรียนในวนั ที่ ๑ กรกฎาคมนี้ โดยมี นายสนิท แย้มเกษร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน นางวัฒนาพร ระงับทุกข์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายกวินทร์เกียรติ นนท์พละ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมคณะทำงาน ร่วมชี้แจงในประเด็นท่ี เกี่ยวข้อง เพื่อสื่อสารทำความเข้าใจไปยังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน ครู รวมถึงนักเรียนและ ผ้ปู กครองทั่วประเทศ ผูบ้ รรยาย : นายอำนาจ วิชยานวุ ตั ิ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน นายอำนาจ วิชยานุวัติ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกล่าวว่า สำหรับการเตรียม ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อรองรับการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ แต่ละ หนว่ ยงานในกระทรวงศึกษาธิการก็ได้ดำเนินการใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) มากที่สุด ในส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)นน้ั ไดม้ ีการกำหนดแนวทางการจดั การเรียนการสอนระบบทางไกล โดยแบ่งเปน็ ๔ ระยะ คอื ระยะที่ ๑ การเตรียมความพร้อม (๗ เมษายน – ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓) ได้สำรวจความพร้อมใน ด้านอุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และระบบการบริหารจัดการการเรียนการ สอน รวมถึงขออนุมัติใช้ช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล จากสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับ ปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมขออนุมัติเผยแพร่การเรียนการสอนจากห้องเรียนต้นทาง ใน ระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของสถานีวิทยโุ ทรทัศน์การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) จากมลู นิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดทำส่อื วดี ทิ ศั น์การสอน โดยครูต้นแบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และรวบรวมสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ใน OBEC Content Center ชุดโปรแกรมและแพลตฟอร์มการเรียนรู้ครบวงจรของกระทรวงศึกษาธิการ เช่น Tutor ติวฟร.ี com, e-Book เปน็ ตน้ รวมถงึ เตรียมโครงสร้างพนื้ ฐานด้านระบบเครือข่าย เพอื่ รองรับการให้บริการ แพลตฟอรม์ การเรยี นรู้ใหเ้ ชอื่ มโยงกบั ระบบ Digital e-Learning ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ระยะที่ ๒ การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล (๑๘ พฤษภาคม – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓) จะ ทดลองจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในระดบั ปฐมวยั ถงึ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ผ่านช่องรายการโทรทัศน์ ในระบบดิจิทัล โดยการเผยแพร่สัญญาณจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (DLTV) ในระดับปฐมวัยเน้นกิจกรรมเตรียมความพร้อมเด็ก และระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษา 4

ตอนต้น จำนวน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผ่านช่องรายการโทรทัศน์ใน ระบบดิจิทัลและระบบออนไลน์โดยครูต้นแบบ ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของ สถานศึกษา รวมทั้งเปิดศูนย์รับฟังความคิดเห็นการเรียนการสอนทางไกล จากผู้ปกครอง ประชาชน และ ผเู้ กย่ี วขอ้ ง เพ่อื เป็นแนวทางการปรับปรุงและพฒั นา และประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ ความเขา้ ใจ แนะนำ ช่องทางการเรียนทางไกลใหก้ บั ผูป้ กครองและผ้เู ก่ียวข้อง ระยะที่ ๓ การจัดการเรียนการสอน (๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔) ได้วางแผนไว้ สำหรับ ๒ สถานการณ์ นั่นคือ สถานการณ์ที่ ๑ กรณีที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ยังไม่คลี่คลาย จะจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวยั ถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ด้วย ระบบทางไกลผ่าน DLTV และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้วยวีดิทัศน์การสอนโดยครูตน้ แบบ และระบบ ออนไลน์ดว้ ยเครื่องมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบรบิ ทของสถานศึกษา และสถานการณ์ที่ ๒ กรณี ที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid–๑๙) คลี่คลาย จะจัดการเรียนการสอน ปกติในโรงเรียน โดยให้เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และมีแผนเตรียมการเพื่อรองรับ สถานการณฉ์ กุ เฉินตา่ ง ๆ โดยจะต้องได้รบั การอนุมตั ิจากคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั ซึ่งมีผูว้ า่ ราชการ จังหวัดเปน็ ประธาน และ ระยะที่ ๔ การทดสอบและการศึกษาต่อ (๑ เมษายน – ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔) จะ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบและคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ นั่นคือ กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เกี่ยวกับระบบคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (TCAS GAT PAT) และ สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ เกี่ยวกับการทดสอบ O-net ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ และชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ นอกจากการเตรยี มความพร้อมในเร่ืองสื่ออุปกรณ์การจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสว่ นของการ เตรียมความพร้อมสำหรบั ครู ทางสพฐ. กจ็ ะมีการพฒั นาครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผทู้ ่ีเกยี่ วข้องสำหรับ การเรียนการสอนทางไกล โดยจัดทำคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลสำหรับครู บุคลากร ทางการศกึ ษาและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง รวมทัง้ ใหค้ วามรู้ในการใช้เคร่ืองมือ เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอน ทางไกลผ่านชอ่ งทาง DLTV และ OBEC Channel และมกี ารนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การเรียน การสอนทางไกลด้วย สพฐ. ได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดภาคเรียนที่ ๑ อย่างดีที่สุด ตามที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) ได้กล่าวว่า โรงเรียนอาจหยุดได้แต่การ เรียนรู้หยุดไม่ได้ ไม่ว่าสถานการณ์แวดล้อมจะรุนแรงแค่ไหน การเรียนรู้ที่เข้าถึงและมีคุณภาพสำหรับ เด็กไทยทุกคนคือเป้าหมายสูงสุดตามแนวคิด \"การเรียนรู้นำการศึกษา\" โดยจัดการเรียนการสอนโดย คำนึงถึงความปลอดภัยสูงสุดของทุกคน ให้นักเรียนทุกคนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนได้ แม้จะไม่ สามารถไปโรงเรียนได้ ก็ใหใ้ ช้สงิ่ ทม่ี ีอยแู่ ลว้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด รวมทัง้ ตัดสนิ ใจนโยบายตา่ ง ๆ บนพ้ืนฐาน ของการสำรวจความต้องการทั้งจากนักเรียน ครู และโรงเรียน นำมาปรับปฏิทินการศึกษาให้เอื้อต่อการ 5

เรียนเพื่อรู้ของเดก็ มากขึ้น นอกจากนั้นบุคลากรทางการศกึ ษาทกุ คน ก็จะได้รับการดูแลอย่างต่อเน่ือง และ ได้รับผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงนอ้ ยท่ีสดุ \" ทั้งนี้ นายอำนาจ วิชยานุวัติ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) ได้ ยำ้ ว่าหากสถานการณ์โควดิ -๑๙ คล่คี ลายลง ในวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ก็จะสามารถจัดการเรียนการสอน ในโรงเรียนได้ตามปกติ ภายใต้มาตรการป้องกันของกรมควบคุมโรค แตห่ ากสถานการณ์ยังไม่คล่ีคลาย ก็จะ จัดการเรียนการสอนผ่านระบบทางไกล สำหรับช่องทีวีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ได้รับการจัดสรรจาก กสทช. จำนวน ๑๗ ชอ่ งนน้ั จะมกี ารแถลงขา่ วชแ้ี จงรายละเอยี ดในเรอ่ื งดังกลา่ วในวันท่ี ๑๔ พฤษภาคมน้ีตอ่ ไป การดำเนนิ การดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา ในจดั การเรยี นการสอนดว้ ยระบบทางไกล ผูบ้ รรยาย : ดร.วฒั นาพร ระงับทกุ ข์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน วัตถุประสงค์ เพ่ือให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้ และพฒั นาความรู้ความสามารถตามหลกั สตู รในช่วงโรงเรยี นปิดใน สถานการณ์แพร่ระบาดของ COVID-๑๙ วธิ ีการ จดั ให้มีการเรยี นการสอนตามหลักสตู รด้วยสื่อและช่องทางการสื่อสารที่มีอยู่ สามารถส่งถงึ ผู้เรียนใน แต่ละกลมุ่ เป้าหมายได้ โดย • จดั การเรยี นการสอนชน้ั อนุบาล ๑ – ม.๓ ถ่ายทอดการสอนจรงิ กับนกั เรียนในห้องเรยี น นักเรียนท่ชี มจะเรียนในหอ้ งท่ีมีครดู ูแล มสี ่ือเหมือนในห้องสอน • อนุบาล ๑-๓ จัดการเรียนรตู้ ามมาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย • ป.๑-๖/ม.๑-๓ จัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งระดับ ป.๑-๖ จัดรายวิชา ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณติ ศาสตร์ การงานอาชีพ และกลุ่มบูรณา การ ส่วน ม.๑-ม.๓ จดั รายวชิ าตามโครงสรา้ งหลกั สูตรแกนกลางฯ การนำมาใช้ สื่อการเรียนการสอนทางไกลผ่าน TV (DLTV) ทุกระดับ ซึ่งทางมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดเตรียม ตารางสอน กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง แผนการจัด ประสบการณ์ แผนการจัดการเรียนรู้ ใบงาน แบบฝึก ใบกิจกรรม และแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ สำหรับการจัดการเรียนรู้ตั้งแต่วันที่ ๑๘ พฤษภาคม – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ โดยครูสามารถเข้าไปเรียนรู้ รายละเอยี ด เพอื่ เตรยี มจดั การเรียนการสอนใหน้ ักเรียนได้ ทั้งนีค้ รูพจิ ารณาปรบั หรอื เพิม่ เติมสาระ/ส่อื /แบบ ฝกึ /มอบหมายงานเพม่ิ ให้เหมาะสม ชแ้ี จงแนวทางการดำเนนิ การจดั การเรยี นการสอนทางไกลของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ผูบ้ รรยาย : ดร.กวนิ ทรเ์ กียรติ นนธ์พละ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน รูปแบบการจัดการเรียนการสอนใน ๓ รปู แบบ โรงเรียนสามารถเลือกใชไ้ ด้ตามเหมาะสม ดังนี้ ๑) ON-SITE เรยี นที่โรงเรียนในพน้ื ทป่ี ลอดภยั ภายใต้เง่ือนไขศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์แพรร่ ะบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ 6

๒) ON-AIR เรียนที่บ้าน ส่วนครูอยู่ที่โรงเรียนหรืออยู่ที่บ้าน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผู้อำนวยการโรงเรียน โดย ระดับชั้น อนุบาล – มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ใช้สื่อของ DLTV ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ใช้สื่อ ของสพฐ. ซ่งึ การรบั ชมของนกั เรยี น ครู และผปู้ กครองผา่ นทาง ๔ ชอ่ งทาง ดังน้ี • ระบบดาวเทยี ม ประกอบไปด้วย KU Band และ C Band • ระบบดิจทิ ลั ทวี ี ประกอบไปด้วย Smart TV หรือ TV+กล่องรบั สญั ญาณดิจทิ ัลทวี ี • ระบบเคเบ้ิลทีวี ประกอบไปด้วย TV+กล่องรบั สญั ญาณดจิ ิทัลทวี ี • ระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ จาก IPTV และ Application ประกอบไปด้วย Smartphone+Tablet หรอื Computer Notebook+PC ๓) ONLINE เรยี นผ่านอนิ เทอร์เน็ตและแอปพลเิ คชนั ผา่ นทางช่องทาง DLTV (www.dltv.ac.th) และ DEEP (www.deep.go.th) การเตรยี มความพร้อมของครูในการจดั การเรยี นการสอนทางไกล • ศึกษาแนวทางการเรียนการสอนล่วงหนา้ ผ่านเวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th • จดั ทำใบงาน แบบฝึกหดั ตามจุดเน้นในสาระการเรียนรู้ • สร้างความเขา้ ใจ ข้อตกลง กับผ้ปู กครองในการดแู ลช่วยเหลอื การเรยี นของนักเรียน • นดั หมายวนั เวลาการพบปะนักเรียน มอบหนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบของครใู นการพบปะนักเรยี นอยา่ ง น้อยสปั ดาห์ละ ๑ คร้ัง โดยจัดระบบพบปะในมติ ดิ ้านวันเวลา สถานท่ี และวิธีการ ในการพบปะนำ ใบงาน แบบฝกึ หดั และสอ่ื การเรยี น (ถา้ มี) ไปส่งใหน้ กั เรยี น และนำแบบฝึกหัด ใบงานมาตรวจ วิกฤตสู่โอกาส ปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลได้เขา้ มามีบทบาทสำคัญและเปลี่ยนแปลงการดำเนนิ ชีวิตของผ้คู น ส่งผลกระทบทำใหห้ ลายอาชีพถูกดสิ รปั ชนั (Disruption) ทำให้ในดา้ นการจดั การศึกษามีความจำเป็นที่ต้อง นำเทคโนโลยีดิจิทัลเขา้ มาเปน็ เคร่ืองมือ เพื่อลดข้อจำกัด และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน ให้มากยิ่งขึ้น อกี ทง้ั ยังช่วยสง่ ผลใหน้ กั เรียนทอ่ี ยู่หา่ งไกล สามารถมโี อกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา สาธติ การจัดการเรียนการสอนทางไกลสำหรบั ระดับชนั้ อนบุ าลถึงระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ผู้บรรยาย : ดร.สวุ ทิ ย์ บึงบวั ผอู้ ำนวยการศูนย์พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล ดร.รัตนา แสงบวั เผือ่ น ผู้อำนวยการสำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ภายใต้การบริหารงานของคณะกรรมการบริหารมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรม ราชูปถัมภ์ นำโดยพลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิ ฯ ได้น้อมนำพระราโชบายมา ปฏิบตั ิ มีการพัฒนาระบบการดำเนินงานรูปแบบใหม่ทัง้ โครงสร้างการบริหารงานภายในองค์กร และระบบการ ออกอากาศการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (NEW DLTV) เพื่อให้รองรับกับสถานการณ์ของโลกและ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยมีการพัฒนาและต่อยอดการดำเนินงานให้บริการการศึกษา ทางไกลผา่ นดาวเทียมอย่างต่อเน่ืองและเปน็ รูปธรรม 7

ชอ่ งทางการรบั สญั ญาณ ผา่ นทาง ๓ ชอ่ งทาง ดังนี้ • ผา่ นดาวเทียม ระบบ KU-BAND ชอ่ ง ๑๘๖-๒๐๐ ออกอากาศ ๑๕ ชอ่ ง (DLTV ๑ – ๑๕) ตลอด ๒๔ ช่วั โมง • ระบบอินเทอรเ์ นต็ เว็บไซต์ www.dltv.ac.th • แอปพลเิ คชัน DLTV เหมาะสำหรบั นกั เรียน นักศึกษา ผู้ปกครองและประชาชนโดยท่วั ไป เพราะ สามารถชมรายการได้ทุกท่ีทุกเวลา ชมได้ทั้งรายการสดและเลือกชมย้อนหลัง กระบวนการเรียนทางไกล ๑) เตรียมความพร้อม ๒) การเรียนทางไกล ๓) การตดิ ต่อสอื่ สารพบปะผปู้ กครองนักเรยี น ผา่ นทางช่องทางตา่ ง ๆ เช่น Line Facebook ประเมนิ ผล โดยอาจประเมนิ จากชิ้นงาน หรือใบงานแบบฝกึ หดั ต่าง ๆ ลงชอ่ื .....................................................ผ้รู ายงาน (นางฐติ ยิ าภรณ์ ทว)ี ตำแหน่ง ครู 8

ภาคผนวก ➢ เกยี รตบิ ตั รผา่ นการอบรม ➢ หนงั สอื แจง้ เชญิ ร่วมอบรมฯ ➢ เอกสารประกอบการอบรม 9

เกียรติบตั ร ผา่ นการอบรม 10

11

หนังสือแจ้งเชิญ รว่ มอบรมฯ 12

13

14

15

16

เอกสาร ประกอบการอบรม 17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook